• อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าทุกข์โทษที่เกิดจากกาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 311
    ชื่อบทธรรม :- ทุกข์โทษที่เกิดจากกาม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=311
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์โทษที่เกิดจากกาม
    --ภิกษุ ท. ! โทษของกามทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! กุลบุตรในโลกนี้ สำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพศิลปะใด ๆ เช่น
    ศิลปะแห่งการใช้สัญญาด้วยมือ,
    ศิลปะแห่งการคำนวณ,
    ศิลปะแห่งการพยากรณ์,
    การทำกสิกรรม พาณิชยกรรม และโครักขกรรม,
    ศิลปะแห่งศัสตราวุธ,
    และการทำราชการ และศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง ;
    เพราะการประกอบอาชีพนั้น ๆ เขาต้องเผชิญหน้าต่อความหนาว ความร้อน
    เผชิญหน้าด้วย เหลือบ ยุง ลม แดด และสัมผัสด้วยสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย
    ซูบผอมอยู่ หิวระหายอยู่ เพราะการไม่ได้บริโภคตามเวลา.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง
    มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว.

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อกุลบุตรนั้น พากเพียร ขวนขวาย พยายามอยู่อย่างนี้,
    โภคทรัพย์ ก็ยังไม่สำเร็จแก่เขา,
    เขา ย่อมโศกเศร้า ระทมใจ คร่ำครวญ ตีอก ร่ำไห้ ถึงความมืดมัวอยู่ ว่า
    “ความขยันของเรา เป็นหมันหนอ,
    ความพยายามของเราไร้ผลหนอ”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง
    มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว.

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อกุลบุตรนั้น พากเพียร ขวนขวาย พยายาม อยู่อย่างนี้,
    โภคทรัพย์ ก็สำเร็จแก่เขาด้วย เขา ก็จะต้องเสวยทุกข์ โทมนัส
    เพราะการอารักขาโภคทรัพย์เหล่านั้นเป็นต้นเหตุ ด้วยหวังอยู่ ว่า
    “พระราชาจะไม่ริบทรัพย์เหล่านั้นไป,
    โจร จะไม่ปล้นทรัพย์เหล่านั้นไป,
    ไฟ จะไม่ไหม้ทรัพย์เหล่านั้น,
    น้ำ จะไม่ท่วมทำลายทรัพย์เหล่านั้น ;
    ทายาทที่ไม่พอใจ จะไม่ยื้อแย่งทรัพย์เหล่านั้นไป”
    ดังนี้.
    เมื่อกุลบุตรนั้น ทำการอารักขาคุ้มครองอยู่อย่างนี้
    พระราชา ริบเอาทรัพย์เหล่านั้นไปเสียก็ตาม,
    โจร ปล้นเอาทรัพย์เหล่านั้นไปเสียก็ตาม,
    ไฟ ไหม้ทรัพย์เหล่านั้นเสียก็ตาม,
    น้ำ ท่วมทำลายทรัพย์เหล่านั้นเสียก็ตาม,
    หรือทายาทที่ไม่พอใจ ยื้อแย่งเอาทรัพย์เหล่านั้นไปได้ก็ตาม,
    เขา ย่อมโศกเศร้า ระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ถึงความมืดมัวรำพันอยู่ ว่า
    “ ทรัพย์ใดได้มีแล้วแก่เรา ทรัพย์นั้นไม่มีเสียแล้ว”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย
    เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง
    มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว.

    --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก
    : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว
    :พระราชา ย่อมวิวาทกับพระราชาบ้าง,
    กษัตริย์ย่อมวิวาทกับกษัตริย์บ้าง,
    พราหมณ์ย่อมวิวาทกับพราหมณ์บ้าง,
    คฤหบดีย่อมวิวาทกับคฤหบดีบ้าง,
    มารดาย่อมวิวาทกับบุตรบ้าง,
    บุตรย่อมวิวาทกับมารดาบ้าง,
    บิดาย่อมวิวาทกับบุตรบ้าง,
    บุตรย่อมวิวาทกับบิดาบ้าง,
    พี่น้องชายย่อมวิวาทกับพี่น้องชายบ้าง,
    พี่น้องชายย่อมวิวาทกับพี่น้องหญิงบ้าง,
    พี่น้องหญิงย่อมวิวาทกับพี่น้องชายบ้าง,
    สหายย่อมวิวาทกับสหายบ้าง ;
    คนเหล่านั้น ทำการทะเลาะ วิวาท บาดหมางกันแล้ว
    ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยมือบ้าง,
    ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยก้อนดินบ้าง,
    ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยท่อนไม้บ้าง,
    ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยศัสตราบ้าง, อยู่ในที่นั้นๆ.
    เขาเหล่านั้น ย่อมถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง
    มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    +--เป็นเหตุ เพราะกามนั่นเทียว.

    --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก
    : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว
    : คนทั้งหลาย ถือดาบและโล่ ผูกสอดธนูและแล่งศร แบ่งกันเป็นสองกองทัพ
    พุ่งเข้าทำสงครามกัน.
    เมื่อลูกศรถูกปล่อยไป, เมื่อหอกถูกซัดไป, เมื่อดาบถูกกวัดแกว่งอยู่,
    คนเหล่านั้น ยิงกันด้วยลูกศรบ้าง, แทงกันด้วยหอกบ้าง, ตัดศีรษะกันด้วยดาบบ้าง,
    ในสงครามนั้น ๆ, เขาเหล่านั้น ย่อมถึงซึ่งความตายหรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษ ของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง
    มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว.

    --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก
    : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว
    : คนทั้งหลาย ถือดาบและโล่ ผูกสอดธนูและแล่งศร วิ่งขึ้นปีนเชิงเทิน (เพื่อปล้นเอาเมือง), เมื่อลูกศรถูกปล่อยไป, เมื่อหอกถูกซัดไป, เมื่อดาบถูกกวัดแกว่งอยู่,
    คนเหล่านั้น ยิงกันด้วยลูกศรบ้าง, แทงกันด้วยหอกบ้าง,
    ราดกันด้วยเถ้าถ่านโคมัยอันร้อนบ้าง.
    ปล่อยของหนักให้ตกลงทับทีเดียวตายทั้งหมู่บ้าง, ตัดศีรษะกันด้วยดาบบ้าง,
    ในสงครามนั้น ๆ, เขาเหล่านั้นย่อมถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง
    มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว.
    --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก
    : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว

    : คนทั้งหลาย ย่อมตัดช่อง ย่องเบา ปล้นสะดมในเรือนหลังเดียว
    คอยดักทำร้ายในที่เปลี่ยว และล่วงภรรยาผู้อื่น.
    พระราชา จับคนเหล่านั้นมาแล้ว ให้ลงกรรมกรณ์หลายวิธีด้วยกัน
    เช่นเฆี่ยนด้วยหวายบ้าง, หวดด้วยเชือกหนังบ้าง, ทุบด้วยท่อนไม้บ้าง, ตัดมือเสียบ้าง,
    ตัดเท้าเสียบ้าง, ตัดเสียทั้งมือและเท้าบ้าง, ตัดหูบ้าง, ตัดจมูกบ้าง, ตัดเสียทั้งหูและจมูกบ้าง,
    ยอมทำโทษโดยวิธี หม้อเคี่ยวน้ำส้ม-๑ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี ขอดสังข์๒ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี ปากราหู-๓ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี มาลัยไฟ-๔ บ้าง.
    ย่อมทำโทษ โดยวิธี คบมือ-๕ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี ริ้วส่าย-๖ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี นุ่งเปลือกไม้-๗ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี ยืนกวาง-๘ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี เกี่ยวเหยื่อเบ็ด-๙ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี เหรียญกษปณ์-๑๐ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี ทาเกลือบ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี แปรงแสบ-๑๑ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี กางเกวียน-๑๒ บ้าง,
    ย่อมทำโทษโดยวิธี ตั่งฟาง๑๓ บ้าง,
    ย่อมราดด้วยน้ำมันร้อนๆ บ้าง,
    ย่อมปล่อยให้สุนัขทึ้ง-๑๔ บ้าง,
    ย่อมให้นอนหงายบนหลาวทั้งเป็น ๆ บ้าง,
    ย่อมตัดศีรษะด้วยดาบบ้าง.
    เขาเหล่านั้น ย่อมถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ.
    --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย
    เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว.

    --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก
    : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ
    เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว
    : คนทั้งหลาย ย่อมประพฤติทุจริตด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ.
    ครั้นประพฤติทุจริตด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจแล้ว,
    เขาเหล่านั้น ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เบื้องหน้าแต่การตาย
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย.
    --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย
    เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เองมีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ
    +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว,.
    ดังนี้แล.-

    ! --
    ©หมายเหตุ ตามนัยอรรถกถาและพระไตรปิฎกแปลของ ม.อำไพจริต.
    -๑. หม้อเคี่ยวน้ำส้ม คือต่อยหัวขมองแยกออก แล้วใช้คีมคีบก้อนเหล็กที่ลุกแดงใส่ลงไปให้มันสมองเดือดพลุ่งขึ้น เหมือนน้ำส้มเดือดล้นหม้อ.-
    -๒. ขอดสังข์ คือตัดหนังควั่นไปให้รอบจอนหูทั้งสองข้าง และหลุมคอ แล้วรวบผมทั้งหมดขมวดไว้ ใช้ไม้สอดหมุ ยกขึ้น ให้หนังหลุดติดขึ้นมาพร้อมกับผมแล้วใช้ทรายหยาบขัดกระโหลกศีรษะล้างให้ขาว ดั่งสังข์.-
    -๓. ปากราหู คือใช้ขอเหล็กง้างปากให้อ้าแล้วจุดไฟในปาก. อีกอย่างหนึ่ง ใช้สิ่วตอกเจาะตั้งแต่จอนหูเข้าไปจนถึงปาก ให้โลหิตไหลออกมาเต็มปาก ดูปากอ้า ดั่งปากราหู.-
    -๔. มาลัยไฟ คือใช้ผ้าชุบน้ำมันพันจนทั่วตัวแล้วจุดไฟ-
    -๕. คบมือ คือใช้ผ้าชุบน้ำมันพันมือทั่วสองข้างจนทั่ว แล้วจุดไฟ.-
    -๖. ริ้วส่าย คือเชือดหนังลอกออกเป็นริ้วๆ ตั้งแต่ใต้คอไปจนถึงข้อเท้า แล้วเอาเชือกผูกฉุดคร่าไป นักโทษเดินเหยียบริ้วหนังของตัวล้มลุกคลุกคลานไปกว่าจะตาย-
    -๗. นุ่งเปลือกไม้ คือเชือดหนังเป็นริ้ว ๆ อย่างบทก่อน แต่ทำเป็นสองตอน ตั้งแต่ใต้คอจนถึงเอวตอนหนึ่ง ตั้งแต่เอวจนถึงข้อเท้าตอนหนึ่ง ริ้วหนังตอนบนห้อยคลุมลงมาปิดกายตอนล่าง ดูดั่งนุ่งเปลือกไม้-
    -๘. ยืนกวาง คือใช้ห่วงเหล็กรัดศอกทั้งสอง และเข่าทั้งสอง ตรึงติดไว้กับหลักเหล็กสี่หลักบนพื้นดิน ดูดั่ง กวางถูกตรึง แล้วก่อไฟล้อมลนไปกว่าจะตาย.-
    -๙. เกี่ยวเหยื่อเบ็ด คือใช้เบ็ดมีเงี่ยงสองข้าง เกี่ยวตัวดึงเอาหนังเนื้อและเอ็นออกมาให้หมด.-
    -๑๐. เหรียญกษาปณ์ คือใช้มีดคมเชือดเนื้อออกเป็นแว่นๆ ขนาดเท่าเงินเหรียญจนกว่าจะตาย.-
    -๑๑. แปรงแสบ คือฟันสับเสียให้ยับทั่วกาย แล้วใช้แปรงชุบน้ำแสบ (มีน้ำเกลือเป็นต้น) ถูครูดสีไปมาให้หนังเนื้อเอ็น ขาดหลุดออกมาหมด เหลือแต่กระดูก.-
    -๑๒. กางเกวียน คือให้นอนตะแคง แล้วใช้หลาวเหล็กตอกเข้าช่องหูให้ทะลุ ลงไปตรึงแน่นอยู่กับดิน แล้วจับเท้าทั้งสองยกเดินเวียน.-
    -๑๓. ตั่งฟาง คือใช้ลูกหินบดทับตัว บดให้กระดูกแตกละเอียด แต่ไม่ให้หนังขาด แล้วจับผมรวบขึ้นเขย่าๆ ให้เนื้อรวมเข้าเป็นกอง แล้วใช้ผมนั่นแหละพันตะล่อมวางไว้ เหมือนดั่งที่ทำด้วยฟางสำหรับเช็ดเท้า.-
    -๑๔. ให้สุนัขทึ้ง คือขังฝูงสุนัขให้อดหิวโซหลายวัน แล้วปล่อยให้ออกมารุมทึ้ง พักเดียวเหลือแต่กระดูก.
    ---!

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/116/198.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/116/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๖๙/๑๙๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/169/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=311
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=311
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าทุกข์โทษที่เกิดจากกาม สัทธรรมลำดับที่ : 311 ชื่อบทธรรม :- ทุกข์โทษที่เกิดจากกาม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=311 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์โทษที่เกิดจากกาม --ภิกษุ ท. ! โทษของกามทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! กุลบุตรในโลกนี้ สำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพศิลปะใด ๆ เช่น ศิลปะแห่งการใช้สัญญาด้วยมือ, ศิลปะแห่งการคำนวณ, ศิลปะแห่งการพยากรณ์, การทำกสิกรรม พาณิชยกรรม และโครักขกรรม, ศิลปะแห่งศัสตราวุธ, และการทำราชการ และศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง ; เพราะการประกอบอาชีพนั้น ๆ เขาต้องเผชิญหน้าต่อความหนาว ความร้อน เผชิญหน้าด้วย เหลือบ ยุง ลม แดด และสัมผัสด้วยสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย ซูบผอมอยู่ หิวระหายอยู่ เพราะการไม่ได้บริโภคตามเวลา. --ภิกษุ ท. ! นี้ เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. --ภิกษุ ท. ! เมื่อกุลบุตรนั้น พากเพียร ขวนขวาย พยายามอยู่อย่างนี้, โภคทรัพย์ ก็ยังไม่สำเร็จแก่เขา, เขา ย่อมโศกเศร้า ระทมใจ คร่ำครวญ ตีอก ร่ำไห้ ถึงความมืดมัวอยู่ ว่า “ความขยันของเรา เป็นหมันหนอ, ความพยายามของเราไร้ผลหนอ” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. --ภิกษุ ท. ! เมื่อกุลบุตรนั้น พากเพียร ขวนขวาย พยายาม อยู่อย่างนี้, โภคทรัพย์ ก็สำเร็จแก่เขาด้วย เขา ก็จะต้องเสวยทุกข์ โทมนัส เพราะการอารักขาโภคทรัพย์เหล่านั้นเป็นต้นเหตุ ด้วยหวังอยู่ ว่า “พระราชาจะไม่ริบทรัพย์เหล่านั้นไป, โจร จะไม่ปล้นทรัพย์เหล่านั้นไป, ไฟ จะไม่ไหม้ทรัพย์เหล่านั้น, น้ำ จะไม่ท่วมทำลายทรัพย์เหล่านั้น ; ทายาทที่ไม่พอใจ จะไม่ยื้อแย่งทรัพย์เหล่านั้นไป” ดังนี้. เมื่อกุลบุตรนั้น ทำการอารักขาคุ้มครองอยู่อย่างนี้ พระราชา ริบเอาทรัพย์เหล่านั้นไปเสียก็ตาม, โจร ปล้นเอาทรัพย์เหล่านั้นไปเสียก็ตาม, ไฟ ไหม้ทรัพย์เหล่านั้นเสียก็ตาม, น้ำ ท่วมทำลายทรัพย์เหล่านั้นเสียก็ตาม, หรือทายาทที่ไม่พอใจ ยื้อแย่งเอาทรัพย์เหล่านั้นไปได้ก็ตาม, เขา ย่อมโศกเศร้า ระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ถึงความมืดมัวรำพันอยู่ ว่า “ ทรัพย์ใดได้มีแล้วแก่เรา ทรัพย์นั้นไม่มีเสียแล้ว” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว :พระราชา ย่อมวิวาทกับพระราชาบ้าง, กษัตริย์ย่อมวิวาทกับกษัตริย์บ้าง, พราหมณ์ย่อมวิวาทกับพราหมณ์บ้าง, คฤหบดีย่อมวิวาทกับคฤหบดีบ้าง, มารดาย่อมวิวาทกับบุตรบ้าง, บุตรย่อมวิวาทกับมารดาบ้าง, บิดาย่อมวิวาทกับบุตรบ้าง, บุตรย่อมวิวาทกับบิดาบ้าง, พี่น้องชายย่อมวิวาทกับพี่น้องชายบ้าง, พี่น้องชายย่อมวิวาทกับพี่น้องหญิงบ้าง, พี่น้องหญิงย่อมวิวาทกับพี่น้องชายบ้าง, สหายย่อมวิวาทกับสหายบ้าง ; คนเหล่านั้น ทำการทะเลาะ วิวาท บาดหมางกันแล้ว ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยมือบ้าง, ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยก้อนดินบ้าง, ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยท่อนไม้บ้าง, ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยศัสตราบ้าง, อยู่ในที่นั้นๆ. เขาเหล่านั้น ย่อมถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ +--เป็นเหตุ เพราะกามนั่นเทียว. --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว : คนทั้งหลาย ถือดาบและโล่ ผูกสอดธนูและแล่งศร แบ่งกันเป็นสองกองทัพ พุ่งเข้าทำสงครามกัน. เมื่อลูกศรถูกปล่อยไป, เมื่อหอกถูกซัดไป, เมื่อดาบถูกกวัดแกว่งอยู่, คนเหล่านั้น ยิงกันด้วยลูกศรบ้าง, แทงกันด้วยหอกบ้าง, ตัดศีรษะกันด้วยดาบบ้าง, ในสงครามนั้น ๆ, เขาเหล่านั้น ย่อมถึงซึ่งความตายหรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษ ของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว : คนทั้งหลาย ถือดาบและโล่ ผูกสอดธนูและแล่งศร วิ่งขึ้นปีนเชิงเทิน (เพื่อปล้นเอาเมือง), เมื่อลูกศรถูกปล่อยไป, เมื่อหอกถูกซัดไป, เมื่อดาบถูกกวัดแกว่งอยู่, คนเหล่านั้น ยิงกันด้วยลูกศรบ้าง, แทงกันด้วยหอกบ้าง, ราดกันด้วยเถ้าถ่านโคมัยอันร้อนบ้าง. ปล่อยของหนักให้ตกลงทับทีเดียวตายทั้งหมู่บ้าง, ตัดศีรษะกันด้วยดาบบ้าง, ในสงครามนั้น ๆ, เขาเหล่านั้นย่อมถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว : คนทั้งหลาย ย่อมตัดช่อง ย่องเบา ปล้นสะดมในเรือนหลังเดียว คอยดักทำร้ายในที่เปลี่ยว และล่วงภรรยาผู้อื่น. พระราชา จับคนเหล่านั้นมาแล้ว ให้ลงกรรมกรณ์หลายวิธีด้วยกัน เช่นเฆี่ยนด้วยหวายบ้าง, หวดด้วยเชือกหนังบ้าง, ทุบด้วยท่อนไม้บ้าง, ตัดมือเสียบ้าง, ตัดเท้าเสียบ้าง, ตัดเสียทั้งมือและเท้าบ้าง, ตัดหูบ้าง, ตัดจมูกบ้าง, ตัดเสียทั้งหูและจมูกบ้าง, ยอมทำโทษโดยวิธี หม้อเคี่ยวน้ำส้ม-๑ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ขอดสังข์๒ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ปากราหู-๓ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี มาลัยไฟ-๔ บ้าง. ย่อมทำโทษ โดยวิธี คบมือ-๕ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ริ้วส่าย-๖ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี นุ่งเปลือกไม้-๗ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ยืนกวาง-๘ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี เกี่ยวเหยื่อเบ็ด-๙ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี เหรียญกษปณ์-๑๐ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ทาเกลือบ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี แปรงแสบ-๑๑ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี กางเกวียน-๑๒ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ตั่งฟาง๑๓ บ้าง, ย่อมราดด้วยน้ำมันร้อนๆ บ้าง, ย่อมปล่อยให้สุนัขทึ้ง-๑๔ บ้าง, ย่อมให้นอนหงายบนหลาวทั้งเป็น ๆ บ้าง, ย่อมตัดศีรษะด้วยดาบบ้าง. เขาเหล่านั้น ย่อมถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ. --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. --ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว : คนทั้งหลาย ย่อมประพฤติทุจริตด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ. ครั้นประพฤติทุจริตด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจแล้ว, เขาเหล่านั้น ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เบื้องหน้าแต่การตาย เพราะการแตกสลายแห่งกาย. --ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เองมีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ +--เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว,. ดังนี้แล.- ! -- ©หมายเหตุ ตามนัยอรรถกถาและพระไตรปิฎกแปลของ ม.อำไพจริต. -๑. หม้อเคี่ยวน้ำส้ม คือต่อยหัวขมองแยกออก แล้วใช้คีมคีบก้อนเหล็กที่ลุกแดงใส่ลงไปให้มันสมองเดือดพลุ่งขึ้น เหมือนน้ำส้มเดือดล้นหม้อ.- -๒. ขอดสังข์ คือตัดหนังควั่นไปให้รอบจอนหูทั้งสองข้าง และหลุมคอ แล้วรวบผมทั้งหมดขมวดไว้ ใช้ไม้สอดหมุ ยกขึ้น ให้หนังหลุดติดขึ้นมาพร้อมกับผมแล้วใช้ทรายหยาบขัดกระโหลกศีรษะล้างให้ขาว ดั่งสังข์.- -๓. ปากราหู คือใช้ขอเหล็กง้างปากให้อ้าแล้วจุดไฟในปาก. อีกอย่างหนึ่ง ใช้สิ่วตอกเจาะตั้งแต่จอนหูเข้าไปจนถึงปาก ให้โลหิตไหลออกมาเต็มปาก ดูปากอ้า ดั่งปากราหู.- -๔. มาลัยไฟ คือใช้ผ้าชุบน้ำมันพันจนทั่วตัวแล้วจุดไฟ- -๕. คบมือ คือใช้ผ้าชุบน้ำมันพันมือทั่วสองข้างจนทั่ว แล้วจุดไฟ.- -๖. ริ้วส่าย คือเชือดหนังลอกออกเป็นริ้วๆ ตั้งแต่ใต้คอไปจนถึงข้อเท้า แล้วเอาเชือกผูกฉุดคร่าไป นักโทษเดินเหยียบริ้วหนังของตัวล้มลุกคลุกคลานไปกว่าจะตาย- -๗. นุ่งเปลือกไม้ คือเชือดหนังเป็นริ้ว ๆ อย่างบทก่อน แต่ทำเป็นสองตอน ตั้งแต่ใต้คอจนถึงเอวตอนหนึ่ง ตั้งแต่เอวจนถึงข้อเท้าตอนหนึ่ง ริ้วหนังตอนบนห้อยคลุมลงมาปิดกายตอนล่าง ดูดั่งนุ่งเปลือกไม้- -๘. ยืนกวาง คือใช้ห่วงเหล็กรัดศอกทั้งสอง และเข่าทั้งสอง ตรึงติดไว้กับหลักเหล็กสี่หลักบนพื้นดิน ดูดั่ง กวางถูกตรึง แล้วก่อไฟล้อมลนไปกว่าจะตาย.- -๙. เกี่ยวเหยื่อเบ็ด คือใช้เบ็ดมีเงี่ยงสองข้าง เกี่ยวตัวดึงเอาหนังเนื้อและเอ็นออกมาให้หมด.- -๑๐. เหรียญกษาปณ์ คือใช้มีดคมเชือดเนื้อออกเป็นแว่นๆ ขนาดเท่าเงินเหรียญจนกว่าจะตาย.- -๑๑. แปรงแสบ คือฟันสับเสียให้ยับทั่วกาย แล้วใช้แปรงชุบน้ำแสบ (มีน้ำเกลือเป็นต้น) ถูครูดสีไปมาให้หนังเนื้อเอ็น ขาดหลุดออกมาหมด เหลือแต่กระดูก.- -๑๒. กางเกวียน คือให้นอนตะแคง แล้วใช้หลาวเหล็กตอกเข้าช่องหูให้ทะลุ ลงไปตรึงแน่นอยู่กับดิน แล้วจับเท้าทั้งสองยกเดินเวียน.- -๑๓. ตั่งฟาง คือใช้ลูกหินบดทับตัว บดให้กระดูกแตกละเอียด แต่ไม่ให้หนังขาด แล้วจับผมรวบขึ้นเขย่าๆ ให้เนื้อรวมเข้าเป็นกอง แล้วใช้ผมนั่นแหละพันตะล่อมวางไว้ เหมือนดั่งที่ทำด้วยฟางสำหรับเช็ดเท้า.- -๑๔. ให้สุนัขทึ้ง คือขังฝูงสุนัขให้อดหิวโซหลายวัน แล้วปล่อยให้ออกมารุมทึ้ง พักเดียวเหลือแต่กระดูก. ---! #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/116/198. http://etipitaka.com/read/thai/12/116/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๖๙/๑๙๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/169/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=311 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=311 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (เรื่องนี้ควรจะอยู่ในหมวดนิโรธ แต่นำมาใส่ไว้ต่อท้ายเรื่องนี้ซึ่งเป็นหมวดสมุทัยก็เพื่อความสะดวกแก่การศึกษา คือศึกษาพร้อมกัน อันจะเป็นการง่าย ได้ผลดีกว่าที่จะแยกกัน.
    -(เรื่องนี้ควรจะอยู่ในหมวดนิโรธ แต่นำมาใส่ไว้ต่อท้ายเรื่องนี้ซึ่งเป็นหมวดสมุทัยก็เพื่อความสะดวกแก่การศึกษา คือศึกษาพร้อมกัน อันจะเป็นการง่าย ได้ผลดีกว่าที่จะแยกกัน. แต่ยังมีลักษณะแห่งจิตของผู้ที่เรียกว่าอยู่คนเดียวที่ลึกซึ้งกว่า ประณีตกว่าเรื่องนี้ในหมวดนิโรธ หรือภาค ๓ ขอให้ดูจากที่นั้น ที่หน้า ๖๙๕ โดยหัวข้อว่า “ผู้อยู่คนเดียวคือผู้ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งปวง”). ทุกข์โทษที่เกิดจากกาม ภิกษุ ท. ! โทษของกามทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! กุลบุตรในโลกนี้ สำเร็จการเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพศิลปะใด ๆ เช่นศิลปะแห่งการใช้สัญญาด้วยมือ, ศิลปะแห่งการคำนวณ, ศิลปะแห่งการพยากรณ์, การทำกสิกรรม พาณิชยกรรม และโครักขกรรม, ศิลปะแห่งศัสตราวุธ, และการทำราชการ และศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง ; เพราะการประกอบอาชีพนั้น ๆ เขาต้องเผชิญหน้าต่อความหนาว ความร้อน เผชิญหน้าด้วย เหลือบ ยุง ลม แดด และสัมผัสด้วยสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย ซูบผอมอยู่ หิวระหายอยู่ เพราะการไม่ได้บริโภคตามเวลา. ภิกษุ ท. ! นี้ เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. ภิกษุ ท. ! เมื่อกุลบุตรนั้น พากเพียร ขวนขวาย พยายามอยู่อย่างนี้, โภคทรัพย์ ก็ยังไม่สำเร็จแก่เขา, เขา ย่อมโศกเศร้า ระทมใจ คร่ำครวญ ตีอก ร่ำไห้ ถึงความมืดมัวอยู่ ว่า “ความขยันของเรา เป็นหมันหนอ, ความพยายามของเราไร้ผลหนอ” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. ภิกษุ ท. ! เมื่อกุลบุตรนั้น พากเพียร ขวนขวาย พยายาม อยู่อย่างนี้, โภคทรัพย์ ก็สำเร็จแก่เขาด้วย เขา ก็จะต้องเสวยทุกข์ โทมนัสเพราะการอารักขาโภคทรัพย์เหล่านั้นเป็นต้นเหตุ ด้วยหวังอยู่ ว่า “พระราชาจะไม่ริบทรัพย์เหล่านั้นไป, โจร จะไม่ปล้นทรัพย์เหล่านั้นไป, ไฟ จะไม่ไหม้ทรัพย์เหล่านั้น, น้ำ จะไม่ท่วมทำลายทรัพย์เหล่านั้น ; ทายาทที่ไม่พอใจ จะไม่ยื้อแย่งทรัพย์เหล่านั้นไป” ดังนี้. เมื่อกุลบุตรนั้น ทำการอารักขาคุ้มครองอยู่อย่างนี้ พระราชา ริบเอาทรัพย์เหล่านั้นไปเสียก็ตาม, โจร ปล้นเอาทรัพย์เหล่านั้นไปเสียก็ตาม, ไฟ ไหม้ทรัพย์เหล่านั้นเสียก็ตาม, น้ำ ท่วมทำลายทรัพย์เหล่านั้นเสียก็ตาม, หรือทายาทที่ไม่พอใจ ยื้อแย่งเอาทรัพย์เหล่านั้นไปได้ก็ตาม, เขา ย่อมโศกเศร้า ระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ถึงความมืดมัวรำพันอยู่ ว่า “ ทรัพย์ใดได้มีแล้วแก่เรา ทรัพย์นั้นไม่มีเสียแล้ว” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว : พระราชา ย่อมวิวาทกับพระราชาบ้าง, กษัตริย์ย่อมวิวาทกับกษัตริย์บ้าง, พราหมณ์ย่อมวิวาทกับพราหมณ์บ้าง, คฤหบดีย่อมวิวาทกับคฤหบดีบ้าง, มารดาย่อมวิวาทกับบุตรบ้าง, บุตรย่อมวิวาทกับมารดาบ้าง, บิดาย่อมวิวาทกับบุตรบ้าง. บุตรย่อมวิวาทกับบิดาบ้าง, พี่น้องชายย่อมวิวาทกับพี่น้องชายบ้าง, พี่น้องชายย่อมวิวาทกับพี่น้องหญิงบ้าง, พี่น้องหญิงย่อมวิวาทกับพี่น้องชายบ้าง, สหายย่อมวิวาทกับสหายบ้าง ; คนเหล่านั้น ทำการทะเลาะ วิวาท บาดหมางกันแล้ว ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยมือบ้าง, ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยก้อนดินบ้าง ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยท่อนไม้บ้าง, ย่อมต่อสู้กันและกันด้วยศัสตราบ้าง, อยู่ในที่นั้นๆ. เขาเหล่านั้น ย่อมถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุ เพราะกามนั่นเทียว. ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว : คนทั้งหลาย ถือดาบและโล่ ผูกสอดธนูและแล่งศร แบ่งกันเป็นสองกองทัพ พุ่งเข้าทำสงครามกัน. เมื่อลูกศรถูกปล่อยไป, เมื่อหอกถูกซัดไป, เมื่อดาบถูกกวัดแกว่งอยู่, คนเหล่านั้น ยิงกันด้วยลูกศรบ้าง, แทงกันด้วยหอกบ้าง, ตัดศีรษะกันด้วยดาบบ้าง, ในสงครามนั้น ๆ, เขาเหล่านั้น ย่อมถึงซึ่งความตายหรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษ ของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว : คนทั้งหลาย ถือดาบและโล่ ผูกสอดธนูและแล่งศร วิ่งขึ้นปีนเชิงเทิน (เพื่อปล้นเอาเมือง), เมื่อลูกศรถูกปล่อยไป, เมื่อหอกถูกซัดไป, เมื่อดาบถูกกวัดแกว่งอยู่, คนเหล่านั้น ยิงกันด้วยลูกศรบ้าง, แทงกันด้วยหอกบ้าง, ราดกันด้วยเถ้าถ่านโคมัยอันร้อนบ้าง. ปล่อยของหนักให้ตกลงทับทีเดียวตายทั้งหมู่บ้าง, ตัดศีรษะกันด้วยดาบบ้าง, ในสงครามนั้น ๆ, เขาเหล่านั้นย่อมถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว : คนทั้งหลาย ย่อมตัดช่อง ย่องเบา ปล้นสะดมในเรือนหลังเดียว คอยดักทำร้ายในที่เปลี่ยว และล่วงภรรยาผู้อื่น. พระราชา จับคนเหล่านั้นมาแล้ว ให้ลงกรรมกรณ์หลายวิธีด้วยกัน เช่นเฆี่ยนด้วยหวายบ้าง, หวดด้วยเชือกหนังบ้าง, ทุบด้วยท่อนไม้บ้าง, ตัดมือเสียบ้าง, ตัดเท้าเสียบ้าง, ตัดเสียทั้งมือและเท้าบ้าง, ตัดหูบ้าง, ตัดจมูกบ้าง, ตัดเสียทั้งหูและจมูกบ้าง, ยอมทำโทษโดยวิธี หม้อเคี่ยวน้ำส้ม๑ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ขอดสังข์๒ บ้าง. ย่อมทำโทษ ๑. หม้อเคี่ยวน้ำส้ม คือต่อยหัวขมองแยกออก แล้วใช้คีมคีบก้อนเหล็กที่ลุกแดงใส่ลงไปให้มันสมองเดือดพลุ่งขึ้น เหมือนน้ำส้มเดือดล้นหม้อ. ๒. ขอดสังข์ คือตัดหนังควั่นไปให้รอบจอนหูทั้งสองข้าง และหลุมคอ แล้วรวบผมทั้งหมดขมวดไว้ ใช้ไม้สอดหมุ ยกขึ้น ให้หนังหลุดติดขึ้นมาพร้อมกับผมแล้วใช้ทรายหยาบขัดกระโหลกศีรษะล้างให้ขาว ดั่งสังข์. โดยวิธี ปากราหู๓ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี มาลัยไฟ๔ บ้าง. ย่อมทำโทษ โดยวิธีคบมือ๕ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ริ้วส่าย๖ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี นุ่งเปลือกไม้๗ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ยืนกวาง๘ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธีเกี่ยวเหยื่อเบ็ด๙ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี เหรียญกษปณ์๑๐ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ทาเกลือบ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี แปรงแสบ๑๑ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี กางเกวียน๑๒ บ้าง, ย่อมทำโทษโดยวิธี ตั่งฟาง๑๓ บ้าง, ย่อมราดด้วยน้ำมันร้อนๆ บ้าง, ย่อมปล่อยให้สุนัขทึ้ง๑๔ บ้าง, ย่อมให้นอนหงายบนหลาวทั้งเป็น ๆ บ้าง, ย่อมตัดศีรษะด้วยดาบบ้าง. เขาเหล่านั้น ย่อม ๓. ปากราหู คือใช้ขอเหล็กง้างปากให้อ้าแล้วจุดไฟในปาก. อีกอย่างหนึ่ง ใช้สิ่วตอกเจาะตั้งแต่จอนหูเข้าไปจนถึงปาก ให้โลหิตไหลออกมาเต็มปาก ดูปากอ้า ดั่งปากราหู. ๔. มาลัยไฟ คือใช้ผ้าชุบน้ำมันพันจนทั่วตัวแล้วจุดไฟ ๕. คบมือ คือใช้ผ้าชุบน้ำมันพันมือทั่วสองข้างจนทั่ว แล้วจุดไฟ. ๖. ริ้วส่าย คือเชือดหนังลอกออกเป็นริ้วๆ ตั้งแต่ใต้คอไปจนถึงข้อเท้า แล้วเอาเชือกผูกฉุดคร่าไป นักโทษเดินเหยียบริ้วหนังของตัวล้มลุกคลุกคลานไปกว่าจะตาย ๗. นุ่งเปลือกไม้ คือเชือดหนังเป็นริ้ว ๆ อย่างบทก่อน แต่ทำเป็นสองตอน ตั้งแต่ใต้คอจนถึงเอวตอนหนึ่ง ตั้งแต่เอวจนถึงข้อเท้าตอนหนึ่ง ริ้วหนังตอนบนห้อยคลุมลงมาปิดกายตอนล่าง ดูดั่งนุ่งเปลือกไม้ ๘. ยืนกวาง คือใช้ห่วงเหล็กรัดศอกทั้งสอง และเข่าทั้งสอง ตรึงติดไว้กับหลักเหล็กสี่หลักบนพื้นดิน ดูดั่ง กวางถูกตรึง แล้วก่อไฟล้อมลนไปกว่าจะตาย. ๙. เกี่ยวเหยื่อเบ็ด คือใช้เบ็ดมีเงี่ยงสองข้าง เกี่ยวตัวดึงเอาหนังเนื้อและเอ็นออกมาให้หมด. ๑๐. เหรียญกษาปณ์ คือใช้มีดคมเชือดเนื้อออกเป็นแว่นๆ ขนาดเท่าเงินเหรียญจนกว่าจะตาย. ๑๑. แปรงแสบ คือฟันสับเสียให้ยับทั่วกาย แล้วใช้แปรงชุบน้ำแสบ (มีน้ำเกลือเป็นต้น) ถูครูดสีไปมาให้หนังเนื้อเอ็น ขาดหลุดออกมาหมด เหลือแต่กระดูก. ๑๒. างเกวียน คือให้นอนตะแคง แล้วใช้หลาวเหล็กตอกเข้าช่องหูให้ทะลุ ลงไปตรึงแน่นอยู่กับดิน แล้วจับเท้าทั้งสองยกเดินเวียน. ๑๓. ตั่งฟาง คือใช้ลูกหินบดทับตัว บดให้กระดูกแตกละเอียด แต่ไม่ให้หนังขาด แล้วจับผมรวบขึ้นเขย่าๆ ให้เนื้อรวมเข้าเป็นกอง แล้วใช้ผมนั่นแหละพันตะล่อมวางไว้ เหมือนดั่งที่ทำด้วยฟางสำหรับเช็ดเท้า. ๑๔. ให้สุนัขทึ้ง คือขังฝูงสุนัขให้อดหิวโซหลายวัน แล้วปล่อยให้ออกมารุมทึ้ง พักเดียวเหลือแต่กระดูก, -นัยอรรถกถา และพระไตรปิฎกแปลของ ม.อำไพจริต. ถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย ในที่นั้น ๆ. ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เอง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว. ภิกษุ ท. ! โทษอย่างอื่นยังมีอีก : เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องก่อ เพราะกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว : คนทั้งหลาย ย่อมประพฤติทุจริตด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ. ครั้นประพฤติทุจริตด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจแล้ว, เขาเหล่านั้น ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เบื้องหน้าแต่การตาย เพราะการแตกสลายแห่งกาย. ภิกษุ ท. ! แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นได้เองมีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นเครื่องก่อ มีกามเป็นเครื่องให้กระทำ เป็นเหตุเพราะกามนั่นเทียว, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 134 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา.
    สัทธรรมลำดับที่ : 677
    ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    [ตอนอุทเทส]
    --บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ
    ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค
    อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์.
    --ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ
    การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน),
    ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู
    ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น.
    ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข,
    ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน.
    ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ;
    ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ;
    ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ;
    ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้.
    นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ
    (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก).
    [ตอนนิทเทส]
    --ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง
    เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
    ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน
    เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส
    ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม
    เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
    ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค)
    อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
    ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา).
    --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก
    อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
    ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
    เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
    --คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า
    “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน
    เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
    และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์
    ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์”
    ดังนี้,
    คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว.
    --ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า
    “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน”
    ดังนี้
    --นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง
    อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    ....
    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
    เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ;
    ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์
    ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ
    ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา
    เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) .

    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94

    --- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.)
    --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ
    อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ),
    นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม),
    มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง)​.
    --ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า
    “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้
    เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย :
    +--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา).

    --ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว
    เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ
    ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา
    ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์...
    ....ฯลฯ....
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา).

    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ;
    ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ;
    ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ :
    +--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.-

    (อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้
    แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค
    ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน.
    ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา
    จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา. สัทธรรมลำดับที่ : 677 ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) [ตอนอุทเทส] --บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. --ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. --ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน), ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น. ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข, ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน. ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ; ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้. นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก). [ตอนนิทเทส] --ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค) อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา). --ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). --คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์” ดังนี้, คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว. --ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน” ดังนี้ --นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. .... --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ; ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) . อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 --- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.) --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ), นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม), มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง)​. --ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้ เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย : +--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา). --ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์... ....ฯลฯ.... +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา). --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ; ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ; ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ : +--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.- (อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้ แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน. ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597. http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗. http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
    -อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย) [ตอนอุทเทส] บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และการกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน), ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น. ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข, ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน. ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ; ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ; ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้. นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ (การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก). [ตอนนิทเทส] ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค) อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา). ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา). คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า “บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์” ดังนี้, คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว. ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า “ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน” ดังนี้นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. .... ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใด. อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ; ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) . อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕. อีกนัยหนึ่ง (ตามบาลี ติก.อํ.) ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ), นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม), มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า “โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้ เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย : นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา). ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์......ฯลฯ.... (รายละเอียดต่อไปจากนี้ มีอีกมาก ดูจากข้อความในหนังสือพุทธประวัติจากพระโอษฐ์ ที่หัวข้อว่า “ทรงประพฤติอัตตกิลมถานุโยค” ที่หน้า ๕๖-๕๘ จนถึงคำว่า ....... เราประกอบตามซึ่งความเพียรในการลงสู่แม่น้ำเวลาเย็นเป็นครั้งที่สามบ้าง, เราประกอบตามซึ่งความเพียรในการทำ (กิเลสในกายให้เหือดแห้ง ด้วยวิธีต่างๆ เช่นนี้ ด้วยอาการนี้อยู่). ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา). ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ : นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 169 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 676
    ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    เนื้อความทั้งหมด :-
    หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง
    ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ
    ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค
    อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน
    ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ
    ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค

    #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
    สองอย่างนี้แล.

    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง
    ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ
    ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ
    สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง),
    สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง)
    สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง),
    สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง)
    สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 676 ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 เนื้อความทั้งหมด :- หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค --ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ ๑.การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=กามสุขลฺลิกานุโยโค อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และ ๒.การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อตฺตกิลมถานุโยโค #อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง), สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง), สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/416/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/416/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=676 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=676 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค
    -หมวด ข. ว่าด้วย อันตะ ๒ จากมรรค ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (อัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่ง (อนฺตา) อยู่ ๒ อย่าง ที่ บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย. สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้นคืออะไร ? คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์, และการประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ ประกอบด้วยประโยชน์, สองอย่างนี้แล. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ พร้อม เพื่อนิพพาน. ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ไม่ดิ่งไปหาที่สุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี่เอง. แปดประการคืออะไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) สัมมาสังกัปปะ (ความดำริที่ถูกต้อง) สัมมาวาจา (การพูดจาที่ถูกต้อง) สัมมากัมมันตะ (การทำงานที่ถูกต้อง) สัมมาอาชีวะ (การดำรงชีพที่ถูกต้อง) สัมมาวายามะ (ความพากเพียรที่ถูกต้อง) สัมมาสติ (ความระลึกที่ถูกต้อง) สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจมั่นคงที่ถูกต้อง). ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 211 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 675
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง,
    องค์แปดคือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ,
    วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ,
    ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความรู้ ในทุกข์
    ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์
    ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความดำริในการออกจากกาม
    ความดำริในการ ไม่พยาบาท
    ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการ พูดเท็จ
    การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน
    การเว้นจากการ พูดหยาบ
    การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการฆ่าสัตว์
    การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ.
    [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป.
    แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา
    เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต.
    (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ]​
    --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น
    ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ.
    --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท.,
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.
    เพราะวิตกวิจารรำงับลง,
    เธอเข้าถึง ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่.
    เพราะปิติจางหายไป,
    เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า
    “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่.
    เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่
    อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 675 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 เนื้อความทั้งหมด :- --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ, วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ, ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการ พูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ; http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ]​ --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะวิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299. http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ๑ , นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อม ๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์ ก็มี ; เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). ประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุ ท. ! ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะ วิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 198 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 654
    ชื่อบทธรรม :- ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=654
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น
    --ภิกษุ ท. !
    +--ปีติ ที่ประกอบด้วยอามิส (สามิส) ก็มี
    ปีติที่ไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิส) ก็มี
    ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิสตร) ก็มี.
    +--ความสุข ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    ความสุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิสก็มี
    ความสุขไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี.
    +--อุเบกขา ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี.
    +--วิโมกข์ ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี
    วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี.

    +--ภิกษุ ท. ! ปีติที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า?
    +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่, ห้าอย่างคือ
    รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ....
    เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ ....
    กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ ....
    รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา ....
    โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย
    อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
    เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด
    : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง.
    +--ภิกษุ ท. ! ปีติใดอาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น,
    ปีตินี้เรียกว่า #ปีติประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=ปีติ+สามิส

    --ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ได้ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย เข้าถึง
    &ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่;
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง
    &ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจ ในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจาก สมาธิ แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! ปีตินี้เรียกว่า #ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=ปีติ+นิรามิส

    --ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิต
    ที่หลุดพ้นจากราคะ
    จิตที่หลุดพ้นจากโทสะ
    จิตที่หลุดพ้นจากโมหะอยู่ ;
    ปีติใดเกิดขึ้น,
    +--ภิกษุ ท. ! ปีตินั้นเรียกว่า #ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=ปีติ+นิรามิสตร

    --ภิกษุ ท. ! สุขที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ
    รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ....
    เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ ....
    กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .....
    รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา ....
    โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ
    มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด
    : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง.
    +--ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น,
    สุขนี้เรียกว่า #สุขประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+อามิส

    --ภิกษุ ท. ! สุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลายเข้าถึง
    &ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่;
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง
    &ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ;
    อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้ อยู่อุเบกขา
    มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย
    ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้, เข้าถึง
    &ตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! สุขนี้เรียกว่า #สุขไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+นิรามิส

    --ภิกษุ ท.! สุขไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิสเป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณา
    จิต ที่พ้นแล้วจากราคะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ;
    สุขโสมนัสใดเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัสนั้นเรียกว่า #สุขไม่กอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส
    http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+นิรามิสตร

    --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ
    รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ....
    เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ ....
    กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ ....
    รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา ....
    โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย
    อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
    เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด
    : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง.
    +--ภิกษุ ท. ! อุเบกขาใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น,
    อุเบกขานี้เรียกว่า #อุเบกขาประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+อามิส

    --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน, เข้าถึง
    &จตุตถฌานไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา
    แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อุเบกขานี้เรียกว่า #อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+นิรามิส

    --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณา
    จิตที่พ้นแล้วจากราคะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ;
    อุเบกขาใดเกิดขึ้น,
    อุเบกขานั้นเรียกว่า #อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+นิรามิสตร

    --ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในรูป เรียกว่า #วิโมกข์ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+อามิส
    +--ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในอรูป เรียกว่า #วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+นิรามิส
    --ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส ทิ่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุขีณาสพ พิจารณา
    จิตที่พ้นแล้วจากราคะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ
    จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ;
    วิโมกข์ใดเกิดขึ้น,
    วิโมกข์นั้น เรียกว่า #วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส
    http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+นิรามิสตร
    แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/248-251/446-457.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๙๒-๒๙๕/๔๔๖-๔๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94%E0%B9%96
    ถึง
    http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=654
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=654
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45
    ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น สัทธรรมลำดับที่ : 654 ชื่อบทธรรม :- ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=654 เนื้อความทั้งหมด :- --ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น --ภิกษุ ท. ! +--ปีติ ที่ประกอบด้วยอามิส (สามิส) ก็มี ปีติที่ไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิส) ก็มี ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิสตร) ก็มี. +--ความสุข ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี ความสุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิสก็มี ความสุขไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. +--อุเบกขา ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. +--วิโมกข์ ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. +--ภิกษุ ท. ! ปีติที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า? +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่, ห้าอย่างคือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. +--ภิกษุ ท. ! ปีติใดอาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, ปีตินี้เรียกว่า #ปีติประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=ปีติ+สามิส --ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ได้ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย เข้าถึง &ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจ ในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจาก สมาธิ แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! ปีตินี้เรียกว่า #ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=ปีติ+นิรามิส --ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิต ที่หลุดพ้นจากราคะ จิตที่หลุดพ้นจากโทสะ จิตที่หลุดพ้นจากโมหะอยู่ ; ปีติใดเกิดขึ้น, +--ภิกษุ ท. ! ปีตินั้นเรียกว่า #ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=ปีติ+นิรามิสตร --ภิกษุ ท. ! สุขที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ ..... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. +--ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, สุขนี้เรียกว่า #สุขประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+อามิส --ภิกษุ ท. ! สุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลายเข้าถึง &ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้ อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้, เข้าถึง &ตติยฌาน แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! สุขนี้เรียกว่า #สุขไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+นิรามิส --ภิกษุ ท.! สุขไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิสเป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณา จิต ที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; สุขโสมนัสใดเกิดขึ้น, สุขโสมนัสนั้นเรียกว่า #สุขไม่กอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส http://etipitaka.com/read/pali/18/293/?keywords=สุข+นิรามิสตร --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. +--ภิกษุ ท. ! อุเบกขาใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, อุเบกขานี้เรียกว่า #อุเบกขาประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+อามิส --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน, เข้าถึง &จตุตถฌานไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อุเบกขานี้เรียกว่า #อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+นิรามิส --ภิกษุ ท. ! อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณา จิตที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; อุเบกขาใดเกิดขึ้น, อุเบกขานั้นเรียกว่า #อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=อุเบกฺขา+นิรามิสตร --ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในรูป เรียกว่า #วิโมกข์ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+อามิส +--ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในอรูป เรียกว่า #วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส. http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+นิรามิส --ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส ทิ่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุขีณาสพ พิจารณา จิตที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; วิโมกข์ใดเกิดขึ้น, วิโมกข์นั้น เรียกว่า #วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส http://etipitaka.com/read/pali/18/294/?keywords=วิโมก+นิรามิสตร แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/248-251/446-457. http://etipitaka.com/read/thai/18/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๙๒-๒๙๕/๔๔๖-๔๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94%E0%B9%96 ถึง http://etipitaka.com/read/pali/18/292/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=654 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=654 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45 ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น
    -ผลสูงต่ำแห่งการปฏิบัติ ตามที่อาจทำให้เกิดขึ้น ภิกษุ ท. ! ปีติ ที่ประกอบด้วยอามิส (สามิส) ก็มี ปีติที่ไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิส) ก็มี ปีติไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส (นิรามิสตร) ก็มี. ความสุข ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี ความสุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิสก็มี ความสุขไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. อุเบกขา ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. วิโมกข์ ที่ประกอบด้วยอามิส ก็มี วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิสที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส ก็มี. ภิกษุ ท. ! ปีติที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่, ห้าอย่างคือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ปีติใดอาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, ปีตินี้เรียกว่า ปีติประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ได้ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจ ในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ปีตินี้เรียกว่า ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิต ที่หลุดพ้นจากราคะ จิตที่หลุดพ้นจากโทสะ จิตที่หลุดพ้นจากโมหะอยู่ ; ปีติใดเกิดขึ้น, ปีตินั้นเรียกว่า ปีติไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! สุขที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ ..... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัสใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, สุขนี้เรียกว่า สุขประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! สุขที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย เข้าถึง ปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้ อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้, เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! สุขนี้เรียกว่า สุขไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท.! สุขไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิสเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิต ที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; สุขโสมนัสใดเกิดขึ้น, สุขโสมนัสนั้นเรียกว่า สุขไม่กอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! กามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่าง คือ รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ .... เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยโสตะ .... กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยฆานะ .... รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยชิวหา .... โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย อันเป็นสิ่งน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด : เหล่านี้แล คือกามคุณ ๕ อย่าง. ภิกษุ ท. ! อุเบกขาใด อาศัยกามคุณ ๕ อย่างเหล่านี้เกิดขึ้น, อุเบกขานี้เรียกว่า อุเบกขาประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! อุเบกขาที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน, เข้าถึง จตุตถฌานไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อุเบกขานี้เรียกว่า อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อ ภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิตที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; อุเบกขาใดเกิดขึ้น, อุเบกขานั้นเรียกว่า อุเบกขาไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในรูป เรียกว่า วิโมกข์ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ที่ไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? วิโมกข์ที่ประกอบเนื่องอยู่ในอรูป เรียกว่า วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส. ภิกษุ ท. ! วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส ทิ่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุขีณาสพ พิจารณาจิตที่พ้นแล้วจากราคะ จิตที่พ้นแล้วจากโทสะ จิตที่พ้นแล้วจากโมหะ อยู่ ; วิโมกข์ใดเกิดขึ้น, วิโมกข์นั้น เรียกว่า วิโมกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส ที่ยิ่งกว่าไม่ประกอบด้วยอามิส แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 314 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดว่ากามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือหรือเป็นดุจหัวงู
    สัทธรรมลำดับที่ : 271
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=271
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือ
    --เมื่อสัตว์ มีความใคร่ในกามอยู่,
    ถ้ากามนั้น สำเร็จแก่เขา คือเขาได้ตามปรารถนาแล้ว,
    เขา ย่อมมีปีติในใจ โดยแท้.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/484/?keywords=กาม
    +--เมื่อสัตว์ ผู้มีความพอใจ กำลังใคร่ในกามอยู่,
    ถ้ากามนั้น สูญหายไป, เขา ย่อมเดือดร้อน เหมือนถูกแทง ด้วยศร ฉะนั้น.
    +--ผู้ใด เว้นขาดจากกาม ด้วยความเห็น ว่า เป็นดุจหัวงู
    ผู้นั้นเป็นคนมีสติ ล่วงพ้นตัณหาอันส่ายไปในโลกเสียได้.
    +--ผู้ใด เข้าไปผูกใจอยู่ในที่นา ที่สวน เงิน โค ม้า ทาสชายและสตรี พวกพ้อง และ
    กามทั้งหลายอื่น ๆ เป็น อันมาก กิเลสมารย่อมครอบงำบุคคลผู้นั้นได้,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/484/?keywords=กาม
    อันตรายรอบด้าน ย่อมย่ำยีบุคคลผู้นั้น ;
    +--เพราะเหตุนั้น ความทุกข์ ย่อมติดตามเขา เหมือนน้ำไหลเข้าสู่เรืออันแตกแล้ว ฉะนั้น.
    --เพราะฉะนั้น บุคคล ควรเป็นผู้มีสติ ทุกเมื่อ,
    พึงเว้นขาดจากกาม,
    #ละกามแล้วพึงข้ามโอฆะเสียได้ดุจบุคคลอุดยาเรือดีแล้วก็พึงข้ามไปถึงฝั่งโน้น (นิพพาน) ได้
    ฉะนั้น แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต.ขุ. 25/360/408.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/360/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต.ขุ. ๒๕/๔๘๔/๔๐๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/484/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=271
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=271
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18
    ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดว่ากามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือหรือเป็นดุจหัวงู สัทธรรมลำดับที่ : 271 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=271 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือ --เมื่อสัตว์ มีความใคร่ในกามอยู่, ถ้ากามนั้น สำเร็จแก่เขา คือเขาได้ตามปรารถนาแล้ว, เขา ย่อมมีปีติในใจ โดยแท้. http://etipitaka.com/read/pali/25/484/?keywords=กาม +--เมื่อสัตว์ ผู้มีความพอใจ กำลังใคร่ในกามอยู่, ถ้ากามนั้น สูญหายไป, เขา ย่อมเดือดร้อน เหมือนถูกแทง ด้วยศร ฉะนั้น. +--ผู้ใด เว้นขาดจากกาม ด้วยความเห็น ว่า เป็นดุจหัวงู ผู้นั้นเป็นคนมีสติ ล่วงพ้นตัณหาอันส่ายไปในโลกเสียได้. +--ผู้ใด เข้าไปผูกใจอยู่ในที่นา ที่สวน เงิน โค ม้า ทาสชายและสตรี พวกพ้อง และ กามทั้งหลายอื่น ๆ เป็น อันมาก กิเลสมารย่อมครอบงำบุคคลผู้นั้นได้, http://etipitaka.com/read/pali/25/484/?keywords=กาม อันตรายรอบด้าน ย่อมย่ำยีบุคคลผู้นั้น ; +--เพราะเหตุนั้น ความทุกข์ ย่อมติดตามเขา เหมือนน้ำไหลเข้าสู่เรืออันแตกแล้ว ฉะนั้น. --เพราะฉะนั้น บุคคล ควรเป็นผู้มีสติ ทุกเมื่อ, พึงเว้นขาดจากกาม, #ละกามแล้วพึงข้ามโอฆะเสียได้ดุจบุคคลอุดยาเรือดีแล้วก็พึงข้ามไปถึงฝั่งโน้น (นิพพาน) ได้ ฉะนั้น แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต.ขุ. 25/360/408. http://etipitaka.com/read/thai/25/360/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต.ขุ. ๒๕/๔๘๔/๔๐๘. http://etipitaka.com/read/pali/25/484/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=271 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=271 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18 ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือ
    -กามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือ เมื่อสัตว์ มีความใคร่ในกามอยู่, ถ้ากามนั้น สำเร็จแก่เขา คือเขาได้ตามปรารถนาแล้ว, เขา ย่อมมีปีติในใจ โดยแท้. เมื่อสัตว์ ผู้มีความพอใจ กำลังใคร่ในกามอยู่, ถ้ากามนั้น สูญหายไป, เขา ย่อมเดือดร้อน เหมือนถูกแทง ด้วยศร ฉะนั้น. ผู้ใด เว้นขาดจากกาม ด้วยความเห็น ว่า เป็นดุจหัวงู ผู้นั้นเป็นคนมีสติ ล่วงพ้นตัณหาอันส่ายไปในโลกเสียได้. ผู้ใด เข้าไปผูกใจอยู่ในที่นา ที่สวน เงิน โค ม้า ทาสชายและสตรี พวกพ้อง และกามทั้งหลายอื่น ๆเป็น อันมาก กิเลสมารย่อมครอบงำบุคคลผู้นั้นได้, อันตรายรอบด้าน ย่อมย่ำยีบุคคลผู้นั้น ; เพราะเหตุนั้น ความทุกข์ ย่อมติดตามเขา เหมือนน้ำไหลเข้าสู่เรืออันแตกแล้ว ฉะนั้น. เพราะฉะนั้น บุคคล ควรเป็นผู้มีสติ ทุกเมื่อ, พึงเว้นขาดจากกาม, ละกามแล้ว พึงข้ามโอฆะเสียได้ ดุจบุคคลอุดยาเรือดีแล้ว ก็พึงข้ามไปถึงฝั่งโน้น (นิพพาน) ได้ ฉะนั้น แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 212 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาไวพจน์(คำแทนชื่อ)​ของกาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 270
    ชื่อบทธรรม : -ไวพจน์ของกาม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=270
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ไวพจน์ของกาม
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ภัย’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ทุกข์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘โรค’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘หัวฝี’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ลูกศร’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เครื่องข้อง’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เปือกตม’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ครรภ์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากภัย
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม (ปัจจุบันนี้) และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วย กามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากโรค
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากหัวฝี
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากลูกศร
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากเครื่องข้อง
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากเปือกตม
    ทั้งที่เป็นไปทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร
    คำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว
    ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ
    #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากครรภ์
    ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า,
    เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย,
    ดังนี้.
    ภัย ทุกข์ โรค หัวฝี ลูกศร ความข้อง เปือกตม และ การอยู่ในครรภ์
    นี้เรียกว่า กามที่ปุถุชนข้องอยู่แล้ว
    อันกามสุขครอบงำแล้ว #ย่อมไปเพื่อกำเนิดอีก ก็เพราะ
    ภิกษุมีความเพียร ยินดีด้วยสัมปชัญญะ (สมฺปชญฺญํ)​
    http://etipitaka.com/read/pali/23/299/?keywords=สมฺปชญฺญํ
    ภิกษุเห็นปานนี้นั้น ก้าวล่วงทางหมุนเวียนที่ข้ามได้ยากนี้ได้แล้ว
    ย่อมพิจารณา เห็นหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงชาติและชรา ดิ้นรนอยู่
    ดังนี้แล.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/227/146.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/227/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๒๙๘/๑๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/298/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=270
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=270
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18
    ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาไวพจน์(คำแทนชื่อ)​ของกาม สัทธรรมลำดับที่ : 270 ชื่อบทธรรม : -ไวพจน์ของกาม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=270 เนื้อความทั้งหมด :- --ไวพจน์ของกาม --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ภัย’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ทุกข์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘โรค’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘หัวฝี’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ลูกศร’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เครื่องข้อง’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เปือกตม’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ครรภ์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากภัย ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม (ปัจจุบันนี้) และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์ ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วย กามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากโรค ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากหัวฝี ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากลูกศร ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากเครื่องข้อง ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย ? --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากเปือกตม ทั้งที่เป็นไปทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ #ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากครรภ์ ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย, ดังนี้. ภัย ทุกข์ โรค หัวฝี ลูกศร ความข้อง เปือกตม และ การอยู่ในครรภ์ นี้เรียกว่า กามที่ปุถุชนข้องอยู่แล้ว อันกามสุขครอบงำแล้ว #ย่อมไปเพื่อกำเนิดอีก ก็เพราะ ภิกษุมีความเพียร ยินดีด้วยสัมปชัญญะ (สมฺปชญฺญํ)​ http://etipitaka.com/read/pali/23/299/?keywords=สมฺปชญฺญํ ภิกษุเห็นปานนี้นั้น ก้าวล่วงทางหมุนเวียนที่ข้ามได้ยากนี้ได้แล้ว ย่อมพิจารณา เห็นหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงชาติและชรา ดิ้นรนอยู่ ดังนี้แล. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/227/146. http://etipitaka.com/read/thai/23/227/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๒๙๘/๑๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/23/298/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=270 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=270 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18 ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไวพจน์ของกาม
    -ไวพจน์ของกาม ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ภัย’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ทุกข์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘โรค’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘หัวฝี’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ลูกศร’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เครื่องข้อง’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘เปือกตม’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! คำว่า ‘ครรภ์’ ดังนี้นั้น เป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกาม ทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากภัย ทั้งที่ เป็นไปในทิฏฐธรรม (ปัจจุบันนี้) และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ภัย’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกามทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากทุกข์ ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ทุกข์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกาม ทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วย กามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากโรค ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘โรค’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกาม ทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วย กามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากหัวฝี ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘หัวฝี’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นแทนชื่อของกาม ทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกาม ราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากลูกศร ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘ลูกศร’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกามทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้วด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากเครื่องข้อง ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เครื่องข้อง’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกามทั้งหลาย ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้วด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากเปือกตม ทั้งที่เป็นไปทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้น คำว่า ‘เปือกตม’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุไร คำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของกามทั้งหลายเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุว่า สัตว์นี้ เป็นผู้กำหนัดแล้ว ด้วยกามราคะ ถูกผูกพันแล้ว ด้วยฉันทราคะ ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้ จากครรภ์ ทั้งที่เป็นไปในทิฏฐธรรม(ปัจจุบัน)นี้ และที่เป็นไปในกาลอนาคตเบื้องหน้า, เพราะฉะนั้นคำว่า ‘ครรภ์’ จึงเป็นคำแทนชื่อของ กามทั้งหลาย, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 311 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้
    สัทธรรมลำดับที่ : 268
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=268
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนป่าใหญ่ ตั้งอยู่ไม่ไกลหมู่บ้านหรือนิคมนัก.
    ในป่าใหญ่นั้น มีต้นไม้ ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย,
    ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย.
    ครั้งนั้น
    -มีบุรุษผู้หนึ่งผ่านมา เป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อยู่,
    เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้ว พบต้นไม้ต้นนั้นแล้วคิดว่า
    “ต้นไม้นี้มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย
    และเราก็รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้อยู่,
    ถ้าไฉน เราขึ้นสู่ต้นไม้นี้แล้ว จะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย
    จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย”
    ดังนี้แล้ว
    เขาก็ขึ้นสู่ต้นไม้นั้น เก็บกินตามความพอใจด้วย ห่อจนเต็มห่อด้วย.
    ในลำดับนั้นเอง
    -บุรุษคนที่สอง ซึ่งเป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อย่างเดียวกัน
    ถือขวานคมผ่านมาที่นั้น,
    เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้วก็พบต้นไม้ต้นเดียวนั้น ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย,
    เขาจึง คิดว่า
    “ต้นไม้นี้ มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย
    และเราก็ไม่รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้,
    ถ้าไฉน เราจะโค่นมันที่โคน แล้วจะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย
    จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย”
    ดังนี้แล้ว เขาจึงโค่นต้นไม้นั้นที่โคน.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    บุรุษผู้ขึ้นอยู่บนต้นไม้คนแรก,
    ถ้าเขาไม่รีบลงมาโดยเร็วไซร้,
    เมื่อต้นไม้นั้นล้มลง,
    เขาก็จะต้องมือหักบ้าง เท้าหักบ้าง
    หรืออวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งหักบ้าง โดยแท้.
    บุรุษผู้นั้น ก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย
    เพราะข้อนั้น เป็นเหตุ มิใช่หรือ ?
    --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ
    สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    #มีอุปมาด้วยผลไม้ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/45/?keywords=รุกฺขผลูปมา+กามา
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง”
    ดังนี้,
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า),
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว
    (เช่นเจริญอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ อุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก
    โดยประการทั้งปวง แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/39/53.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/39/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๔/๕๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/44/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=268
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=268
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18
    ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้ สัทธรรมลำดับที่ : 268 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=268 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้ --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนป่าใหญ่ ตั้งอยู่ไม่ไกลหมู่บ้านหรือนิคมนัก. ในป่าใหญ่นั้น มีต้นไม้ ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย, ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย. ครั้งนั้น -มีบุรุษผู้หนึ่งผ่านมา เป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อยู่, เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้ว พบต้นไม้ต้นนั้นแล้วคิดว่า “ต้นไม้นี้มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย และเราก็รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้อยู่, ถ้าไฉน เราขึ้นสู่ต้นไม้นี้แล้ว จะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย” ดังนี้แล้ว เขาก็ขึ้นสู่ต้นไม้นั้น เก็บกินตามความพอใจด้วย ห่อจนเต็มห่อด้วย. ในลำดับนั้นเอง -บุรุษคนที่สอง ซึ่งเป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อย่างเดียวกัน ถือขวานคมผ่านมาที่นั้น, เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้วก็พบต้นไม้ต้นเดียวนั้น ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย, เขาจึง คิดว่า “ต้นไม้นี้ มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย และเราก็ไม่รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้, ถ้าไฉน เราจะโค่นมันที่โคน แล้วจะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย” ดังนี้แล้ว เขาจึงโค่นต้นไม้นั้นที่โคน. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? บุรุษผู้ขึ้นอยู่บนต้นไม้คนแรก, ถ้าเขาไม่รีบลงมาโดยเร็วไซร้, เมื่อต้นไม้นั้นล้มลง, เขาก็จะต้องมือหักบ้าง เท้าหักบ้าง หรืออวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งหักบ้าง โดยแท้. บุรุษผู้นั้น ก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้น เป็นเหตุ มิใช่หรือ ? --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า #มีอุปมาด้วยผลไม้ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/45/?keywords=รุกฺขผลูปมา+กามา ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นเจริญอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ อุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวง แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/39/53. http://etipitaka.com/read/thai/13/39/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๔/๕๓. http://etipitaka.com/read/pali/13/44/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=268 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18&id=268 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=18 ลำดับสาธยายธรรม : 18 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_18.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยผลไม้
    -กามเปรียบด้วยผลไม้ คฤหบดี ! เปรียบเหมือนป่าใหญ่ ตั้งอยู่ไม่ไกลหมู่บ้านหรือนิคมนัก. ในป่าใหญ่นั้น มีต้นไม้ ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย, ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย. ครั้งนั้น มีบุรุษผู้หนึ่งผ่านมา เป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยว แสวงหาผลไม้อยู่, เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้ว พบต้นไม้ต้นนั้นแล้วคิดว่า “ต้นไม้นี้มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย และเราก็รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้อยู่, ถ้าไฉน เราขึ้นสู่ต้นไม้นี้แล้ว จะพึงกินผลไม้ตามความพอใจ ด้วย จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย” ดังนี้แล้ว เขาก็ขึ้นสู่ต้นไม้นั้น เก็บกินตามความพอใจด้วย ห่อจนเต็มห่อด้วย. ในลำดับนั้นเอง บุรุษคนที่สอง ซึ่งเป็นผู้ต้องการด้วยผลไม้ เที่ยวแสวงหาผลไม้อย่างเดียวกัน ถือขวานคมผ่านมาที่นั้น, เขาเข้าไปยังป่านั้นแล้วก็พบต้นไม้ต้นเดียวนั้น ซึ่งมีผลน่ากินด้วย ดกด้วย, เขาจึง คิดว่า “ต้นไม้นี้ มีผลน่ากินด้วย ดกด้วย ส่วนผลที่หล่นอยู่ตามพื้นดินไม่มีเลย และเราก็ไม่รู้จักวิธีขึ้นต้นไม้, ถ้าไฉน เราจะโค่นมันที่โคน แล้วจะพึงกินผลไม้ตามความพอใจด้วย จะพึงยังห่อให้เต็มด้วย” ดังนี้แล้ว เขาจึงโค่นต้นไม้นั้นที่โคน. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? บุรุษผู้ขึ้นอยู่บนต้นไม้คนแรก, ถ้าเขาไม่รีบลงมาโดยเร็วไซร้, เมื่อต้นไม้นั้นล้มลง, เขาก็จะต้องมือหักบ้าง เท้าหักบ้าง หรืออวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งหักบ้าง โดยแท้. บุรุษผู้นั้น ก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้น เป็นเหตุ มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยผลไม้ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นเจริญอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ อุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวง แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 269 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่ากามเปรียบด้วยของในความฝันหรือกามเปรียบด้วยของยืม
    สัทธรรมลำดับที่ : 266
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยของในความฝัน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=266
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยของในความฝัน
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ฝันเห็น
    สวน อันรื่นรมย์ใจบ้าง
    ป่าไม้ อันรื่นรมย์ใจบ้าง
    ภูมิภาค อันรื่นรมย์ใจบ้าง หรือ
    สระโบกขรณี อันรื่นรมย์ใจบ้าง,
    ครั้นบุรุษนั้นตื่นขึ้นมา ก็ไม่ได้พบเห็นอะไรเลย.
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    มีอุปมาด้วยของในความฝัน เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=สุปินกูปมา+กามา
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้.
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (#กามคุณห้า)
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นสิ่งที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก
    โดยประการทั้งปวงแล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/38/51.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/38/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=266
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=266

    สัทธรรมลำดับที่ : 267
    ชื่อบทธรรม : -กามเปรียบด้วยของยืม
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยของยืม
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ขอยืมทรัพย์จากผู้อื่นได้แล้ว
    เอาลงใส่เกวียนน้อย มีตุ้มหูแก้วมณีอันล้ำค่า เป็นต้น.
    บุรุษผู้นั้น วางของยืม เหล่านั้นไว้ข้างหน้าตัวบ้าง รอบ ๆ ตัวบ้าง ขับผ่านไปตามหมู่ชาวร้าน.
    หมู่ชน เห็นบุรุษผู้นั้นแล้ว ก็จะพึงกล่าวกันแซ่ว่า
    “ท่านผู้เจริญทั้งหลายเอ๋ย
    ! บุรุษผู้นี้ร่ำรวยจริงหนอ
    ! ดูซิ, พวกคนรวย เขาใช้สอยโภคะกันอย่างนี้เอง”
    ดังนี้,
    ครั้นเจ้าของทรัพย์ พบบุรุษ ซึ่งทำอยู่ดังนั้น
    ในที่ใด ๆ เขาก็จะทวงเอาทรัพย์ของเขาคืนไปเสีย ณ ที่นั้น ๆ นั่นเอง.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    คือควรจะทำอย่างอื่นแก่บุรุษนั้นไหมหนอ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ?
    “เพราะเหตุว่า ธรรมดาเจ้าของทรัพย์ ก็ต้องทวงเอาทรัพย์ของเขาคืนไป”
    ดังนี้.

    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    มีอุปมาด้วยของยืม เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/44/?keywords=ยาจิตกูปมา+กามา
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง”
    ดังนี้,
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้ว
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง
    มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ ต่าง ๆ (#กามคุณห้า),
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก
    โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/38/52.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/38/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=267
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=267
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่ากามเปรียบด้วยของในความฝันหรือกามเปรียบด้วยของยืม สัทธรรมลำดับที่ : 266 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยของในความฝัน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=266 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยของในความฝัน --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ฝันเห็น สวน อันรื่นรมย์ใจบ้าง ป่าไม้ อันรื่นรมย์ใจบ้าง ภูมิภาค อันรื่นรมย์ใจบ้าง หรือ สระโบกขรณี อันรื่นรมย์ใจบ้าง, ครั้นบุรุษนั้นตื่นขึ้นมา ก็ไม่ได้พบเห็นอะไรเลย. --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยของในความฝัน เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=สุปินกูปมา+กามา ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้. ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (#กามคุณห้า) แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นสิ่งที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/38/51. http://etipitaka.com/read/thai/13/38/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=266 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=266 สัทธรรมลำดับที่ : 267 ชื่อบทธรรม : -กามเปรียบด้วยของยืม เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยของยืม --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ขอยืมทรัพย์จากผู้อื่นได้แล้ว เอาลงใส่เกวียนน้อย มีตุ้มหูแก้วมณีอันล้ำค่า เป็นต้น. บุรุษผู้นั้น วางของยืม เหล่านั้นไว้ข้างหน้าตัวบ้าง รอบ ๆ ตัวบ้าง ขับผ่านไปตามหมู่ชาวร้าน. หมู่ชน เห็นบุรุษผู้นั้นแล้ว ก็จะพึงกล่าวกันแซ่ว่า “ท่านผู้เจริญทั้งหลายเอ๋ย ! บุรุษผู้นี้ร่ำรวยจริงหนอ ! ดูซิ, พวกคนรวย เขาใช้สอยโภคะกันอย่างนี้เอง” ดังนี้, ครั้นเจ้าของทรัพย์ พบบุรุษ ซึ่งทำอยู่ดังนั้น ในที่ใด ๆ เขาก็จะทวงเอาทรัพย์ของเขาคืนไปเสีย ณ ที่นั้น ๆ นั่นเอง. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? คือควรจะทำอย่างอื่นแก่บุรุษนั้นไหมหนอ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ? “เพราะเหตุว่า ธรรมดาเจ้าของทรัพย์ ก็ต้องทวงเอาทรัพย์ของเขาคืนไป” ดังนี้. --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยของยืม เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/44/?keywords=ยาจิตกูปมา+กามา ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ ต่าง ๆ (#กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/38/52. http://etipitaka.com/read/thai/13/38/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=267 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=267 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยของในความฝัน
    -กามเปรียบด้วยของในความฝัน คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ฝันเห็น สวน อันรื่นรมย์ใจบ้าง ป่าไม้อันรื่นรมย์ใจบ้าง ภูมิภาค อันรื่นรมย์ใจบ้าง หรือสระโบกขรณี อันรื่นรมย์ใจบ้าง, ครั้นบุรุษนั้นตื่นขึ้นมา ก็ไม่ได้พบเห็นอะไรเลย. คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยของในความฝัน เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้. ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า) แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นสิ่งที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 255 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง
    สัทธรรมลำดับที่ : 265
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=265
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง ลึกชั่วบุรุษหนึ่ง
    เต็มด้วยถ่านเพลิง ที่ปราศจากเปลวและปราศจากควัน.
    ครั้งนั้น บุรุษผู้หนึ่ง ผู้ต้องการเป็นอยู่ ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ มาสู่ที่นั้น.
    และมีบุรุษ ที่มีกำลังกล้าแข็งอีกสองคน จับบุรุษนั้น ที่แขนแต่ละข้าง
    แล้วฉุดคร่าพาไปยังหลุมถ่านเพลิง.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    บุรุษนั้น จะไม่บิด ตัวดิ้นไปทางโน้นที ทางนี้ที บ้างแลหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ?
    “เพราะเหตุว่า บุรุษนั้น รู้อยู่ว่าถ้าเราจะตกลงไปสู่หลุมถ่านเพลิงนี้ไซร้,
    เราก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะข้อนั้นเป็นเหตุ พระเจ้าข้า !”
    ดังนี้.
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ
    สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    #มีอุปมาด้วยหลุมถ่านเพลิง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=สุขกาโม
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้.
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า)
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วน เหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/37/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/37/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=265
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=265
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง สัทธรรมลำดับที่ : 265 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=265 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง ลึกชั่วบุรุษหนึ่ง เต็มด้วยถ่านเพลิง ที่ปราศจากเปลวและปราศจากควัน. ครั้งนั้น บุรุษผู้หนึ่ง ผู้ต้องการเป็นอยู่ ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ มาสู่ที่นั้น. และมีบุรุษ ที่มีกำลังกล้าแข็งอีกสองคน จับบุรุษนั้น ที่แขนแต่ละข้าง แล้วฉุดคร่าพาไปยังหลุมถ่านเพลิง. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? บุรุษนั้น จะไม่บิด ตัวดิ้นไปทางโน้นที ทางนี้ที บ้างแลหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ? “เพราะเหตุว่า บุรุษนั้น รู้อยู่ว่าถ้าเราจะตกลงไปสู่หลุมถ่านเพลิงนี้ไซร้, เราก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะข้อนั้นเป็นเหตุ พระเจ้าข้า !” ดังนี้. --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า #มีอุปมาด้วยหลุมถ่านเพลิง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=สุขกาโม ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้. ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า) แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วน เหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/37/50. http://etipitaka.com/read/thai/13/37/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๓/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/13/43/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=265 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=265 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง
    -กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง คฤหบดี ! เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง ลึกชั่วบุรุษหนึ่ง เต็มด้วยถ่านเพลิง ที่ปราศจากเปลวและปราศจากควัน. ครั้งนั้น บุรุษผู้หนึ่ง ผู้ต้องการเป็นอยู่ ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ มาสู่ที่นั้น. และมีบุรุษ ที่มีกำลังกล้าแข็งอีกสองคน จับบุรุษนั้น ที่แขนแต่ละข้าง แล้วฉุดคร่าพาไปยังหลุมถ่านเพลิง. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? บุรุษนั้น จะไม่บิด ตัวดิ้นไปทางโน้นที ทางนี้ที บ้างแลหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไร ? “เพราะเหตุว่า บุรุษนั้น รู้อยู่ว่าถ้าเราจะตกลงไปสู่หลุมถ่านเพลิงนี้ไซร้, เราก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะข้อนั้นเป็นเหตุ พระเจ้าข้า !” ดังนี้. คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยหลุมถ่านเพลิง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้. ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า) แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วน เหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 282 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่ากามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม
    สัทธรรมลำดับที่ : 264
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=264
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง
    ถือเอาคบหญ้าแห้ง ที่ติดไฟ(อาทิตฺตํ)​โพลงอยู่ พาทวนลมไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=อาทิตฺตํ
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    ถ้าบุรุษผู้นั้น ไม่รีบทิ้งคบหญ้าแห้งนั้นเสียโดยเร็วไซร้,
    คบไฟนั้น ก็จะพึงลามไหม้มือ ไหม้แขน
    หรือไหม้อวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งของบุรุษนั้น,
    เขาก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย
    เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ?
    --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”

    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า
    มีอุปมาด้วยคบหญ้าแห้ง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้,
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ(ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย)​ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า),
    แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/37/49.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/37/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๒/๔๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=264
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=264
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่ากามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม สัทธรรมลำดับที่ : 264 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=264 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ถือเอาคบหญ้าแห้ง ที่ติดไฟ(อาทิตฺตํ)​โพลงอยู่ พาทวนลมไป. http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=อาทิตฺตํ --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? ถ้าบุรุษผู้นั้น ไม่รีบทิ้งคบหญ้าแห้งนั้นเสียโดยเร็วไซร้, คบไฟนั้น ก็จะพึงลามไหม้มือ ไหม้แขน หรือไหม้อวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งของบุรุษนั้น, เขาก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ? --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยคบหญ้าแห้ง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ(ยถาภูตํ สมฺมปฺปญฺญาย)​ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/37/49. http://etipitaka.com/read/thai/13/37/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๒/๔๙. http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=264 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=264 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม
    -กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม คฤหบดี ! เปรียบเหมือนบุรุษผู้หนึ่ง ถือเอาคบหญ้าแห้ง ที่ติดไฟโพลงอยู่ พาทวนลมไป. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? ถ้าบุรุษผู้นั้น ไม่รีบทิ้งคบหญ้าแห้งนั้นเสียโดยเร็วไซร้, คบไฟนั้น ก็จะพึงลามไหม้มือ ไหม้แขน หรือไหม้อวัยวะน้อยใหญ่ส่วนใดส่วนหนึ่งของบุรุษนั้น, เขาก็จะถึงซึ่งความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า มีอุปมาด้วยคบหญ้าแห้ง เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ ของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 241 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่ากามทั้งหลายเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก
    สัทธรรมลำดับที่ : 263
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=263
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนแร้ง หรือเหยี่ยว หรือนกตะกรุมก็ตาม ตัวหนึ่ง
    คาบชิ้นเนื้อพาบินไป.
    ฝูงแร้งบ้าง ฝูงเหยี่ยวบ้าง ฝูงนกตะกรุมบ้าง ตามโฉบ ตอมโฉบ นกตัวนั้น
    เพื่อให้ทิ้งชิ้นเนื้อนั้น ยังนกตัวนั้นให้ปล่อย ให้คาย.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    ถ้าแร้ง หรือ เหยี่ยว หรือนกตะกรุมนั้น ไม่รีบสลัดทิ้งชิ้นเนื้อนั้นเสียไซร้,
    มันก็จะถึงซึ่ง ความตายหรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ?
    --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า
    #มีอุปมาด้วยชิ้นเนื้อ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=กาม+พหุทุกฺขา
    ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้,

    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว
    ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ
    (กามคุณห้า),
    แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว
    (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทาน
    อันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/36/48.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/36/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๑/๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=263
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=263
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่ากามทั้งหลายเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก สัทธรรมลำดับที่ : 263 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=263 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนแร้ง หรือเหยี่ยว หรือนกตะกรุมก็ตาม ตัวหนึ่ง คาบชิ้นเนื้อพาบินไป. ฝูงแร้งบ้าง ฝูงเหยี่ยวบ้าง ฝูงนกตะกรุมบ้าง ตามโฉบ ตอมโฉบ นกตัวนั้น เพื่อให้ทิ้งชิ้นเนื้อนั้น ยังนกตัวนั้นให้ปล่อย ให้คาย. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? ถ้าแร้ง หรือ เหยี่ยว หรือนกตะกรุมนั้น ไม่รีบสลัดทิ้งชิ้นเนื้อนั้นเสียไซร้, มันก็จะถึงซึ่ง ความตายหรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ? --“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า #มีอุปมาด้วยชิ้นเนื้อ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/42/?keywords=กาม+พหุทุกฺขา ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของอุปาทาน อันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/36/48. http://etipitaka.com/read/thai/13/36/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๑/๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=263 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=263 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก
    -กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก คฤหบดี ! เปรียบเหมือนแร้ง หรือเหยี่ยว หรือนกตะกรุมก็ตาม ตัวหนึ่ง คาบชิ้นเนื้อพาบินไป. ฝูงแร้งบ้าง ฝูงเหยี่ยวบ้าง ฝูงนกตะกรุมบ้าง ตามโฉบ ตอมโฉบ นกตัวนั้น เพื่อให้ทิ้งชิ้นเนื้อนั้น ยังนกตัวนั้นให้ปล่อย ให้คาย. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? ถ้าแร้ง หรือ เหยี่ยว หรือนกตะกรุมนั้น ไม่รีบสลัดทิ้งชิ้นเนื้อนั้นเสียไซร้, มันก็จะถึงซึ่ง ความตายหรือได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะข้อนั้นเป็นเหตุ มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณา เห็นโดยประจักษ์ดังนี้ ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า มีอุปมาด้วยชิ้นเนื้อ เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้แล้ว ก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัย อารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์ อันเดียว (เช่นอุเบกขาที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วน เหลือของอุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 219 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่ากามเปรียบด้วยท่อนกระดูก
    สัทธรรมลำดับที่ : 262
    ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=262
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก
    --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนสุนัข ที่หมดกำลังเพราะหิวจัด
    จะพึงเข้าไปยืนชะเง้ออยู่ ในที่ที่ฆ่าโค.
    คนฆ่าโคหรือลูกมือของเขา ผู้เชี่ยวชาญ
    ก็จะพึง เอาท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว
    ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่ แม้แต่น้อยเดียว
    เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง โยนไปให้สุนัขตัวนั้นแทะ.
    --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ?
    สุนัขตัวนั้นแทะท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว
    ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว
    เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง นั้นอยู่,
    จะพึงบรรเทาความหมดกำลัง เพราะหิวจัด ได้ละหรือ ?
    --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    “เพราะว่าท่อนกระดูกที่ชำแหละเนื้อ ออกหมดแล้วนั้น
    ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว
    เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง เท่านั้น.
    สุนัขตัวนั้น ก็จะได้รับแต่ความเหนื่อยใจ และความแค้นใจโดยแท้ พระเจ้าข้า !”
    --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า
    ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า
    “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า
    มี #อุปมาด้วยท่อนกระดูก เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก
    http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=กาม+ทุกฺข
    ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง”
    ดังนี้,
    ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้
    แล้วก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ
    อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า),
    แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว
    (เช่นอุเบกขา ที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน)
    อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ-อุปาทาน อันมีอยู่ในเหยื่อโลก
    โดยประการทั้งปวงแล.-

    #ทุกขสมุท้ย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/36/47.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/36/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๑/๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=262
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=262
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่ากามเปรียบด้วยท่อนกระดูก สัทธรรมลำดับที่ : 262 ชื่อบทธรรม :- กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=262 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก --คฤหบดี ! เปรียบเหมือนสุนัข ที่หมดกำลังเพราะหิวจัด จะพึงเข้าไปยืนชะเง้ออยู่ ในที่ที่ฆ่าโค. คนฆ่าโคหรือลูกมือของเขา ผู้เชี่ยวชาญ ก็จะพึง เอาท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่ แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง โยนไปให้สุนัขตัวนั้นแทะ. --คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? สุนัขตัวนั้นแทะท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง นั้นอยู่, จะพึงบรรเทาความหมดกำลัง เพราะหิวจัด ได้ละหรือ ? --“หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? “เพราะว่าท่อนกระดูกที่ชำแหละเนื้อ ออกหมดแล้วนั้น ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง เท่านั้น. สุนัขตัวนั้น ก็จะได้รับแต่ความเหนื่อยใจ และความแค้นใจโดยแท้ พระเจ้าข้า !” --คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า มี #อุปมาด้วยท่อนกระดูก เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=กาม+ทุกฺข ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้วก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขา ที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ-อุปาทาน อันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.- #ทุกขสมุท้ย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/36/47. http://etipitaka.com/read/thai/13/36/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๔๑/๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/13/41/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=262 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=262 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก
    -กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก คฤหบดี ! เปรียบเหมือนสุนัข ที่หมดกำลังเพราะหิวจัด จะพึงเข้าไปยืนชะเง้ออยู่ ในที่ที่ฆ่าโค. คนฆ่าโคหรือลูกมือของเขา ผู้เชี่ยวชาญ ก็จะพึง เอาท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่ แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง โยนไปให้สุนัขตัวนั้นแทะ. คฤหบดี ! ท่านจะสำคัญความข้อนั้นว่าอย่างไร ? สุนัขตัวนั้นแทะท่อนกระดูก ที่ชำแหละเนื้อออกหมดแล้ว ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง นั้นอยู่, จะพึงบรรเทาความหมดกำลัง เพราะหิวจัด ได้ละหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? “เพราะว่าท่อนกระดูกที่ชำแหละเนื้อ ออกหมดแล้วนั้น ไม่มีส่วนที่ยังเป็นเยื่ออ่อนเหลืออยู่แม้แต่น้อยเดียว เพียงแต่เปื้อนเลือดอยู่บ้าง เท่านั้น. สุนัขตัวนั้น ก็จะได้รับแต่ความเหนื่อยใจ และความแค้นใจโดยแท้ พระเจ้าข้า !” คฤหบดี ! ด้วยเหตุนี้แหละ สาวกของพระอริยเจ้า ย่อมพิจารณาเห็น โดยประจักษ์ดังนี้ว่า “กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า มี อุปมาด้วยท่อนกระดูก เป็นสิ่งที่ให้เกิดทุกข์มาก ทำให้คับแค้นใจมาก และ มีโทษอย่างยิ่ง” ดังนี้, ครั้นเห็นกามนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ แล้วก็เว้นเสียโดยเด็ดขาด ซึ่งความเพ่ง มีประการต่าง ๆ อันอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ (กามคุณห้า), แล้วเจริญ ซึ่งความเพ่งอันเดียว อันอาศัยอารมณ์อันเดียว (เช่นอุเบกขา ที่เป็นองค์ของจตุตถฌาน) อันเป็นที่ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือของ อุปาทานอันมีอยู่ในเหยื่อโลก โดยประการทั้งปวงแล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 266 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาให้เห็นโทษของกามว่าความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 261
    ชื่อบทธรรม :- ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=261
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! อริฏฐภิกขุคันธวาธิปุพพะ กล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดราก ตนเองด้วย
    ประสพสิ่งมิใช่บุญเป็นอันมากด้วย
    เพราะตัวเองจับฉวยเอาผิด ใน ธรรมที่เราแสดงแล้วอย่างไร,
    แม้พวกเธอทั้งหลาย ก็เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้ว เหมือนอย่างอริฎฐภิกขุนั้นหรือ ?
    “หามิได้ พระเจ้าข้า !
    ธรรมเหล่าใด อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วโดยหลายแง่หลายมุม
    แก่พวกข้าพระองค์ทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ,
    ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง.
    กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก
    มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่
    ควรเปรียบเทียบด้วยท่อนแห่งกระดูก,
    ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ,
    ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า,
    ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง,
    ควรเปรียบด้วยความฝัน,
    ควรเปรียบด้วยของยืม,
    ควรเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้,
    ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ,
    ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว,
    และควรเปรียบด้วยหัวงู,
    ดังนี้”
    --ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว, ที่พวกเธอทั้งหลาย เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้วอย่างนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใด ที่เรากล่าวแล้ว โดยหลายแง่หลายมุม
    แก่พวกเธอทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ
    ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง.
    กามทั้งหลาย เรากล่าวแล้ว ว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก
    มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่
    ควรเปรียบด้วยท่อนแห่งกระดูก,
    ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ,
    ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า,
    ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง,
    ควรเปรียบด้วยของในความฝัน,
    ควรเปรียบด้วยของยืม,
    ควรเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้,
    ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ,
    ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว,
    และควรเปรียบด้วยหัวงู
    ฉะนั้น.
    ก็แต่ว่า อริฎฐภิกขุคันธวาธิปุพพะนี้ เพราะตัวเอง ถือเอาธรรมที่เราแสดงแล้วผิด
    จึงกล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดรากตนเองด้วย และประสพสิ่งมิใช่บุญ เป็นอันมากด้วย,
    ข้อนั้น #จักเป็นไปเพื่อความทุกข์ อันมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน
    แก่โมฆบุรุษนั้นแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/184/276.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/184/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๖๔/๒๗๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/264/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=261
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=261
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาให้เห็นโทษของกามว่าความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 261 ชื่อบทธรรม :- ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=261 เนื้อความทั้งหมด :- --ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์ --ภิกษุ ท. ! อริฏฐภิกขุคันธวาธิปุพพะ กล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดราก ตนเองด้วย ประสพสิ่งมิใช่บุญเป็นอันมากด้วย เพราะตัวเองจับฉวยเอาผิด ใน ธรรมที่เราแสดงแล้วอย่างไร, แม้พวกเธอทั้งหลาย ก็เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้ว เหมือนอย่างอริฎฐภิกขุนั้นหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า ! ธรรมเหล่าใด อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วโดยหลายแง่หลายมุม แก่พวกข้าพระองค์ทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ, ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง. กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่ ควรเปรียบเทียบด้วยท่อนแห่งกระดูก, ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ, ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า, ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง, ควรเปรียบด้วยความฝัน, ควรเปรียบด้วยของยืม, ควรเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้, ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ, ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว, และควรเปรียบด้วยหัวงู, ดังนี้” --ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว, ที่พวกเธอทั้งหลาย เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้วอย่างนั้น. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใด ที่เรากล่าวแล้ว โดยหลายแง่หลายมุม แก่พวกเธอทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง. กามทั้งหลาย เรากล่าวแล้ว ว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่ ควรเปรียบด้วยท่อนแห่งกระดูก, ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ, ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า, ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง, ควรเปรียบด้วยของในความฝัน, ควรเปรียบด้วยของยืม, ควรเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้, ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ, ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว, และควรเปรียบด้วยหัวงู ฉะนั้น. ก็แต่ว่า อริฎฐภิกขุคันธวาธิปุพพะนี้ เพราะตัวเอง ถือเอาธรรมที่เราแสดงแล้วผิด จึงกล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดรากตนเองด้วย และประสพสิ่งมิใช่บุญ เป็นอันมากด้วย, ข้อนั้น #จักเป็นไปเพื่อความทุกข์ อันมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน แก่โมฆบุรุษนั้นแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/184/276. http://etipitaka.com/read/thai/12/184/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๖๔/๒๗๖. http://etipitaka.com/read/pali/12/264/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=261 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=261 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
    -ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์ ภิกษุ ท. ! อริฏฐภิกขุคันธวาธิปุพพะ กล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดราก ตนเองด้วย ประสพสิ่งมิใช่บุญเป็นอันมากด้วย เพราะตัวเองจับฉวยเอาผิด ใน ธรรมที่เราแสดงแล้วอย่างไร, แม้พวกเธอทั้งหลาย ก็เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้ว เหมือนอย่างอริฎฐภิกขุนั้นหรือ ? “หามิได้ พระเจ้าข้า ! ธรรมเหล่าใด อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วโดยหลายแง่หลายมุม แก่พวกข้าพระองค์ทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ, ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะ ทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง. กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่ควรเปรียบเทียบด้วยท่อนแห่งกระดูก, ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ, ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า, ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง, ควรเปรียบด้วยความฝัน, ควรเปรียบด้วยของยืม, ควรเปรียบด้วยผลไม้, ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ. ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว, และควรเปรียบด้วยหัวงู, ดังนี้” ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว, ที่พวกเธอทั้งหลาย เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้วอย่างนั้น. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใด ที่เรากล่าวแล้ว โดยหลายแง่หลายมุม แก่พวกเธอทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง. กามทั้งหลาย เรากล่าวแล้ว ว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่ ควรเปรียบด้วยท่อนแห่งกระดูก, ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ, ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า, ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง, ควรเปรียบด้วยของในความฝัน, ควรเปรียบด้วยของยืม, ควรเปรียบด้วยผลไม้, ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ, ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว, และควรเปรียบด้วยหัวงู ฉะนั้น. ก็แต่ว่า อริฎฐภิกขุคันธวาธิปุพพะนี้ เพราะตัวเอง ถือเอาธรรมที่เราแสดงแล้วผิด จึงกล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดรากตนเองด้วย และประสพสิ่งมิใช่บุญ เป็นอันมากด้วย, ข้อนั้น จักเป็นไป เพื่อความทุกข์ อันมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน แก่โมฆบุรุษนั้นแล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 211 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความอร่อยกลางกองทุกข์-(ความลวงของกาม)
    สัทธรรมลำดับที่ : 260
    ชื่อบทธรรม :- ความอร่อยกลางกองทุกข์-(ความลวงของกาม)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=260
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความอร่อยกลางกองทุกข์-(ความลวงของกาม)
    --มาคัณฑิยะ ! บุรุษโรคเรื้อน มีตัวเป็นแผล สุกปลั่ง ถูกตัวเชื้อโรค แทะกัดอยู่
    ใช้เล็บเกาปากแผลอยู่ รมตัวอยู่ที่หลุมถ่านไฟ.
    --มาคัณฑิยะ ! เขา ทำเช่นนั้นอยู่เพียงใด, ปากแผลของเขา ก็ยิ่งไม่สะอาด
    ยิ่งมีกลิ่นเหม็น และเปื่อยเน่ามากยิ่งขึ้น อยู่เพียงนั้น,
    จะมีความรู้สึกสักว่า ความพอใจ และความสบายเนื้ออยู่บ้าง
    ก็ตรงที่แผลได้รับการเกาหรือการอบอุ่น เพราะไฟนั้นเป็นเหตุ ข้อนี้มีอุปมาฉันใด ;
    --มาคัณฑิยะ ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัตว์ทั้งหลาย
    ยังเป็นผู้ไม่ไปปราศจากความกำหนัดใน #กามทั้งหลาย
    ถูกกามตัณหาแทะกัดอยู่ ถูกความเร่าร้อน
    เพราะกามแผดเผาอยู่ ก็ยังขืนเสพกามทั้งหลายอยู่นั่นเอง.
    --มาคัณฑิยะ ! เขายังทำเช่นนั้น อยู่เพียงใด,
    กามตัณหาของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเจริญขึ้นด้วย
    เขาถูกความเร่าร้อนเพราะกามแผดเผาอยู่ด้วย
    และสัตว์เหล่านั้น จะมีความรู้สึกสักว่าความพอใจ
    และความสบายเนื้ออยู่บ้าง
    ก็ตรงที่รสอันอาศัยกามคุณ ๕ เป็นเหตุอยู่เพียงนั้น
    เท่านั้นแล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/215/285.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/215/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๗๔/๒๘๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/279/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=260
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=260
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความอร่อยกลางกองทุกข์-(ความลวงของกาม) สัทธรรมลำดับที่ : 260 ชื่อบทธรรม :- ความอร่อยกลางกองทุกข์-(ความลวงของกาม) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=260 เนื้อความทั้งหมด :- --ความอร่อยกลางกองทุกข์-(ความลวงของกาม) --มาคัณฑิยะ ! บุรุษโรคเรื้อน มีตัวเป็นแผล สุกปลั่ง ถูกตัวเชื้อโรค แทะกัดอยู่ ใช้เล็บเกาปากแผลอยู่ รมตัวอยู่ที่หลุมถ่านไฟ. --มาคัณฑิยะ ! เขา ทำเช่นนั้นอยู่เพียงใด, ปากแผลของเขา ก็ยิ่งไม่สะอาด ยิ่งมีกลิ่นเหม็น และเปื่อยเน่ามากยิ่งขึ้น อยู่เพียงนั้น, จะมีความรู้สึกสักว่า ความพอใจ และความสบายเนื้ออยู่บ้าง ก็ตรงที่แผลได้รับการเกาหรือการอบอุ่น เพราะไฟนั้นเป็นเหตุ ข้อนี้มีอุปมาฉันใด ; --มาคัณฑิยะ ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัตว์ทั้งหลาย ยังเป็นผู้ไม่ไปปราศจากความกำหนัดใน #กามทั้งหลาย ถูกกามตัณหาแทะกัดอยู่ ถูกความเร่าร้อน เพราะกามแผดเผาอยู่ ก็ยังขืนเสพกามทั้งหลายอยู่นั่นเอง. --มาคัณฑิยะ ! เขายังทำเช่นนั้น อยู่เพียงใด, กามตัณหาของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเจริญขึ้นด้วย เขาถูกความเร่าร้อนเพราะกามแผดเผาอยู่ด้วย และสัตว์เหล่านั้น จะมีความรู้สึกสักว่าความพอใจ และความสบายเนื้ออยู่บ้าง ก็ตรงที่รสอันอาศัยกามคุณ ๕ เป็นเหตุอยู่เพียงนั้น เท่านั้นแล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/215/285. http://etipitaka.com/read/thai/13/215/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๗๔/๒๘๕. http://etipitaka.com/read/pali/13/279/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=260 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=260 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรต่อไป ได้ตรัสถึงในกรณีแห่ง อายตนะภายนอกหก ซึ่งมีข้อความเหมือนในกรณีแห่ง อายตนะภายในข้างบนนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออายตนะ).
    -(ในสูตรต่อไป ได้ตรัสถึงในกรณีแห่ง อายตนะภายนอกหก ซึ่งมีข้อความเหมือนในกรณีแห่ง อายตนะภายในข้างบนนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออายตนะ). ความอร่อยกลางกองทุกข์ (ความลวงของกาม) มาคัณฑิยะ ! บุรุษโรคเรื้อน มีตัวเป็นแผล สุกปลั่ง ถูกตัวเชื้อโรค แทะกัดอยู่ ใช้เล็บเกาปากแผลอยู่ รมตัวอยู่ที่หลุมถ่านไฟ. มาคัณฑิยะ ! เขา ทำเช่นนั้นอยู่เพียงใด, ปากแผลของเขา ก็ยิ่งไม่สะอาด ยิ่งมีกลิ่นเหม็น และ เปื่อยเน่ามากยิ่งขึ้น อยู่เพียงนั้น, จะมีความรู้สึกสักว่า ความพอใจ และความสบายเนื้ออยู่บ้าง ก็ตรงที่แผลได้รับการเกาหรือการอบอุ่น เพราะไฟนั้นเป็นเหตุ ข้อนี้มีอุปมาฉันใด ; มาคัณฑิยะ ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัตว์ทั้งหลาย ยังเป็นผู้ไม่ไปปราศจากความกำหนัดในกามทั้งหลาย ถูกกามตัณหาแทะกัดอยู่ ถูกความเร่าร้อน เพราะกามแผดเผาอยู่ ก็ยังขืนเสพกามทั้งหลายอยู่นั่นเอง. มาคัณฑิยะ ! เขายังทำเช่นนั้น อยู่เพียงใด, กามตัณหาของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเจริญขึ้นด้วย เขาถูกความเร่าร้อนเพราะกามแผดเผาอยู่ด้วย และสัตว์เหล่านั้น จะมีความรู้สึกสักว่าความพอใจ และความสบายเนื้ออยู่บ้าง ก็ตรงที่รสอันอาศัยกามคุณ ๕ เป็นเหตุอยู่เพียงนั้น เท่านั้นแล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 192 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอิทธิพลของกาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 256
    ชื่อบทธรรม :- อิทธิพลของกาม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=256
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อิทธิพลของกาม
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ความคิดในกรณีเช่นนี้
    ได้เกิดขึ้นแล้วแก่หม่อมฉันผู้ไปสู่ที่เร้นลับว่า
    ‘สัตว์เหล่าใด ได้โภคะอันมโหฬารแล้ว
    ไม่เมาอยู่ด้วย ไม่มัวเมาอยู่ด้วย ไม่ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย
    และไม่ปฏิบัติผิดในสัตว์ทั้งหลายด้วย,
    สัตว์เหล่านั้นมีน้อยนักในโลก.
    อันที่จริง สัตว์เหล่าใด ได้โภคะอันมโหฬารแล้ว
    เมาอยู่ด้วย มัวเมาอยู่ด้วย ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย
    และปฏิบัติผิดในสัตว์ทั้งหลายด้วย,
    สัตว์เหล่านั้นมีอยู่มากในโลก’
    ดังนี้.”
    --มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น,
    --มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น ;
    --มหาราช ! คือข้อที่ สัตว์เหล่าใด ได้โภคะอันมโหฬารแล้ว
    ไม่เมาอยู่ด้วย ไม่มัวเมาอยู่ด้วย ไม่ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย
    และไม่ปฏิบัติผิดในสัตว์ทั้งหลายด้วย,
    สัตว์เหล่านั้น มีน้อยนักในโลก.
    อันที่จริง สัตว์เหล่าใดได้โภคะอันมโหฬารแล้ว,
    เมาอยู่ด้วย มัวเมาอยู่ด้วย ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย
    และปฏิบัติผิดในสัตว์ ทั้งหลายด้วย,
    สัตว์เหล่านั้น มีอยู่มากในโลก ;

    +--ครั้นตรัสดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไป ซึ่งเป็นคำร้อยกรอง ว่า :-
    “ผู้ย้อมติดอยู่ในการบริโภคกาม
    http://etipitaka.com/read/pali/15/107/?keywords=กามโภเคสุ
    พัวพัน เมาหมก อยู่ในกามทั้งหลาย
    ย่อมไม่รู้สึกความหลวมตัวของตัว
    เหมือนเนื้อหรือนก พลัดเข้าสู่เครื่องดัก ฉะนั้น.
    ความเดือดร้อนย่อมมีแก่เขา ในกาลภายหลัง
    เพราะว่า ผล ที่เขา สร้างไว้ เป็นของชั่ว”
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/93/340-342.
    http://etipitaka.com/read/thai/15/93/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๑๐๖/๓๔๐-๓๔๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/106/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=256
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=256
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอิทธิพลของกาม สัทธรรมลำดับที่ : 256 ชื่อบทธรรม :- อิทธิพลของกาม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=256 เนื้อความทั้งหมด :- --อิทธิพลของกาม --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ความคิดในกรณีเช่นนี้ ได้เกิดขึ้นแล้วแก่หม่อมฉันผู้ไปสู่ที่เร้นลับว่า ‘สัตว์เหล่าใด ได้โภคะอันมโหฬารแล้ว ไม่เมาอยู่ด้วย ไม่มัวเมาอยู่ด้วย ไม่ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย และไม่ปฏิบัติผิดในสัตว์ทั้งหลายด้วย, สัตว์เหล่านั้นมีน้อยนักในโลก. อันที่จริง สัตว์เหล่าใด ได้โภคะอันมโหฬารแล้ว เมาอยู่ด้วย มัวเมาอยู่ด้วย ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย และปฏิบัติผิดในสัตว์ทั้งหลายด้วย, สัตว์เหล่านั้นมีอยู่มากในโลก’ ดังนี้.” --มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น, --มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น ; --มหาราช ! คือข้อที่ สัตว์เหล่าใด ได้โภคะอันมโหฬารแล้ว ไม่เมาอยู่ด้วย ไม่มัวเมาอยู่ด้วย ไม่ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย และไม่ปฏิบัติผิดในสัตว์ทั้งหลายด้วย, สัตว์เหล่านั้น มีน้อยนักในโลก. อันที่จริง สัตว์เหล่าใดได้โภคะอันมโหฬารแล้ว, เมาอยู่ด้วย มัวเมาอยู่ด้วย ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย และปฏิบัติผิดในสัตว์ ทั้งหลายด้วย, สัตว์เหล่านั้น มีอยู่มากในโลก ; +--ครั้นตรัสดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไป ซึ่งเป็นคำร้อยกรอง ว่า :- “ผู้ย้อมติดอยู่ในการบริโภคกาม http://etipitaka.com/read/pali/15/107/?keywords=กามโภเคสุ พัวพัน เมาหมก อยู่ในกามทั้งหลาย ย่อมไม่รู้สึกความหลวมตัวของตัว เหมือนเนื้อหรือนก พลัดเข้าสู่เครื่องดัก ฉะนั้น. ความเดือดร้อนย่อมมีแก่เขา ในกาลภายหลัง เพราะว่า ผล ที่เขา สร้างไว้ เป็นของชั่ว” ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/93/340-342. http://etipitaka.com/read/thai/15/93/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๑๐๖/๓๔๐-๓๔๒. http://etipitaka.com/read/pali/15/106/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=256 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=256 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อิทธิพลของกาม
    -อิทธิพลของกาม “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ความคิดในกรณีเช่นนี้ ได้เกิดขึ้นแล้วแก่หม่อมฉันผู้ไปสู่ที่เร้นลับว่า ‘สัตว์เหล่าใด ได้โภคะอันมโหฬารแล้ว ไม่เมาอยู่ด้วย ไม่มัวเมาอยู่ด้วย ไม่ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย และไม่ปฏิบัติผิดในสัตว์ทั้งหลายด้วย, สัตว์เหล่านั้นมีน้อยนักในโลก. อันที่จริง สัตว์เหล่าใด ได้โภคะอันมโหฬารแล้ว เมาอยู่ด้วย มัวเมาอยู่ด้วย ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย และปฏิบัติผิดในสัตว์ทั้งหลายด้วย, สัตว์เหล่านั้นมีอยู่มากในโลก’ ดังนี้.” มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น, มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น ; มหาราช ! คือข้อที่ สัตว์เหล่าใด ได้โภคะอันมโหฬารแล้ว ไม่เมาอยู่ด้วย ไม่มัวเมาอยู่ด้วย ไม่ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย และไม่ปฏิบัติผิดในสัตว์ทั้งหลายด้วย, สัตว์เหล่านั้น มีน้อยนักในโลก. อันที่จริง สัตว์เหล่าใดได้โภคะอันมโหฬารแล้ว เมาอยู่ด้วย มัวเมาอยู่ด้วย ถึงความยินดีในกามทั้งหลายด้วย และปฏิบัติผิดในสัตว์ ทั้งหลายด้วย, สัตว์เหล่านั้น มีอยู่มากในโลก ; ครั้นตรัสดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไป ซึ่งเป็นคำร้อยกรอง ว่า : “ผู้ย้อมติดอยู่ในการบริโภคกาม พัวพัน เมาหมก อยู่ในกามทั้งหลาย ย่อมไม่รู้สึกความหลวมตัวของตัว เหมือนเนื้อหรือนก พลัดเข้าสู่เครื่องดัก ฉะนั้น. ความเดือดร้อนย่อมมีแก่เขา ในกาลภายหลัง เพราะว่า ผล ที่เขา สร้างไว้ เป็นของชั่ว” ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 200 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาคนกล่าวคำเท็จเพราะกาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 255
    ชื่อบทธรรม :- คนกล่าวคำเท็จเพราะกาม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=255
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --คนกล่าวคำเท็จเพราะกาม
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! หม่อมฉัน นั่งแล้ว ในที่วินิจฉัยอรรถคดีนั่นแหละ
    ได้เห็นพวกกษัตริย์มหาศาลบ้าง พวกพราหมณ์มหาศาลบ้าง พวกคฤหบดีมหาศาลบ้าง
    ซึ่งเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองเงินเพียงพอ
    มีอุปกรณ์ในการหาทรัพย์มากมาย มีข้าวเปลือกเป็นหลักทรัพย์อยู่มากมาย
    ทำการกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่าเป็นเท็จ
    เพราะกามเป็นเหตุ
    เพราะกามเป็นต้นเหตุ
    เพราะกามเป็นเครื่องทำให้พูดออกมา.
    --ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ความคิดได้เกิดขึ้นแก่หม่อมฉัน ว่า
    ‘บัดนี้พอแล้ว ในการวินิจฉัยอรรถคดี,
    บัดนี้ภัท๎รมุข (วิฑูฑภะ) จักปรากฏตัว ในการวินิจฉัยอรรถคดีสืบไป’
    ดังนี้.

    --มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น,
    --มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น ;
    --มหาราช ! คือข้อที่
    พวกกษัตริย์มหาศาลบ้าง
    พวกพราหมณ์มหาศาลบ้าง
    พวกคฤหบดีมหาศาลบ้าง
    ซึ่งเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองเงินเพียงพอ
    มีอุปกรณ์ในการหาทรัพย์มากมาย มีข้าวเปลือกเป็นหลักทรัพย์อยู่มากมาย
    #ทำการกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่าเป็นเท็จ
    เพราะกามเป็นเหตุ
    เพราะกามเป็นต้นเหตุ
    เพราะกามเป็นเครื่องทำให้พูดออกมา.
    การทำเช่นนี้ ของคนเหล่านั้น จักเป็นไป เพื่อความทุกข์
    อันไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน ;
    +--ครั้นตรัสดังนี้แล้ว
    ได้ตรัสต่อไปซึ่งเป็นคำร้อยกรอง ว่า :-
    "ผู้ย้อมติดอยู่ในการบริโภคกาม
    พัวพัน เมาหมกอยู่ในกามทั้งหลาย
    ย่อมไม่รู้สึกความหลวมตัวของตัว
    ดั่งมัศยาชาติ พลัดเข้าสู่เครื่องดัก ฉะนั้น.
    ความเดือดร้อน ย่อมมีแก่เขา ในภายหลัง
    เพราะว่า ผล ที่เขาสร้างไว้ เป็นความชั่ว”
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/93/343-345.
    http://etipitaka.com/read/thai/15/93/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๑๐๗/๓๔๓-๓๔๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/107/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=255
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=255
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาคนกล่าวคำเท็จเพราะกาม สัทธรรมลำดับที่ : 255 ชื่อบทธรรม :- คนกล่าวคำเท็จเพราะกาม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=255 เนื้อความทั้งหมด :- --คนกล่าวคำเท็จเพราะกาม --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! หม่อมฉัน นั่งแล้ว ในที่วินิจฉัยอรรถคดีนั่นแหละ ได้เห็นพวกกษัตริย์มหาศาลบ้าง พวกพราหมณ์มหาศาลบ้าง พวกคฤหบดีมหาศาลบ้าง ซึ่งเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองเงินเพียงพอ มีอุปกรณ์ในการหาทรัพย์มากมาย มีข้าวเปลือกเป็นหลักทรัพย์อยู่มากมาย ทำการกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่าเป็นเท็จ เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นต้นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องทำให้พูดออกมา. --ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ความคิดได้เกิดขึ้นแก่หม่อมฉัน ว่า ‘บัดนี้พอแล้ว ในการวินิจฉัยอรรถคดี, บัดนี้ภัท๎รมุข (วิฑูฑภะ) จักปรากฏตัว ในการวินิจฉัยอรรถคดีสืบไป’ ดังนี้. ” --มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น, --มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น ; --มหาราช ! คือข้อที่ พวกกษัตริย์มหาศาลบ้าง พวกพราหมณ์มหาศาลบ้าง พวกคฤหบดีมหาศาลบ้าง ซึ่งเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองเงินเพียงพอ มีอุปกรณ์ในการหาทรัพย์มากมาย มีข้าวเปลือกเป็นหลักทรัพย์อยู่มากมาย #ทำการกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่าเป็นเท็จ เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นต้นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องทำให้พูดออกมา. การทำเช่นนี้ ของคนเหล่านั้น จักเป็นไป เพื่อความทุกข์ อันไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน ; +--ครั้นตรัสดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไปซึ่งเป็นคำร้อยกรอง ว่า :- "ผู้ย้อมติดอยู่ในการบริโภคกาม พัวพัน เมาหมกอยู่ในกามทั้งหลาย ย่อมไม่รู้สึกความหลวมตัวของตัว ดั่งมัศยาชาติ พลัดเข้าสู่เครื่องดัก ฉะนั้น. ความเดือดร้อน ย่อมมีแก่เขา ในภายหลัง เพราะว่า ผล ที่เขาสร้างไว้ เป็นความชั่ว” ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/93/343-345. http://etipitaka.com/read/thai/15/93/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๑๐๗/๓๔๓-๓๔๕. http://etipitaka.com/read/pali/15/107/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=255 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=255 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - คนกล่าวคำเท็จเพราะกาม
    -คนกล่าวคำเท็จเพราะกาม “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! หม่อมฉัน นั่งแล้ว ในที่วินิจฉัยอรรถคดีนั่นแหละ ได้เห็นพวกกษัตริย์มหาศาลบ้าง พวกพราหมณ์มหาศาลบ้าง พวกคฤหบดีมหาศาลบ้าง ซึ่งเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองเงินเพียงพอ มีอุปกรณ์ในการหาทรัพย์มากมาย มีข้าวเปลือกเป็นหลักทรัพย์อยู่มากมาย ทำการกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่าเป็นเท็จ เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็นต้นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องทำให้พูดออกมา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ความคิดได้เกิดขึ้นแก่หม่อมฉัน ว่า ‘บัดนี้พอแล้ว ในการวินิจฉัยอรรถคดี, บัดนี้ภัท๎รมุข (วิฑูฑภะ) จักปรากฏตัว ในการวินิจฉัยอรรถคดีสืบไป’ ดังนี้.” มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น, มหาราช ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น ; มหาราช ! คือข้อที่พวกกษัตริย์มหาศาลบ้าง พวกพราหมณ์มหาศาลบ้าง พวกคฤหบดีมหาศาลบ้าง ซึ่งเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองเงินเพียงพอ มีอุปกรณ์ในการหาทรัพย์มากมาย มีข้าวเปลือกเป็นหลักทรัพย์อยู่มากมาย ทำการกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่าเป็นเท็จ เพราะกามเป็นเหตุ เพราะกามเป็น ต้นเหตุ เพราะกามเป็นเครื่องทำให้พูดออกมา. การทำเช่นนี้ ของคนเหล่านั้น จักเป็นไป เพื่อความทุกข์ อันไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน ; ครั้นตรัสดังนี้แล้ว ได้ตรัสต่อไปซึ่งเป็นคำร้อยกรอง ว่า : ผู้ย้อมติดอยู่ในการบริโภคกาม พัวพัน เมาหมกอยู่ในกามทั้งหลาย ย่อมไม่รู้สึกความหลวมตัวของตัว ดั่งมัศยาชาติ พลัดเข้าสู่เครื่องดัก ฉะนั้น. ความเดือดร้อน ย่อมมีแก่เขา ในภายหลัง เพราะว่า ผล ที่เขาสร้างไว้ เป็นความชั่ว” ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 284 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามเป็นมายา
    สัทธรรมลำดับที่ : 253
    ชื่อบทธรรม :- กามเป็นมายา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=253
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กามเป็นมายา
    --ภิกษุ ท. ! กามทั้งหลาย เป็นของไม่เที่ยง
    เป็นของเปล่า ๆ ปลี้ ๆ เป็นของเท็จ
    เป็นสิ่งที่มีการหลอกให้หลงเป็นธรรมดา.

    --ภิกษุ ท. ! กามนั้นเป็นเหมือนสิ่งที่ทำแล้วด้วยมายา
    เป็นที่พร่ำบ่นหาของคนพาล,
    ได้แก่ กาม และสัญญาในกาม
    ทั้งที่เป็นไปในภพปัจจุบันนี้
    และที่เป็นไปในภพเบื้องหน้า.
    กามและสัญญาในกาม ทั้งสองอย่างนั้น
    เป็น อาณาจักรของ มาร
    เป็น วิสัยของ มาร
    เป็น เหยื่อของ มาร และ
    เป็น ที่เที่ยวหาอาหารของ มาร.

    จิตอันเป็นบาปอกุศล
    เป็น อภิชฌาก็ดี พยาบาทก็ดี และสารัมภะ (การแข่งดี)ก็ดี
    http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=อภิชฺฌาปิ+พฺยาปาทาปิ+สารมฺภาปิ
    เหล่านี้ย่อมเป็นไปในอาณาจักรของ มาร นั้น.

    อนึ่ง อกุศลธรรมเหล่านั้น ย่อมมีขึ้น
    เพื่อเป็นอันตราย(อนฺตรายาย)​ แก่พระอริยสาวก
    http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=อนฺตรายาย
    ผู้ตามศึกษาอยู่ ในธรรมวินัยนี้ได้ โดยแท้
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/74/81.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/57/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๗๔/๘๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%91
    ศึกษาเพื่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=253
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=253
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากามเป็นมายา สัทธรรมลำดับที่ : 253 ชื่อบทธรรม :- กามเป็นมายา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=253 เนื้อความทั้งหมด :- --กามเป็นมายา --ภิกษุ ท. ! กามทั้งหลาย เป็นของไม่เที่ยง เป็นของเปล่า ๆ ปลี้ ๆ เป็นของเท็จ เป็นสิ่งที่มีการหลอกให้หลงเป็นธรรมดา. --ภิกษุ ท. ! กามนั้นเป็นเหมือนสิ่งที่ทำแล้วด้วยมายา เป็นที่พร่ำบ่นหาของคนพาล, ได้แก่ กาม และสัญญาในกาม ทั้งที่เป็นไปในภพปัจจุบันนี้ และที่เป็นไปในภพเบื้องหน้า. กามและสัญญาในกาม ทั้งสองอย่างนั้น เป็น อาณาจักรของ มาร เป็น วิสัยของ มาร เป็น เหยื่อของ มาร และ เป็น ที่เที่ยวหาอาหารของ มาร. จิตอันเป็นบาปอกุศล เป็น อภิชฌาก็ดี พยาบาทก็ดี และสารัมภะ (การแข่งดี)ก็ดี http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=อภิชฺฌาปิ+พฺยาปาทาปิ+สารมฺภาปิ เหล่านี้ย่อมเป็นไปในอาณาจักรของ มาร นั้น. อนึ่ง อกุศลธรรมเหล่านั้น ย่อมมีขึ้น เพื่อเป็นอันตราย(อนฺตรายาย)​ แก่พระอริยสาวก http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=อนฺตรายาย ผู้ตามศึกษาอยู่ ในธรรมวินัยนี้ได้ โดยแท้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/74/81. http://etipitaka.com/read/thai/14/57/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๗๔/๘๑. http://etipitaka.com/read/pali/14/74/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%91 ศึกษาเพื่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=253 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=253 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กามเป็นมายา
    -กามเป็นมายา ภิกษุ ท. ! กามทั้งหลาย เป็นของไม่เที่ยง เป็นของเปล่า ๆ ปลี้ ๆ เป็นของเท็จ เป็นสิ่งที่มีการหลอกให้หลงเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! กามนั้นเป็นเหมือนสิ่งที่ทำแล้วด้วยมายา เป็นที่พร่ำบ่นหาของคนพาล, ได้แก่ กาม และสัญญาในกาม ทั้งที่เป็นไปในภพปัจจุบันนี้ และที่เป็นไปในภพเบื้องหน้า. กามและสัญญาในกาม ทั้งสองอย่างนั้น เป็น อาณาจักรของมาร เป็น วิสัยของมาร เป็น เหยื่อของมาร และเป็น ที่เที่ยวหาอาหารของมาร. จิตอันเป็นบาปอกุศลเป็นอภิชฌาก็ดี พยาบาทก็ดี และสารัมภะ (การแข่งดี)ก็ดี เหล่านี้ย่อมเป็นไปในอาณาจักรของมารนั้น. อนึ่ง อกุศลธรรมเหล่านั้น ย่อมมีขึ้น เพื่อเป็นอันตราย แก่พระอริยสาวก ผู้ตามศึกษาอยู่ ในธรรมวินัยนี้ได้ โดยแท้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 198 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งตัณหาสาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 250
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
    +--กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
    สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย กามธาตุ : นี้ เรียกว่า #กามตัณหา.
    +--ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
    สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #ภวตัณหา.
    +--วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
    สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #วิภวตัณหา.
    *---- นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/35/494/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93%E0%B9%93

    +--ลักษณะแห่งกามตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง
    ซึ่งความก่อขึ้น แห่ง กามทั้งหลาย
    ซึ่งความดับไปแห่ง กามทั้งหลาย
    ซึ่งรสอร่อยแห่ง กามทั้งหลาย
    ซึ่งโทษแห่ง กามทั้งหลาย และ
    ซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จาก กามทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น,
    ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม
    ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม
    และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #กามโยคะ,
    ดังนี้แล.-
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ความพรากจากโยคะ ๔ ประการ นี้แล ฯ
    สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะและอวิชชาโยคะ
    ย่อมเป็นผู้มีปรกติถึงชาติและมรณะ ไปสู่ สงสาร
    +--ส่วนสัตว์เหล่าใด
    กำหนดรู้กามทั้งหลายและภวโยคะโดยประการทั้งปวง
    ถอนขึ้นซึ่งทิฏฐิโยคะ
    และสำรอก อวิชชาเสียได้
    +--สัตว์เหล่านั้นแล เป็นผู้พรากจากโยคะทั้งปวง
    เป็นมุนีผู้ล่วงพ้นโยคะเสียได้ ฯ

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/9/10.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/9/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓/๑๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=250
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งตัณหาสาม สัทธรรมลำดับที่ : 250 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250 เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. +--กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย กามธาตุ : นี้ เรียกว่า #กามตัณหา. +--ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #ภวตัณหา. +--วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #วิภวตัณหา. *---- นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔. http://etipitaka.com/read/pali/35/494/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93%E0%B9%93 +--ลักษณะแห่งกามตัณหา --ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง ซึ่งความก่อขึ้น แห่ง กามทั้งหลาย ซึ่งความดับไปแห่ง กามทั้งหลาย ซึ่งรสอร่อยแห่ง กามทั้งหลาย ซึ่งโทษแห่ง กามทั้งหลาย และ ซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จาก กามทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น, ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น. --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #กามโยคะ, ดังนี้แล.- ... --ภิกษุ ท. ! ความพรากจากโยคะ ๔ ประการ นี้แล ฯ สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะและอวิชชาโยคะ ย่อมเป็นผู้มีปรกติถึงชาติและมรณะ ไปสู่ สงสาร +--ส่วนสัตว์เหล่าใด กำหนดรู้กามทั้งหลายและภวโยคะโดยประการทั้งปวง ถอนขึ้นซึ่งทิฏฐิโยคะ และสำรอก อวิชชาเสียได้ +--สัตว์เหล่านั้นแล เป็นผู้พรากจากโยคะทั้งปวง เป็นมุนีผู้ล่วงพ้นโยคะเสียได้ ฯ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/9/10. http://etipitaka.com/read/thai/21/9/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓/๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=250 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑. ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
    -๑. ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วยกามธาตุ : นี้ เรียกว่า กามตัณหา. ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า ภวตัณหา. วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า วิภวตัณหา. - นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔. ลักษณะแห่งกามตัณหา ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง ซึ่งความก่อขึ้น แห่งกามทั้งหลาย ซึ่งความดับไปแห่งกามทั้งหลาย ซึ่งรสอร่อยแห่งกามทั้งหลาย ซึ่งโทษแห่งกามทั้งหลาย และซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จากกามทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น, ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า กามโยคะ, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 300 มุมมอง 0 รีวิว
  • เทพเทวดาฯ ก็อยากได้บุญกุศล (ในภพเทวดาอาจจะทำบุญไม่ได้แต่หาวิธีทำจนได้)
    พญามุจลินท์ เห็นพระพุทธเจ้าศรัทธาในพระพุทธเจ้าท่านมาปกปักษ์รักษาทันที ได้ฟังเทศน์ฟังธรรมของพระพุทธเจ้า อัศจรรย์

    ครั้งล่วง 7 วัน ฝนหายขาดแล้ว พญานาคก็คลายขนดจำแลงกายเป็นมาณพ เข้าไปถวายอัญชลีเฉพาะพระพักตร์ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่งอุทานวาจาว่า"ความสงัดเป็นสุข สำหรับบุคคลผู้มีธรรมอันเห็นแล้ว ยินดีอยู่ในที่สงัด รู้เห็นตามความเป็นจริง ความไม่เบียดเบียน คือความสำรวมในสัตว์ทั้งหลาย และความปราศจากความกำหนัด คือความล่วงกามทั้งหลายเสียได้ด้วยประการทั้งปวง เป็นสุขในโลก ความนำอัสมิมานะ คือความถือตัวออกให้หมดไปเป็นสุขอย่างยิ่ง"
    เทพเทวดาฯ ก็อยากได้บุญกุศล (ในภพเทวดาอาจจะทำบุญไม่ได้แต่หาวิธีทำจนได้) พญามุจลินท์ เห็นพระพุทธเจ้าศรัทธาในพระพุทธเจ้าท่านมาปกปักษ์รักษาทันที ได้ฟังเทศน์ฟังธรรมของพระพุทธเจ้า อัศจรรย์ ครั้งล่วง 7 วัน ฝนหายขาดแล้ว พญานาคก็คลายขนดจำแลงกายเป็นมาณพ เข้าไปถวายอัญชลีเฉพาะพระพักตร์ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่งอุทานวาจาว่า"ความสงัดเป็นสุข สำหรับบุคคลผู้มีธรรมอันเห็นแล้ว ยินดีอยู่ในที่สงัด รู้เห็นตามความเป็นจริง ความไม่เบียดเบียน คือความสำรวมในสัตว์ทั้งหลาย และความปราศจากความกำหนัด คือความล่วงกามทั้งหลายเสียได้ด้วยประการทั้งปวง เป็นสุขในโลก ความนำอัสมิมานะ คือความถือตัวออกให้หมดไปเป็นสุขอย่างยิ่ง"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 169 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 995
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่;
    การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น
    แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ;
    เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่
    เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น.

    --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย
    เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง
    ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ;
    เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
    เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน.
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น
    (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ)
    ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง.
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ(เปยยาล)​....
    (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น
    แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน
    ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
    ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้
    $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ ....
    ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ....
    ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา
    จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ;
    เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง
    โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่)
    เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น )
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน)
    ด้วยการกำหนดว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง.
    -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว
    จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้
    มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น
    แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า
    “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.-

    (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้
    เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ
    ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ;
    และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน
    ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ
    เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ;
    นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด.
    ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่
    อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้
    ).

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า;
    ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 995 ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ(เปยยาล)​.... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.- (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้ ). *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158. http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้ว จักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. ...... อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียน กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างบนนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาลไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อนเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) ๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 389 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อธิสิกขาสาม​
    สัทธรรมลำดับที่ : 975
    ชื่อบทธรรม :- อธิสิกขาสาม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=975
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อธิสิกขาสาม
    --ภิกษุ ท. ! สิกขา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ?
    สามอย่างคือ
    อธิสีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา.

    --ภิกษุ ท. ! อธิสีลสิกขา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีศีล
    สำรวมด้วยการสำรวมในปาติโมกข์
    ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ว่าเป็นโทษเล็กน้อย
    สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #อธิสีลสิกขา.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/303/?keywords=อธิสีลสิกฺขา

    --ภิกษุ ท. ! อธิจิตตสิกขา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย
    เข้าถึงปฐมฌาน ....
    ทุติยฌาน ....
    ตติยฌาน ....
    จตุตถฌาน แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #อธิจิตตสิกขา.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/303/?keywords=อธิจิตฺตสิกฺขา

    --ภิกษุ ท. ! อธิปัญญาสิกขา เป็นอย่างไรเล่า ?
    -‐ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “นี้ทุกข์
    นี้เหตุให้เกิดทุกข์
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    นี้ทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #อธิปัญญาสิกขา.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/303/?keywords=อธิปญฺญาสิกฺขา

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #สิกขาสามอย่าง.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/224/529.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/224/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๐๓/๕๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/303/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=975
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=975
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อธิสิกขาสาม​ สัทธรรมลำดับที่ : 975 ชื่อบทธรรม :- อธิสิกขาสาม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=975 เนื้อความทั้งหมด :- --อธิสิกขาสาม --ภิกษุ ท. ! สิกขา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ อธิสีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา. --ภิกษุ ท. ! อธิสีลสิกขา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยการสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #อธิสีลสิกขา. http://etipitaka.com/read/pali/20/303/?keywords=อธิสีลสิกฺขา --ภิกษุ ท. ! อธิจิตตสิกขา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน .... ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #อธิจิตตสิกขา. http://etipitaka.com/read/pali/20/303/?keywords=อธิจิตฺตสิกฺขา --ภิกษุ ท. ! อธิปัญญาสิกขา เป็นอย่างไรเล่า ? -‐ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #อธิปัญญาสิกขา. http://etipitaka.com/read/pali/20/303/?keywords=อธิปญฺญาสิกฺขา --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #สิกขาสามอย่าง.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/224/529. http://etipitaka.com/read/thai/20/224/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๐๓/๕๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/20/303/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=975 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=975 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อธิสิกขาสาม
    -อธิสิกขาสาม ภิกษุ ท. ! สิกขา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ อธิสีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา. ภิกษุ ท. ! อธิสีลสิกขา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยการสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า อธิสีลสิกขา. ภิกษุ ท. ! อธิจิตตสิกขา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน .... ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า อธิจิตตสิกขา. ภิกษุ ท. ! อธิปัญญาสิกขา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า อธิปัญญาสิกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สิกขา ๓ อย่าง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 290 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าสามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส
    สัทธรรมลำดับที่ : 593
    ชื่อบทธรรม : -สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=593
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส
    ...
    อุปสีวมาณพทูลถามปัญหาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ศากยะ
    ข้าพระองค์ผู้เดียวไม่อาศัยธรรมหรือบุคคลอะไรแล้ว
    ไม่สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลสได้ข้าแต่พระองค์ผู้สมันตจักษุ
    ขอพระองค์จงตรัสบอกที่หน่วงเหนี่ยว อันข้าพระองค์พึงอาศัยข้ามห้วงน้ำคือกิเลสนี้
    แก่ข้าพระองค์เถิด ฯ
    พระผู้มีพระภาค(พ.) ตรัสพยากรณ์ว่า
    อุปสีวะ(อุ.)
    ท่านจงเป็นผู้มีสติ เพ่งอากิญจัญญายตนสมาบัติ อาศัยอารมณ์ว่า ไม่มี
    ดังนี้แล้วข้ามห้วงน้ำคือกิเลสเสียเถิด ท่านจงละกามทั้งหลายเสีย เป็น
    ผู้เว้นจากความสงสัย เห็นธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหาให้แจ่มแจ้ง
    ทั้งกลางวันกลางคืนเถิด ฯ
    อุ. ผู้ใดปราศจากความกำหนัดยินดีในกามทั้งปวงละสมาบัติอื่นเสีย อาศัย
    อากิญจัญญายตนสมาบัติ น้อมใจลงในสัญญาวิโมกข์ (คืออากิญจัญญา
    ยตนสมาบัติ ธรรมเปลื้องสัญญา)เป็นอย่างยิ่ง ผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหว
    พึงตั้งอยู่ในอากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นแลหรือ ฯ
    พ. ดูกรอุปสีวะ ผู้ใดปราศจากความกำหนัดยินดีในกามทั้งปวงละสมาบัติ
    อื่นเสีย อาศัยอากิญจัญญายตนสมาบัติ น้อมใจลงในสัญญาวิโมกข์เป็น
    อย่างยิ่ง ผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหวพึงตั้งอยู่ในอากิญจัญญายตนพรหมโลก
    นั้น ฯ
    อุ. ข้าแต่พระองค์ผู้มีสมันตจักษุ ถ้าผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหว พึงตั้งอยู่ใน
    อากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นสิ้นปีแม้มากไซร้ ผู้นั้นพึงพ้นจากทุกข์
    ต่างๆ ในอากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นแหละ พึงเป็นผู้เยือกเย็น
    หรือว่าวิญญาณของผู้เช่นนั้น พึงเกิดเพื่อถือปฏิสนธิอีก ฯ
    พ. ดูกรอุปสีวะ มุนีพ้นแล้วจากนามกาย ย่อมถึงการตั้งอยู่ไม่ได้ไม่ถึงการ
    นับ เปรียบเหมือนเปลวไฟอันถูกกำลังลมพัดไปแล้ว ย่อมถึงการตั้งอยู่
    ไม่ได้ ไม่ถึงการนับ ฉะนั้น ฯ
    อุ. ท่านผู้นั้นถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ ท่านผู้นั้นไม่มีหรือว่าท่านผู้นั้นเป็นผู้ไม่มีโรค
    ด้วยความเป็นผู้เที่ยง ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นมุนี ขอพระองค์จงตรัส
    พยากรณ์ความข้อนั้นให้สำเร็จประโยชน์แก่ข้าพระองค์เถิด เพราะว่า
    ธรรมนั้นพระองค์ทรงรู้แจ้งแล้วด้วยประการนั้น ฯ
    พ. ดูกรอุปสีวะ ท่านผู้ถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ ไม่มีประมาณ ชนทั้งหลายจะ
    พึงกล่าวท่านผู้นั้นด้วยกิเลสมีราคะเป็นต้นใด กิเลสมีราคะเป็นต้นนั้น
    ของท่านไม่มี เมื่อธรรม (มีขันธ์เป็นต้น)ทั้งปวง ท่านเพิกถอนขึ้นได้
    แล้ว แม้ทางแห่งถ้อยคำทั้งหมดก็เป็นอันท่านเพิกถอนขึ้นได้แล้ว ฯ
    http://etipitaka.com/read/pali/25/539/?keywords=อุปสีวมาณวกปญฺหา
    ...
    ประมาณเครื่องกำหนด (คือเกณฑ์ที่ใช้วัดสอบทุกชนิด)
    ไม่มีทางที่จะเอามาใช้ แก่บุคคลผู้ถึงซึ่งความดับแห่งการยึดถือตัวตน,
    ท่านผู้เป็นเช่นนั้น เป็นคนที่ไม่มีเหตุหรือคุณลักษณะอะไรๆ ที่ใครๆ
    จะกล่าวว่าท่านเป็นอะไร ได้อีกต่อไป.
    เมื่อสิ่งทั้งปวงถูกเพิกถอนความยึดถือเสียแล้ว
    วาทบถ คือ คลองแห่งถ้อยคำสำหรับเรียกสิ่งนั้นทั้งหมด
    ก็พลอยถูกเพิกถอน คือไร้ความหมายไปด้วยทั้งสิ้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/402/430.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/402/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๕๓​๘/๔๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/538/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=593
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=593
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40
    ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าสามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส สัทธรรมลำดับที่ : 593 ชื่อบทธรรม : -สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=593 เนื้อความทั้งหมด :- --สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส ... อุปสีวมาณพทูลถามปัญหาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ศากยะ ข้าพระองค์ผู้เดียวไม่อาศัยธรรมหรือบุคคลอะไรแล้ว ไม่สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลสได้ข้าแต่พระองค์ผู้สมันตจักษุ ขอพระองค์จงตรัสบอกที่หน่วงเหนี่ยว อันข้าพระองค์พึงอาศัยข้ามห้วงน้ำคือกิเลสนี้ แก่ข้าพระองค์เถิด ฯ พระผู้มีพระภาค(พ.) ตรัสพยากรณ์ว่า อุปสีวะ(อุ.) ท่านจงเป็นผู้มีสติ เพ่งอากิญจัญญายตนสมาบัติ อาศัยอารมณ์ว่า ไม่มี ดังนี้แล้วข้ามห้วงน้ำคือกิเลสเสียเถิด ท่านจงละกามทั้งหลายเสีย เป็น ผู้เว้นจากความสงสัย เห็นธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหาให้แจ่มแจ้ง ทั้งกลางวันกลางคืนเถิด ฯ อุ. ผู้ใดปราศจากความกำหนัดยินดีในกามทั้งปวงละสมาบัติอื่นเสีย อาศัย อากิญจัญญายตนสมาบัติ น้อมใจลงในสัญญาวิโมกข์ (คืออากิญจัญญา ยตนสมาบัติ ธรรมเปลื้องสัญญา)เป็นอย่างยิ่ง ผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหว พึงตั้งอยู่ในอากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นแลหรือ ฯ พ. ดูกรอุปสีวะ ผู้ใดปราศจากความกำหนัดยินดีในกามทั้งปวงละสมาบัติ อื่นเสีย อาศัยอากิญจัญญายตนสมาบัติ น้อมใจลงในสัญญาวิโมกข์เป็น อย่างยิ่ง ผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหวพึงตั้งอยู่ในอากิญจัญญายตนพรหมโลก นั้น ฯ อุ. ข้าแต่พระองค์ผู้มีสมันตจักษุ ถ้าผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหว พึงตั้งอยู่ใน อากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นสิ้นปีแม้มากไซร้ ผู้นั้นพึงพ้นจากทุกข์ ต่างๆ ในอากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นแหละ พึงเป็นผู้เยือกเย็น หรือว่าวิญญาณของผู้เช่นนั้น พึงเกิดเพื่อถือปฏิสนธิอีก ฯ พ. ดูกรอุปสีวะ มุนีพ้นแล้วจากนามกาย ย่อมถึงการตั้งอยู่ไม่ได้ไม่ถึงการ นับ เปรียบเหมือนเปลวไฟอันถูกกำลังลมพัดไปแล้ว ย่อมถึงการตั้งอยู่ ไม่ได้ ไม่ถึงการนับ ฉะนั้น ฯ อุ. ท่านผู้นั้นถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ ท่านผู้นั้นไม่มีหรือว่าท่านผู้นั้นเป็นผู้ไม่มีโรค ด้วยความเป็นผู้เที่ยง ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นมุนี ขอพระองค์จงตรัส พยากรณ์ความข้อนั้นให้สำเร็จประโยชน์แก่ข้าพระองค์เถิด เพราะว่า ธรรมนั้นพระองค์ทรงรู้แจ้งแล้วด้วยประการนั้น ฯ พ. ดูกรอุปสีวะ ท่านผู้ถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ ไม่มีประมาณ ชนทั้งหลายจะ พึงกล่าวท่านผู้นั้นด้วยกิเลสมีราคะเป็นต้นใด กิเลสมีราคะเป็นต้นนั้น ของท่านไม่มี เมื่อธรรม (มีขันธ์เป็นต้น)ทั้งปวง ท่านเพิกถอนขึ้นได้ แล้ว แม้ทางแห่งถ้อยคำทั้งหมดก็เป็นอันท่านเพิกถอนขึ้นได้แล้ว ฯ http://etipitaka.com/read/pali/25/539/?keywords=อุปสีวมาณวกปญฺหา ... ประมาณเครื่องกำหนด (คือเกณฑ์ที่ใช้วัดสอบทุกชนิด) ไม่มีทางที่จะเอามาใช้ แก่บุคคลผู้ถึงซึ่งความดับแห่งการยึดถือตัวตน, ท่านผู้เป็นเช่นนั้น เป็นคนที่ไม่มีเหตุหรือคุณลักษณะอะไรๆ ที่ใครๆ จะกล่าวว่าท่านเป็นอะไร ได้อีกต่อไป. เมื่อสิ่งทั้งปวงถูกเพิกถอนความยึดถือเสียแล้ว วาทบถ คือ คลองแห่งถ้อยคำสำหรับเรียกสิ่งนั้นทั้งหมด ก็พลอยถูกเพิกถอน คือไร้ความหมายไปด้วยทั้งสิ้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/402/430. http://etipitaka.com/read/thai/25/402/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๕๓​๘/๔๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/538/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=593 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=593 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40 ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ประมาณเครื่องกำหนด (คือเกณฑ์ที่ใช้วัดสอบทุกชนิด) ไม่มีทางที่จะเอามาใช้ แก่บุคคลผู้ถึงซึ่งความดับแห่งการยึดถือตัวตน
    -ประมาณเครื่องกำหนด (คือเกณฑ์ที่ใช้วัดสอบทุกชนิด) ไม่มีทางที่จะเอามาใช้ แก่บุคคลผู้ถึงซึ่งความดับแห่งการยึดถือตัวตน, ท่านผู้เช่นนั้น เป็นคนที่ไม่มีเหตุหรือคุณลักษณะอะไรๆ ที่ใครๆ จะกล่าวว่าท่านเป็นอะไร ได้อีกต่อไป. เมื่อสิ่งทั้งปวงถูกเพิกถอนความยึดถือเสียแล้ว วาทบถ คือ คลองแห่งถ้อยคำสำหรับเรียกสิ่งนั้นทั้งหมด ก็พลอยถูกเพิกถอน คือไร้ความหมายไปด้วยทั้งสิ้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 332 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 565
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565
    ชื่อบทธรรม :- ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    --ภิกษุ ท. ! คงคานที ลุ่มไปทางทิศตะวันออก ลาดไปทางทิศตะวันออก เทไปทางทิศตะวันออก ข้อนี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่กระทำฌานสี่ให้มากอยู่
    ก็ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน
    ฉันนั้นก็เหมือนกัน.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่
    ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ;
    เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &​ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ;
    อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &​ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ;
    เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง &​จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่
    http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=จตฺตาโร+ฌาน
    กระทำฌานสี่ให้มากอยู่
    #ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน
    ลาดไปทางนิพพาน
    เทไปทางนิพพาน.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/316/1301-1302.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/316/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๒/๑๓๐๑-๑๓๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=565
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37
    ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 565 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565 ชื่อบทธรรม :- ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน --ภิกษุ ท. ! คงคานที ลุ่มไปทางทิศตะวันออก ลาดไปทางทิศตะวันออก เทไปทางทิศตะวันออก ข้อนี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ก็ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน ฉันนั้นก็เหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง &​ทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง &​ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง &​จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=จตฺตาโร+ฌาน กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ #ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/316/1301-1302. http://etipitaka.com/read/thai/19/316/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๒/๑๓๐๑-๑๓๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/19/392/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=565 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=565 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37 ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน
    -ผู้กำลังโน้มเอียงไปสู่นิพพาน ภิกษุ ท. ! คงคานที ลุ่มไปทางทิศตะวันออก ลาดไปทางทิศตะวันออก เทไปทางทิศตะวันออก ข้อนี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ก็ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน ฉันนั้นก็เหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ; เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลง เข้าถึง ทุติยฌานเป็นเครื่องผ่องใสใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ ; อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้ เข้าถึง ตติยฌาน แล้วแลอยู่ ; เพราะละสุขเสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึง จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ภิกษุเจริญฌานสี่อยู่ กระทำฌานสี่ให้มากอยู่ ย่อมเป็นผู้ลุ่มไปทางนิพพาน ลาดไปทางนิพพาน เทไปทางนิพพาน.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 481 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ไฟราคะ"

    เมื่อจิตของท่านมีกิเลส "ราคะ" เข้าครอบงำแล้ว ย่อมเกิดความทะยานอยากในกามารมณ์ ๕.

    หากท่านไม่สามารถกำจัดมันออกไปได้ ท่านจะรู้สึกกระวนกระวาย กระสับกระส่าย วุ่นวาย ทุกข์ทรมานใจด้วยไฟราคะที่แผดเผาจิตท่านนี้.

    จนในที่สุด ท่านได้ล่วงละเมิดในศีลข้อ ๓ กาเมสุมิจฉาจาร ซึ่งเป็นการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย สุดท้ายตัวของท่านเองต้องได้รับวิบากกรรมชั่วนี้ในอนาคตต่อไป.

    ณรงค์ คนขำ
    08/11/2567
    "ไฟราคะ" เมื่อจิตของท่านมีกิเลส "ราคะ" เข้าครอบงำแล้ว ย่อมเกิดความทะยานอยากในกามารมณ์ ๕. หากท่านไม่สามารถกำจัดมันออกไปได้ ท่านจะรู้สึกกระวนกระวาย กระสับกระส่าย วุ่นวาย ทุกข์ทรมานใจด้วยไฟราคะที่แผดเผาจิตท่านนี้. จนในที่สุด ท่านได้ล่วงละเมิดในศีลข้อ ๓ กาเมสุมิจฉาจาร ซึ่งเป็นการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย สุดท้ายตัวของท่านเองต้องได้รับวิบากกรรมชั่วนี้ในอนาคตต่อไป. ณรงค์ คนขำ 08/11/2567
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 132 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts