• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 138
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ;
    คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ;
    ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี;
    ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ;
    อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.--
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    ....
    -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 138 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี; ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.-- --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. .... -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    -หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 155 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 137
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. !
    1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
    : นี้เราเรียกว่า เวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา
    2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา
    ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา)
    3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑
    ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา
    ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา).
    5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ
    สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น
    : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา.
    7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา
    : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา.
    8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา
    : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 137 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! 1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา 2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) 3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑ ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). 5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. 7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. 8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา- *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438. http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา (: นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา๑ (: นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือสัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ (: นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 155 มุมมอง 0 รีวิว