• ในหลวง-พระราชินี ทรงเปิด “สะพานทศราชัน” •เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2567 เวลา 17.25 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด “สะพานทศราชัน” ณ สะพานทศราชัน ทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร• เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงบริเวณสะพานทศมราชัน นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายชยธรรม์ พรหมศร ผู้บริหาร และข้าราชการ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชาพระรัตนตรัย ทรงกราบ ทรงศีล ประธานสงฆ์ถวายศีล จบ เสร็จแล้ว พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสูจิบัตร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายชยธรรม์ พรหมศร ปลัดกระทรวงคมนาคม และนายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายบัตร Easy Passที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว นายกรัฐมนตรี กราบบังคมทูลรายงานความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศราชัน” โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก •จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังแท่นพิธี ทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายชื่อ “สะพานทศราชัน” พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา ชาวพนักงานลั่นฆ้อง ประโคมสังข์ แตร ดุริยางค์ เสร็จแล้ว เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมถวายพระสงฆ์ ทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายรัชนัย เปรมปราคิน ผู้อำนวยการสำนักผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย กราบบังคมทูลเบิกผู้มีอุปการคุณ เข้ารับพระราชทานของที่ระลึก เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรนิทรรศการเกี่ยวกับความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศนราชัน”รูปแบบและแนวคิดในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมของสะพานทศมราชัน จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และนายชาตรี ตันศิริ รองผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (วิศวกรรมและบำรุงรักษา) เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปยังห้องรับรอง ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระนามาภิไธย ในสมุดที่ระลึก สมควรแก่เวลา จึงประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ• สะพานทศมราชัน” เป็นส่วนหนึ่งของโครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เป็นสะพานคู่ขนานแม่น้ำเจ้าพระยาคู่ (Cable Stayed Bridge) แบบไม่มีเสาอยู่ในลำน้ำเจ้าพระยา ขนาด 8 ช่องจราจร ความยาวสะพาน 781.2 เมตร ซึ่งกระทรวงคมนาคม โดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้มีแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมสะพานแห่งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติและน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยองค์ประกอบต่าง ๆ ของสะพานจะสื่อถึงพระองค์ท่าน ดังนี้ • ส่วนยอดของเสาสะพาน หมายถึง ฝ่าพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แสดงถึงความโอบอุ้มปกป้อง ให้ความรัก และความห่วงใยต่อพสกนิกร และพสกนิกรต่างสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์อยู่เหนือเกล้า • สายเคเบิล เป็นสีเหลือง เพื่อสื่อถึงวันพระบรมราชสมภพ คือ วันจันทร์ •รูปปั้นพญานาคสีเหลืองทอง อยู่บนโคนเสาสะพานทั้ง 4 ต้น ซึ่งเป็นราศีประจำปีมะโรง ปีพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อถวายอารักขาแด่พระองค์ • รั้วสะพานกันกระโดด ออกแบบให้เป็นลายดอกรวงผึ้ง ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำพระองค์ • โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร ก่อสร้างขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกจากการเดินทางจากภาคใต้สู่กรุงเทพมหานคร และช่วยลดปัญหาการจราจรติดขัดบนทางพิเศษช่วงบางโคล่ - คาวคะนอง และถนนพระรามที่ ๒ ช่วงดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร • ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่อสะพานนี้ว่า “สะพานทศมราชัน” หมายถึง พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 10 และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญตราสัญลักษณ์ เนื่องในโอกาสพระราชทานพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ไปประดิษฐานบนสะพานแห่งนี้ด้วย
    ในหลวง-พระราชินี ทรงเปิด “สะพานทศราชัน” •เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2567 เวลา 17.25 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด “สะพานทศราชัน” ณ สะพานทศราชัน ทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร• เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงบริเวณสะพานทศมราชัน นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายชยธรรม์ พรหมศร ผู้บริหาร และข้าราชการ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชาพระรัตนตรัย ทรงกราบ ทรงศีล ประธานสงฆ์ถวายศีล จบ เสร็จแล้ว พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสูจิบัตร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายชยธรรม์ พรหมศร ปลัดกระทรวงคมนาคม และนายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายบัตร Easy Passที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว นายกรัฐมนตรี กราบบังคมทูลรายงานความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศราชัน” โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก •จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังแท่นพิธี ทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายชื่อ “สะพานทศราชัน” พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา ชาวพนักงานลั่นฆ้อง ประโคมสังข์ แตร ดุริยางค์ เสร็จแล้ว เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมถวายพระสงฆ์ ทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายรัชนัย เปรมปราคิน ผู้อำนวยการสำนักผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย กราบบังคมทูลเบิกผู้มีอุปการคุณ เข้ารับพระราชทานของที่ระลึก เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรนิทรรศการเกี่ยวกับความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศนราชัน”รูปแบบและแนวคิดในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมของสะพานทศมราชัน จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และนายชาตรี ตันศิริ รองผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (วิศวกรรมและบำรุงรักษา) เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปยังห้องรับรอง ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระนามาภิไธย ในสมุดที่ระลึก สมควรแก่เวลา จึงประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ• สะพานทศมราชัน” เป็นส่วนหนึ่งของโครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เป็นสะพานคู่ขนานแม่น้ำเจ้าพระยาคู่ (Cable Stayed Bridge) แบบไม่มีเสาอยู่ในลำน้ำเจ้าพระยา ขนาด 8 ช่องจราจร ความยาวสะพาน 781.2 เมตร ซึ่งกระทรวงคมนาคม โดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้มีแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมสะพานแห่งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติและน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยองค์ประกอบต่าง ๆ ของสะพานจะสื่อถึงพระองค์ท่าน ดังนี้ • ส่วนยอดของเสาสะพาน หมายถึง ฝ่าพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แสดงถึงความโอบอุ้มปกป้อง ให้ความรัก และความห่วงใยต่อพสกนิกร และพสกนิกรต่างสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์อยู่เหนือเกล้า • สายเคเบิล เป็นสีเหลือง เพื่อสื่อถึงวันพระบรมราชสมภพ คือ วันจันทร์ •รูปปั้นพญานาคสีเหลืองทอง อยู่บนโคนเสาสะพานทั้ง 4 ต้น ซึ่งเป็นราศีประจำปีมะโรง ปีพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อถวายอารักขาแด่พระองค์ • รั้วสะพานกันกระโดด ออกแบบให้เป็นลายดอกรวงผึ้ง ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำพระองค์ • โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร ก่อสร้างขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกจากการเดินทางจากภาคใต้สู่กรุงเทพมหานคร และช่วยลดปัญหาการจราจรติดขัดบนทางพิเศษช่วงบางโคล่ - คาวคะนอง และถนนพระรามที่ ๒ ช่วงดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร • ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่อสะพานนี้ว่า “สะพานทศมราชัน” หมายถึง พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 10 และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญตราสัญลักษณ์ เนื่องในโอกาสพระราชทานพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ไปประดิษฐานบนสะพานแห่งนี้ด้วย
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 598 มุมมอง 0 รีวิว
  • คลอง ร.๑ น้ำพระทัยในหลวง ร.๙ หาดใหญ่ผ่อนหนักเป็นเบา

    อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่เศรษฐกิจหลักของภาคใต้ เคยเกิดน้ำท่วมใหญ่เมื่อวันที่ 22 พ.ย. 2543 คลองอู่ตะเภาไหลลงพื้นที่มากถึง 751 ลบ.ม.ต่อวินาที มากกว่าศักยภาพระบายน้ำได้เพียง 461 ลบ.ม.ต่อวินาที ส่งผลทำให้น้ำท่วมฉับพลัน กระจายไปยัง 16 อำเภอในจังหวัดสงขลา เสียชีวิต 32 ราย บาดเจ็บ 382 คน ราษฎรเดือดร้อน 552,579 คน 130,117 ครัวเรือน พื้นที่เศรษฐกิจทั้งตลาดกิมหยง สันติสุข ตลาดพลาซา โรงแรมและสถานบริการเสียหาย 77 แห่ง รวมมูลค่าความเสียหายด้านธุรกิจเศรษฐกิจในภาพรวมทั้งจังหวัดกว่า 10,000 ล้านบาท

    ปี 2567 น้ำจากคลองอู่ตะเภาและคลองระบายน้ำภูมินารถดำริ หรือคลอง ร.1 เอ่อล้นเข้าท่วมพื้นที่หาดใหญ่ใน ซึ่งเป็นโซนชั้นนอก เมื่อวันที่ 29 พ.ย.ก่อนกลับสู่สภาวะปกติเมื่อวันที่ 1 ธ.ค.แต่โซนเศรษฐกิจชั้นในหรือโซนไข่แดงนั้นปลอดภัย น้ำไม่ท่วม เพราะโครงการตามพระราชดำริ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนผ่อนหนักเป็นเบา

    สทท.สงขลา รายงานว่า ประชาชนชาวหาดใหญ่เปิดเผยว่า แม้ในพื้นที่เขตหาดใหญ่ในจะเป็นพื้นที่รับน้ำจากคลองอู่ตะเภาและคลอง ร.1 ที่เอ่อล้นเข้าท่วมชุมชน แต่ความเสียหายลดลงกว่าปี 2543 เพราะหลังจากคลอง ร.1 ก่อสร้างแล้วเสร็จ นอกจากรองรับน้ำได้มากขึ้นหลายเท่าแล้ว ยังทำให้พื้นที่โซนไข่แดงปลอดภัยจากน้ำท่วม

    คลอง ร.1 ก่อสร้างขึ้นตามพระราชดำรัส ในการแก้ไขปัญหาอุทกภัยอำเภอหาดใหญ่ เมื่อวันที่ 24 ธ.ค. 2531 ความว่า "การแก้ไขและบรรเทาน้ำท่วมที่ควรพิจารณาดำเนินการ น่าจะได้แก่การขุดคลองระบายน้ำขนาดใหญ่ ให้ทำหน้าที่แบ่งน้ำจากคลองอู่ตะเภาหรือช่วยรับน้ำที่ไหลลงมาท่วมตัวอำเภอหาดใหญ่ ให้ระบายลงสู่ทะเลสาบสงขลาโดยเร็ว"

    หลังน้ำท่วมหาดใหญ่ปี 2543 กรมชลประทานจึงได้ผลักดันโครงการคลอง ร.1 ท้องคลองกว้าง 24 เมตร ยาว 21.34 กิโลเมตร แล้วเสร็จในปี 2550 ระบายน้ำได้สูงสุด 465 ลบ.ม. ต่อวินาที ต่อมาได้ดำเนินโครงการบรรเทาอุทกภัยอำเภอหาดใหญ่ (ระยะที่ 2) ขยายคลองให้กว้าง 70-100 เมตร ลึก 7 เมตร ก่อสร้างประตูระบายน้ำหน้าควน 2 และประตูระบายน้ำบางหยี พร้อมสถานีสูบน้ำบางหยี เริ่มก่อสร้างในปีงบประมาณ 2558 แล้วเสร็จสมบูรณ์ในปี 2565 สามารถระบายน้ำได้สูงสุด 1,200 ลบ.ม.ต่อวินาที ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ และเป็นแหล่งสำรองน้ำไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้งได้อีกประมาณ 5 ล้าน ลบ.ม.

    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "คลองภูมินาถดำริ" เมื่อวันที่ 12 ต.ค. 2559 พสกนิกรชาวนครหาดใหญ่น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้

    #Newskit
    คลอง ร.๑ น้ำพระทัยในหลวง ร.๙ หาดใหญ่ผ่อนหนักเป็นเบา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่เศรษฐกิจหลักของภาคใต้ เคยเกิดน้ำท่วมใหญ่เมื่อวันที่ 22 พ.ย. 2543 คลองอู่ตะเภาไหลลงพื้นที่มากถึง 751 ลบ.ม.ต่อวินาที มากกว่าศักยภาพระบายน้ำได้เพียง 461 ลบ.ม.ต่อวินาที ส่งผลทำให้น้ำท่วมฉับพลัน กระจายไปยัง 16 อำเภอในจังหวัดสงขลา เสียชีวิต 32 ราย บาดเจ็บ 382 คน ราษฎรเดือดร้อน 552,579 คน 130,117 ครัวเรือน พื้นที่เศรษฐกิจทั้งตลาดกิมหยง สันติสุข ตลาดพลาซา โรงแรมและสถานบริการเสียหาย 77 แห่ง รวมมูลค่าความเสียหายด้านธุรกิจเศรษฐกิจในภาพรวมทั้งจังหวัดกว่า 10,000 ล้านบาท ปี 2567 น้ำจากคลองอู่ตะเภาและคลองระบายน้ำภูมินารถดำริ หรือคลอง ร.1 เอ่อล้นเข้าท่วมพื้นที่หาดใหญ่ใน ซึ่งเป็นโซนชั้นนอก เมื่อวันที่ 29 พ.ย.ก่อนกลับสู่สภาวะปกติเมื่อวันที่ 1 ธ.ค.แต่โซนเศรษฐกิจชั้นในหรือโซนไข่แดงนั้นปลอดภัย น้ำไม่ท่วม เพราะโครงการตามพระราชดำริ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนผ่อนหนักเป็นเบา สทท.สงขลา รายงานว่า ประชาชนชาวหาดใหญ่เปิดเผยว่า แม้ในพื้นที่เขตหาดใหญ่ในจะเป็นพื้นที่รับน้ำจากคลองอู่ตะเภาและคลอง ร.1 ที่เอ่อล้นเข้าท่วมชุมชน แต่ความเสียหายลดลงกว่าปี 2543 เพราะหลังจากคลอง ร.1 ก่อสร้างแล้วเสร็จ นอกจากรองรับน้ำได้มากขึ้นหลายเท่าแล้ว ยังทำให้พื้นที่โซนไข่แดงปลอดภัยจากน้ำท่วม คลอง ร.1 ก่อสร้างขึ้นตามพระราชดำรัส ในการแก้ไขปัญหาอุทกภัยอำเภอหาดใหญ่ เมื่อวันที่ 24 ธ.ค. 2531 ความว่า "การแก้ไขและบรรเทาน้ำท่วมที่ควรพิจารณาดำเนินการ น่าจะได้แก่การขุดคลองระบายน้ำขนาดใหญ่ ให้ทำหน้าที่แบ่งน้ำจากคลองอู่ตะเภาหรือช่วยรับน้ำที่ไหลลงมาท่วมตัวอำเภอหาดใหญ่ ให้ระบายลงสู่ทะเลสาบสงขลาโดยเร็ว" หลังน้ำท่วมหาดใหญ่ปี 2543 กรมชลประทานจึงได้ผลักดันโครงการคลอง ร.1 ท้องคลองกว้าง 24 เมตร ยาว 21.34 กิโลเมตร แล้วเสร็จในปี 2550 ระบายน้ำได้สูงสุด 465 ลบ.ม. ต่อวินาที ต่อมาได้ดำเนินโครงการบรรเทาอุทกภัยอำเภอหาดใหญ่ (ระยะที่ 2) ขยายคลองให้กว้าง 70-100 เมตร ลึก 7 เมตร ก่อสร้างประตูระบายน้ำหน้าควน 2 และประตูระบายน้ำบางหยี พร้อมสถานีสูบน้ำบางหยี เริ่มก่อสร้างในปีงบประมาณ 2558 แล้วเสร็จสมบูรณ์ในปี 2565 สามารถระบายน้ำได้สูงสุด 1,200 ลบ.ม.ต่อวินาที ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ และเป็นแหล่งสำรองน้ำไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้งได้อีกประมาณ 5 ล้าน ลบ.ม. พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "คลองภูมินาถดำริ" เมื่อวันที่ 12 ต.ค. 2559 พสกนิกรชาวนครหาดใหญ่น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ #Newskit
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 539 มุมมอง 0 รีวิว
  • สิบสี่พฤศจิกายนน้อมวันบิดาฝนหลวง
    พระเมตตาห่วงใยไทยทุกถิ่นให้ชุ่มฉ่ำ
    ฝนโปรยจากฟ้าดับทุกข์ภัยให้เลือนลำ
    น้อมจิตจำพระคุณท่านนิรันดร์กาล
    Cr. เรารักประเทศไทย
    #ขอน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดไม่ได้
    #ธ_สถิตย์ในใจไทยตราบนิรันดร์
    สิบสี่พฤศจิกายนน้อมวันบิดาฝนหลวง พระเมตตาห่วงใยไทยทุกถิ่นให้ชุ่มฉ่ำ ฝนโปรยจากฟ้าดับทุกข์ภัยให้เลือนลำ น้อมจิตจำพระคุณท่านนิรันดร์กาล Cr. เรารักประเทศไทย #ขอน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดไม่ได้ #ธ_สถิตย์ในใจไทยตราบนิรันดร์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 304 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๙
    🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏
    น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้
    พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๙ 🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏 น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 138 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🙏🏼 กราบน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    🙏🏼 กราบน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 84 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    #วันปิยมหาราชาณุสรณ์
    #ในหลวงของแผ่นดิน
    ขอน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ #วันปิยมหาราชาณุสรณ์ #ในหลวงของแผ่นดิน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 187 มุมมอง 0 รีวิว
  • #พระราชกรณียกิจ
    #Thairoyalfamily
    #MyHero
    #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์
    #เรารักสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์
    #ราชวงศ์จักรี
    #เรารักราชวงศ์จักรี
    #ประชาชนของพระราชา
    #ทุกๆพระราชกรณียกิจล้วนเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย🇹🇭
    #น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    #Kyobangkoku
    #ประเทศไทยอาจจะไม่ได้เป็นประเทศที่ดีที่สุดแต่เรามีพระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุด
    #save112
    #พระราชาผู้ทรงธรรม
    #สืบสานรักษาต่อยอด
    #พระราชาผู้ปิดทองหลังพระ
    วันเสาร์ที่ #19ตุลาคม 2567(2024)
    #พระราชกรณียกิจ #Thairoyalfamily #MyHero #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #เรารักสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์ #ราชวงศ์จักรี #เรารักราชวงศ์จักรี #ประชาชนของพระราชา #ทุกๆพระราชกรณียกิจล้วนเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย🇹🇭 #น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ #Kyobangkoku #ประเทศไทยอาจจะไม่ได้เป็นประเทศที่ดีที่สุดแต่เรามีพระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุด #save112 #พระราชาผู้ทรงธรรม #สืบสานรักษาต่อยอด #พระราชาผู้ปิดทองหลังพระ วันเสาร์ที่ #19ตุลาคม 2567(2024)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 754 มุมมอง 25 0 รีวิว
  • #คำพ่อสอน
    #พระราชกรณียกิจ
    #Thairoyalfamily
    #MyHero
    #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์
    #เรารักสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์
    #ราชวงศ์จักรี
    #เรารักราชวงศ์จักรี
    #ประชาชนของพระราชา
    #ทุกๆพระราชกรณียกิจล้วนเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย🇹🇭
    #น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    #Kyobangkoku
    #ประเทศไทยอาจจะไม่ได้เป็นประเทศที่ดีที่สุดแต่เรามีพระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุด
    #save112
    #พระราชาผู้ทรงธรรม
    #สืบสานรักษาต่อยอด
    #พระราชาผู้ปิดทองหลังพระ
    #13ตุลาคม 2559
    วันเสาร์ที่ #19ตุลาคม 2567(2024)
    #คำพ่อสอน #พระราชกรณียกิจ #Thairoyalfamily #MyHero #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #เรารักสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์ #ราชวงศ์จักรี #เรารักราชวงศ์จักรี #ประชาชนของพระราชา #ทุกๆพระราชกรณียกิจล้วนเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย🇹🇭 #น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ #Kyobangkoku #ประเทศไทยอาจจะไม่ได้เป็นประเทศที่ดีที่สุดแต่เรามีพระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุด #save112 #พระราชาผู้ทรงธรรม #สืบสานรักษาต่อยอด #พระราชาผู้ปิดทองหลังพระ #13ตุลาคม 2559 วันเสาร์ที่ #19ตุลาคม 2567(2024)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 730 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13 ตุลาคม วันนวมินทรมหาราช
    น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ 🙏🏻💛🇹🇭

    รับชมไลฟ์จากเวทีในงานหนังสือฯ สนพ.บ้านพระอาทิตย์ ดำเนินรายการโดย อ.อานนท์ค่ะ

    https://www.facebook.com/share/v/m97z1L6H8uyUdk24/

    13 ตุลาคม วันนวมินทรมหาราช น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ 🙏🏻💛🇹🇭 รับชมไลฟ์จากเวทีในงานหนังสือฯ สนพ.บ้านพระอาทิตย์ ดำเนินรายการโดย อ.อานนท์ค่ะ https://www.facebook.com/share/v/m97z1L6H8uyUdk24/
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 220 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๑๓ ตุลาคม วันนวมินทรมหาราช

    วันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

    น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้

    ข้าพระพุทธเจ้า ผู้จัดทำเพจ Newskit
    ๑๓ ตุลาคม วันนวมินทรมหาราช วันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า ผู้จัดทำเพจ Newskit
    Love
    Like
    15
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 459 มุมมอง 0 รีวิว
  • เสวนา "ดนตรีของพระเจ้าแผ่นดิน" น้อมสำนึกพระอัจฉริยภาพดนตรี กษัตริย์ไทยราชวงศ์จักรี

    โดยสำนักข่าวออนไลน์เพื่อสังคม The Publisher ร่วมกับกองดุริยางค์กองบัญชาการกองทัพไทย จัดกิจกรรมแสดงดนตรีและเสวนาหัวข้อ "ดนตรีของพระเจ้าแผ่นดิน" เพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีและน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ในราชวงศ์จักรี ซึ่งทุกพระองค์ทรงมีพระอัจฉริยภาพทางด้านดนตรีไทย-สากล ผ่านแต่ละยุคสมัยลุล่วงจนถึงปัจจุบัน

    ณ หอประชุมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ถนนวิภาวดีรังสิต
    #จิบกาแฟแลสยาม #สยามโสภา #Thaitimes #ดนตรีของพระเจ้าแผ่นดิน #กองบัญชาการกองทัพไทย #จงรักภักดี
    เสวนา "ดนตรีของพระเจ้าแผ่นดิน" น้อมสำนึกพระอัจฉริยภาพดนตรี กษัตริย์ไทยราชวงศ์จักรี โดยสำนักข่าวออนไลน์เพื่อสังคม The Publisher ร่วมกับกองดุริยางค์กองบัญชาการกองทัพไทย จัดกิจกรรมแสดงดนตรีและเสวนาหัวข้อ "ดนตรีของพระเจ้าแผ่นดิน" เพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีและน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ในราชวงศ์จักรี ซึ่งทุกพระองค์ทรงมีพระอัจฉริยภาพทางด้านดนตรีไทย-สากล ผ่านแต่ละยุคสมัยลุล่วงจนถึงปัจจุบัน ณ หอประชุมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ถนนวิภาวดีรังสิต #จิบกาแฟแลสยาม #สยามโสภา #Thaitimes #ดนตรีของพระเจ้าแผ่นดิน #กองบัญชาการกองทัพไทย #จงรักภักดี
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 971 มุมมอง 254 0 รีวิว
  • คนเราต้องรู้จักพอ
    ใช้แค่ พอกิน พอใช้
    ซื้อแค่ พอกิน พอใช้
    หาแค่พอกิน พอใช้
    ไม่เกินตัว ฟุ่มเฟือย
    เบียดบังคนอื่น
    ให้มีเหลือเก็บไว้ยามฉุกเฉิน
    แล้วชีวิตจะดีเอง

    น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    พระราชดำรัส ในหลวง รัชกาลที่ 9

    🙏🙏🙏💕💕💕
    คนเราต้องรู้จักพอ ใช้แค่ พอกิน พอใช้ ซื้อแค่ พอกิน พอใช้ หาแค่พอกิน พอใช้ ไม่เกินตัว ฟุ่มเฟือย เบียดบังคนอื่น ให้มีเหลือเก็บไว้ยามฉุกเฉิน แล้วชีวิตจะดีเอง น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระราชดำรัส ในหลวง รัชกาลที่ 9 🙏🙏🙏💕💕💕
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 325 มุมมอง 0 รีวิว