• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด
    สัทธรรมลำดับที่ : 1024
    ชื่อบทธรรม :- อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1024
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่งจักษุตามที่เป็นจริง ;
    +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง รูป ทั้งหลาย(ท.)​ ตามที่เป็นจริง ;
    +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุวิญญาณ ตามที่เป็นจริง ;
    +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุสัมผัส ตามที่เป็นจริง ;
    +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส ;
    เป็นปัจจัย
    สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม, ตามที่เป็นจริง;
    บุคคล
    ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักษุ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในรูป ทั้งหลาย
    ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุวิญญาณ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุสัมผัส
    ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในเวทนา อันเกิดขั้นเพราะ จักขุสัมผัส
    เป็นปัจจัย
    สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม.
    +--เมื่อบุคคลนั้นไม่กำหนัดยินดีแล้ว
    ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ไม่หลงใหลแล้ว มีปกติเห็นโทษ อยู่;
    ปัญจุปาทานขันธ์ ย่อมถึงซึ่งความไม่ก่อขึ้นอีกต่อไป
    +--และ ตัณหา
    อันเครื่องนำมาซึ่งภพใหม่
    ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัด(่ราคะ)​ด้วยอำนาจแห่งความเพลิน(นันทิ)​
    ทำให้เพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ของบุคคลนั้น ย่อมละไป.
    ความกระวนกระวาย ทางกายและทางจิต ก็ละไป;
    ความแผดเผา ทางกายและทางจิต ก็ละไป;
    ความเร่าร้อน ทางกายและทางจิต ก็ละไป;
    บุคคลนั้นย่อมเสวยความสุขทั้งทางกายและทางจิต.
    ๑--ทิฏฐิ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาทิฏฐิ,
    ๒--ความดำริ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสังกัปปะ,
    ๓--ความเพียร ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็นสัมมาวายามะ
    ๔--สติ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสติ,
    ๕--สมาธิ ของผู้รู้ ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสมาธิ.
    ส่วน
    ๖--กายกรรม ๗--วจีกรรม และ ๘--อาชีวะ
    ของเขา บริสุทธิ์มาแล้วแต่เดิม;
    (ดังนั้นเป็นอันว่า สัมมากัมมันตะ สัมมาวาจา สัมมาอาชีวะ
    มีอยู่แล้วอย่างเต็มที่ ในบุคคลผู้รู้อยู่ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น
    ).
    ด้วยอาการอย่างนี้ เป็นอันว่า #อริยอัฏฐังคิกมรรค
    แห่งบุคคลผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนั้น
    ย่อมถึงซึ่ง #ความบริบูรณ์แห่งภาวนา
    ด้วยอาการอย่างนี้.-
    http://etipitaka.com/read/pali/14/523/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค+ภาวนา
    (
    ผู้ยึดการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคเป็นหลัก
    พึงมองให้เห็นความสำคัญที่สุดแห่งพระบาลีนี้ ที่แสดงให้เห็นว่า
    ถ้าปฏิบัติในชั้นลึกคือการรู้เห็นอย่างถูกต้องเกี่ยวกับอายตนะ
    อันเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาอุปทานแล้ว
    ย่อมเป็นเคล็ดลับในการปฏิบัติ #อริยอัฏฐังคิกมรรค อย่างครบถ้วน
    http://etipitaka.com/read/pali/14/526/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค+ภาวนา
    ขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ไม่เสียเวลามากเหมือนผู้ปฏิบัติชนิดแจกแจงเป็นองค์ๆ
    และองค์ละหลายๆ อย่าง ซึ่งโดยมากปฏิบัติจนตายหรือเกือบตาย
    ก็ไม่เคยประสบความสำเร็จ
    จึงขอเน้นความสำคัญอย่างยิ่งแห่งพระบาลีนี้
    แก่ผู้ปฏิบัติทุกคน. ข้อความที่ยกมานี้
    ยกมาแต่ข้อความที่แสดงด้วยเรื่องของ ๑.จักษุ

    ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงเอาเองออกไปถึงเรื่องของ
    ๒.โสตะ ๓.ฆานะ ๔.ชิวหา ๕.กายะ และ๖.มโน
    แต่ละอย่างๆ ออกเป็นห้าประเด็น
    เหมือนอย่างที่แสดงไว้ในกรณีแห่งจักษุข้างต้นนั้น,

    ก็จะได้อายตนะนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่าง;
    รวมเป็น ๓๐ อย่าง โดยบริบูรณ์
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อปริ. ม. 14/395 - 397/828 - 830.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/395/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อปริ. ม. ๑๔/๕๒๓ - ๕๒๕/๘๒๘ - ๘๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/523/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1024
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด สัทธรรมลำดับที่ : 1024 ชื่อบทธรรม :- อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1024 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด --ภิกษุ ท. ! เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่งจักษุตามที่เป็นจริง ; +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง รูป ทั้งหลาย(ท.)​ ตามที่เป็นจริง ; +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุวิญญาณ ตามที่เป็นจริง ; +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุสัมผัส ตามที่เป็นจริง ; +--เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส ; เป็นปัจจัย สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม, ตามที่เป็นจริง; บุคคล ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักษุ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในรูป ทั้งหลาย ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุวิญญาณ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุสัมผัส ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในเวทนา อันเกิดขั้นเพราะ จักขุสัมผัส เป็นปัจจัย สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม. +--เมื่อบุคคลนั้นไม่กำหนัดยินดีแล้ว ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ไม่หลงใหลแล้ว มีปกติเห็นโทษ อยู่; ปัญจุปาทานขันธ์ ย่อมถึงซึ่งความไม่ก่อขึ้นอีกต่อไป +--และ ตัณหา อันเครื่องนำมาซึ่งภพใหม่ ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัด(่ราคะ)​ด้วยอำนาจแห่งความเพลิน(นันทิ)​ ทำให้เพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ของบุคคลนั้น ย่อมละไป. ความกระวนกระวาย ทางกายและทางจิต ก็ละไป; ความแผดเผา ทางกายและทางจิต ก็ละไป; ความเร่าร้อน ทางกายและทางจิต ก็ละไป; บุคคลนั้นย่อมเสวยความสุขทั้งทางกายและทางจิต. ๑--ทิฏฐิ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาทิฏฐิ, ๒--ความดำริ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสังกัปปะ, ๓--ความเพียร ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็นสัมมาวายามะ ๔--สติ ของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสติ, ๕--สมาธิ ของผู้รู้ ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสมาธิ. ส่วน ๖--กายกรรม ๗--วจีกรรม และ ๘--อาชีวะ ของเขา บริสุทธิ์มาแล้วแต่เดิม; (ดังนั้นเป็นอันว่า สัมมากัมมันตะ สัมมาวาจา สัมมาอาชีวะ มีอยู่แล้วอย่างเต็มที่ ในบุคคลผู้รู้อยู่ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น ). ด้วยอาการอย่างนี้ เป็นอันว่า #อริยอัฏฐังคิกมรรค แห่งบุคคลผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนั้น ย่อมถึงซึ่ง #ความบริบูรณ์แห่งภาวนา ด้วยอาการอย่างนี้.- http://etipitaka.com/read/pali/14/523/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค+ภาวนา ( ผู้ยึดการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคเป็นหลัก พึงมองให้เห็นความสำคัญที่สุดแห่งพระบาลีนี้ ที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าปฏิบัติในชั้นลึกคือการรู้เห็นอย่างถูกต้องเกี่ยวกับอายตนะ อันเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาอุปทานแล้ว ย่อมเป็นเคล็ดลับในการปฏิบัติ #อริยอัฏฐังคิกมรรค อย่างครบถ้วน http://etipitaka.com/read/pali/14/526/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค+ภาวนา ขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ไม่เสียเวลามากเหมือนผู้ปฏิบัติชนิดแจกแจงเป็นองค์ๆ และองค์ละหลายๆ อย่าง ซึ่งโดยมากปฏิบัติจนตายหรือเกือบตาย ก็ไม่เคยประสบความสำเร็จ จึงขอเน้นความสำคัญอย่างยิ่งแห่งพระบาลีนี้ แก่ผู้ปฏิบัติทุกคน. ข้อความที่ยกมานี้ ยกมาแต่ข้อความที่แสดงด้วยเรื่องของ ๑.จักษุ ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงเอาเองออกไปถึงเรื่องของ ๒.โสตะ ๓.ฆานะ ๔.ชิวหา ๕.กายะ และ๖.มโน แต่ละอย่างๆ ออกเป็นห้าประเด็น เหมือนอย่างที่แสดงไว้ในกรณีแห่งจักษุข้างต้นนั้น, ก็จะได้อายตนะนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่าง; รวมเป็น ๓๐ อย่าง โดยบริบูรณ์ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อปริ. ม. 14/395 - 397/828 - 830. http://etipitaka.com/read/thai/14/395/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อปริ. ม. ๑๔/๕๒๓ - ๕๒๕/๘๒๘ - ๘๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/14/523/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1024 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด
    -(ในสูตรอื่น ถือเอา การเกิดแห่งกุศลและการไม่เกิดแห่งอกุศล เป็นหลักเกณฑ์สำหรับ การเลือก ว่าควรเสพหรือไม่ควรเสพ : ถ้าได้ผลเป็นบุญกุศลถือว่าควรเสพ, ถ้าได้ผลเป็นอกุศล ถือว่าไม่ควรเสพ. และถือเอาหลักเกณฑ์นี้สำหรับการเลือกสิ่งเหล่านี้คือ กายสมาจาร วจีสมาจาร มโนสมาจาร จิตตุปบาท สัญญาปฏิลาภ ทิฏฐิปฏิลาภ อัตตภาวปฏิลาภ อารมณ์แต่ละอารมณ์ทางอายตนะทั้งหก จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คาม นิคม นคร ชนบท และ บุคคล. ผู้ปรารถนา รายละเอียดพึงดูจากที่มานั้น ๆ : อุปริ. ม. ๑๔/๑๔๔ – ๑๖๔/๑๙๙ – ๒๓๒; หรือดูที่หัวข้อว่า “การเสพที่เป็นอุปกรณ์และไม่เป็นอุปกรณ์ แก่ความเพียรละอกุศลและเจริญ กุศล” ที่หน้า ๑๑๔๓ แห่งหนังสือเล่มนี้). อาการที่เรียกว่า อัฏฐังคิกมรรคบริบูรณ์ได้โดยวิธีลัด ภิกษุ ท. ! เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่งจักษุตามที่เป็นจริง ; เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง รูป ท. ตามที่เป็นจริง ; เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุวิญญาณ ตามที่เป็นจริง ; เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง จักขุสัมผัส ตามที่เป็นจริง ; เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม, ตามที่เป็นจริง; บุคคล ย่อมไม่กำหนัดยินดีในจักษุ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในรูป ท. ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุวิญญาณ ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในจักขุสัมผัส ย่อมไม่กำหนัดยินดี ในเวทนา อันเกิดขั้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย สุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม. เมื่อบุคคลนั้นไม่กำหนัดยินดีแล้ว ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ไม่หลงใหลแล้ว มีปกติเห็นโทษ อยู่; ปัญจุปาทานขันธ์ ย่อมถึงซึ่งความไม่ก่อขึ้นอีกต่อไป และ ตัณหา อันเครื่องนำมาซึ่งภพใหม่ ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งความเพลิน ทำให้เพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ของบุคคลนั้น ย่อมละไป. ความกระวนกระวาย ทางกายและทางจิต ก็ละไป; ความแผดเผา ทางกายและทางจิต ก็ละไป; ความเร่าร้อน ทางกายและทางจิต ก็ละไป; บุคคลนั้นย่อมเสวยความสุขทั้งทางกายและทางจิต. ทิฏฐิของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาทิฏฐิ, ความดำริของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสังกัปปะ, ความเพียรของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาวายามะ สติของผู้รู้ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสติ, สมาธิของผู้รู้ ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น เป็น สัมมาสมาธิ. ส่วน กายกรรม วจีกรรม และอาชีวะ ของเขา บริสุทธิ์มาแล้วแต่เดิม; (ดังนั้นเป็นอันว่า สัมมากัมมันตะ สัมมาวาจา สัมมาอาชีวะ มีอยู่แล้วอย่างเต็มที่ ในบุคคลผู้รู้อยู่ผู้เห็นอยู่เช่นนั้น). ด้วยอาการอย่างนี้ เป็นอันว่า อริยอัฏฐังคิกมรรคแห่งบุคคลผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนั้น ย่อมถึงซึ่ง ความบริบูรณ์แห่งภาวนา ด้วยอาการอย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 220 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    สัทธรรมลำดับที่ : 998
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ
    ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง
    ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง
    ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง
    ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง
    ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง,
    นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :
    +--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา .
    (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด
    เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด,
    ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า
    (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
    สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
    สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
    สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . .
    ชนิดที่
    มีวิเวกอาศัยแล้ว
    มีวิราคะอาศัยแล้ว
    มีนิโรธอาศัยแล้ว
    มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล
    (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).-

    (ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ
    ฯลฯ
    อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ

    ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
    โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
    โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97

    อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
    อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
    อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99

    นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
    ดังนี้ก็มี
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 998 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : +--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . . ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).- (ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 ดังนี้ก็มี ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284. http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว--ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    -(ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่นคือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) : อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วยความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วยปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วยอวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยการดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วยวิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยอริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วยสมถะและวิปัสสนา. ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน). อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 270 มุมมอง 0 รีวิว