• #แผงกั้นจราจร
    #แผงกั้นจราจรใส่น้ำ
    #แผงการจราจร SPN
    สอบถามเพิ่มเติม 081-542-5909
    #แผงกั้นจราจร #แผงกั้นจราจรใส่น้ำ #แผงการจราจร SPN สอบถามเพิ่มเติม 081-542-5909
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมุทรปราการ กับโครงการตลาดสินค้าราคาประหยัด ลดค่าครองชีพ เพื่อประชาชน
    https://www.facebook.com/share/p/cQNNCpWsPnnT5hsK/
    สมุทรปราการ กับโครงการตลาดสินค้าราคาประหยัด ลดค่าครองชีพ เพื่อประชาชน https://www.facebook.com/share/p/cQNNCpWsPnnT5hsK/
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 185 มุมมอง 0 รีวิว
  • ที่นั่งชักโครกพลาสติก น้ําหนักเบา ถอดออกได้ ใช้ซำ้ได้ สําหรับฝึกแมวพิกัด📍Shopee:https://s.shopee.co.th/8KYuYsIbSSLAZADA:https://s.lazada.co.th/s.sPnN6 TikTok:https://vt.tiktok.com/ZSjT6Fxdd/.
    ที่นั่งชักโครกพลาสติก น้ําหนักเบา ถอดออกได้ ใช้ซำ้ได้ สําหรับฝึกแมวพิกัด📍Shopee:https://s.shopee.co.th/8KYuYsIbSSLAZADA:https://s.lazada.co.th/s.sPnN6 TikTok:https://vt.tiktok.com/ZSjT6Fxdd/.
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 239 มุมมอง 5 0 รีวิว
  • วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ?   รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square  ≥ 4พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์  ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure. ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยากSummary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้: PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148)จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มากและมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบีย ช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริhttps://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1 https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
    วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ?   รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square  ≥ 4พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์  ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure. ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยากSummary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้: PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148)จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มากและมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบีย ช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริhttps://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1 https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
    Like
    Love
    21
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1259 มุมมอง 1 รีวิว
  • คนที่ชอบ swab บ่อยๆ อดทนอ่านสักนิดนะ
    อันนี้เค้าแปลไทยมาให้แล้ว บรรทัดต่อบรรทัด
    ว่ามันอันตรายยังไง แบบไหน เพราะอะไร
    ⏩เหตุใดหน่วยงานภาครัฐจึงยังดึงดันที่จะบังคับใช้ TR-PCT test เป็น Gold Standard ในการวินิจฉัยผู้ติดเชื้อโkวิdให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ และบ่อยครั้งที่สุดเท่าที่จะบ่อยได้ในบุคคลเดิม
    ⏩ทั้งที่เทคนิคนี้ได้รับการพิสูจน์อย่างกว้างขวางโดยนักวิทยาศาตร์และบุคลากรทางการแพทย์กว่าห้าหมื่นคนทั่วโลกแล้วว่าเป็นวิธีที่เชื่อถือไม่ได้
    ⏩ให้ผลบวกลวง หรือ False Positive มหาศาลกว่า 90% และแม้แต่ Dr. Kary Mullis ผู้คิดค้นเทคนิคนี้เอง
    ยังยืนกรานออกสื่อหลายครั้งว่ามันไม่เที่ยงตรงและนำไปสู่การแปลผลผิดพลาดได้
    ❓เหตุใดจึงเลือกวิธีล่วงล้ำเข้าไปในอวัยวะของพวกเราอย่างมากทั้งที่สามารถทำได้ง่ายจากการตรวจวิเคราะห์น้ำลาย
    📌การสอดไม้ Swab เข้าไปกว้านลึกถึงเพดานจมูกสามารถสร้างความเสียหายต่อเนื้อเยื่อพังผืดที่ห่อหุ้ม Olfactory Nerve
    📌ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพและอายุขัยของมนุษย์ เนื่องจาก olfactory nerve เป็นปราการด่านหนึ่งในสองของกะโหลกศรีษะ
    ⏩ซึ่งเชื่อมระหว่างโพรงจมูกกับสมอง ที่ไวรัสและแบคทีเรียสามารถเดินทางข้าม blood-brain barrier เข้าสู่สมองได้
    📌นอกจากนี้ olfactory nerve ยังเป็นเซลล์ชนิดเดียวในกะโหลกศรีษะที่มี stem cells เรียกว่า olfactory ensheathing cells ที่ล้อมรอบเซลล์รับกลิ่น olfactory sensory axons ส่วนที่ยื่นออกมาจากเซลล์ประสาท neuron
    ⏩ทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากเซลล์ร่างกาย พวกมันทำหน้าที่ปกป้อง olfactory nerve และช่วยการสร้างเซลล์ใหม่เมื่อเกิดความบาดเจ็บเสียหาย (สเต็มเซลล์ชนิดนี้มีความพิเศษมากจนถูกนำไปใช้ในการซ่อมแซมไขสันหลังบาดเจ็บและรักษาโรคทางสมองหลายชนิดในการแพทย์ปัจจุบันอย่างประสบความสำเร็จ)
    ⏩นอกจากนี้ olfactory ensheathing cells ยังช่วยเป็นภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด
    ✅เนื่องจากมันประพฤติตัวเป็น phagocytic กล่าวคือ จับกินและย่อยสลายเชื้อโรคได้
    📌ดังนั้น มันจึงเป็นปราการสำคัญที่ช่วยป้องกันสมองโดยระบบภูมิคุ้มกันธรรมชาติของร่างกาย โดยเซลล์ประสาท Olfactory และ neuron bulb มีอายุขัย 4-8 เดือน
    ก่อนจะถูกแทนที่อย่างต่อเนื่องด้วย neuron stem cell อย่าง olfactory ensheathing cells
    ⏩มันช่วยส่งเสริมการอยู่รอดของเซลล์ประสาทและช่วยในการขยายตัวของ axon
    📌จากงานวิจัยล่าสุด แสดงให้เห็นว่า หาก olfactory ensheathing cells สูญเสียความสามารถในการสร้างใหม่หรือซ่อมแซมตัวเองไป
    ‼️จะทำให้โอกาสการเสียชีวิตภายใน 5 ปี ในผู้ใหญ่วัย 57 – 85 ปี เพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 4 เท่าตัว
    📌การทำงานของ olfactory จึงเสมือนเป็นเครื่องทำนายความสามารถในการดำรงชีวิตภายใน 5 ปี เป็นสัญญาณเตือนเมื่อการสร้างใหม่ของเซลล์ช้าลง และใช้เป็นเครื่องบ่งชี้เมื่อมีการสะสมสารพิษที่สัมผัสจากสิ่งแวดล้อม
    ‼️ Olfactory nerve ที่เสียหายเสมือนป้อมปราการสู่สมองถูกทำลาย ทำให้ง่ายต่อการถูกโจมตีด้วยสิ่งแปลกปลอมและส่งผลอันตรายถึงแก่ชีวิต
    📌การ swab PCR เป็นระยะ จนทำลายความสามารถในการสร้างใหม่ต่อ Olfactory nerve ทำให้เกิดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรในผู้ใหญ่อายุ 57 – 85 ปี ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ
    ‼️การทดสอบ PCR test มีบทบาทสำคัญในการสร้างความเสียหายครั้งแล้วครั้งเล่าต่อ Olfactory nerve
    📌ทำให้เกิดการติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
    ⏩ซึ่งยอดผู้ติดเชื้อนี้ได้ถูกนำไปสนับสนุนให้รัฐบาลยกระดับมาตรการต่อโรคระบาดยิ่งขึ้น
    📌เมื่อมีผู้ถูกทดสอบโดย PCR เพิ่มขึ้น เซลล์ป้องกันจึงถูกทำลายมากขึ้นและมีผู้ติดเชื้อหลากหลายชนิดเพิ่มขึ้นในครั้งต่อมา
    😔โดยจะถูกตีความต่อไปว่า เกิดการติดเชื้อจากไวรัสโkวิdด้วยการเพิ่มจำนวน Cycle ใน thermal cycler จนกว่าเปอร์เซ็นต์จะเพิ่มจนให้ผลเป็นบวก
    ⏩เพื่อสรุปว่าเป็นโkวิdตามต้องการ
    📌อาจมีการโต้แย้งว่า การทดสอบ swab ช่องจมูกที่ถูกต้อง ควรกวาดเป็นมุมสูงไม่เกิน 30 องศา จากแนวระนาบเพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสเส้นประสาทรับกลิ่น
    📌แต่ในตำแหน่งดังกล่าวนี้ ไม้ Swab จะไปไปสัมผัสเส้นประสาท Trigeminal แทน ซึ่งเป็น blood-brain barrier เข้าสู่สมองปราการที่สอง
    ‼️ส่งผลต่อการรับรสและการมองเห็น
    📌นอกจากนี้ เพื่อเป็นการทำลายประสาทรับกลิ่นและรส ไม้ swab ไม่จำเป็นต้องไปสัมผัสโดนจนก่ออันตรายต่อเซลล์ประสาท Trigeminal หรือ Olfactory โดยตรงเลย
    ⁉️แค่ลำพังการสร้างความระคายเคืองต่อเยื่อเมือกในโพรงจมูก ก็สามารถส่งผลกระทบต่ออวัยวะทั้งระบบ Limbic
    📌เนื่องจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก
    ‼️สิ่งนี้สามารถอธิบายได้ว่าเหตุใดผู้ป่วยโควิดจึงสูญเสียการตอบสนองทางพฤติกรรมที่ควบคุมโดยระบบ Limbic เช่น การนอนหลับ ความเหนื่อยล้า การรับรู้ การปรับตัว การเคลื่อนไหว ความจำ เป็นต้น
    📌นอกจากปลายของไม้ swab มีเขี้ยวขรุขระ ประกอบกับวิธีการสอดที่ลึกและการหมุนที่กว้างอย่างรุนแรง
    ⏩ถูกออกแบบมาเพื่อขีดข่วนสร้างความเสียหายให้เยื่อยุผิวมากที่สุดแล้ว
    ‼️ยังพบว่ามีการใช้สารเคมี ethylene oxide ที่รู้จักกันดีว่าเป็นสารก่อมะเร็ง
    📌ถูกนำมาใช้ในการฆ่าเชื้อใน PCR swab test ก่ออันตรายกับเยื่อเมือกโพรงจมูกซึ่งเป็นเนื้อเยื่อที่มีความไวต่อการแพ้
    📌ร่วมกับมาตรการบังคับใช้ให้สวมหน้ากากอนามัยทั้งในที่ร่มและกลางแจ้ง
    📌จึงเป็นการเพิ่มจำนวนแบคทีเรียและไวรัสให้เข้าสู่สมองผ่าน Olfactory nerve และ Trigeminal neve ที่เสียหายให้มากยิ่งขึ้น
    📌จากผลการศึกษาหลายร้อยชิ้น แสดงให้เห็นว่าภายใต้หน้ากากอนามัยเป็นแหล่งปนเปื้อนแบคทีเรียและเชื้อราจำนวนมาก เมื่อสวมใส่เป็นเวลานาน
    📌และหลายงานวิจัยยืนยันว่าการใส่หน้ากากอนามัยเป็นประจำ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจสั้นลง และความเหนื่อยล้าอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05)
    ⏩ในหน้ากาก N95 ออกซิเจนลดลง 72%, คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น 82%, อาการปวดหัว 60%, ความบกพร่องของการหายในอุณหภูมิและความชื้นที่เพิ่มขึ้น 100%.
    📌นอกจากนี้ หลายการศึกษาพบว่า
    การใส่หน้ากากอนามัย ไม่สามารถปิดกั้นการแพร่กระจายของละอองไวรัสได้อย่างสมบูรณ์แม้ขณะปิดสนิท จึงไม่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อ
    📌ในปี 2020 เด็กและวัยรุ่นส่วนใหญ่รอดพ้นการการทดสอบ PCR มีสุขภาพแข็งแรง และไม่มีอาการแสดงการติดเชื้อโควิดเลย
    📌กระทั่งปี 2021 เมื่อมีการทดสอบเชิงรุก พวกเขาก็เริ่มแสดงอาการ ที่เกิดจากโkวิdทันที
    📌ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นการสร้างความเสียหายต่อสมองโดยจงใจ
    ‼️ความบกพร่องในการทำงานของศูนย์กลางการหายใจในสมอง Medula oblongata ก่อให้เกิดภาวะหายใจลำบาก Dyspnoea โดยที่ไม่มีการติดเชื้อหรือรอยโรคใดที่ปอด แต่เป็นความเสียหายทางสมองและระบบประสาท
    เราเรียบเรียงใหม่จากส่วนหนึ่งในบทความ PCR Tests and the Depopulation Program by Kevin Galalae, 10 October 2021
    Cr : Ramone Jira
    คนที่ชอบ swab บ่อยๆ อดทนอ่านสักนิดนะ อันนี้เค้าแปลไทยมาให้แล้ว บรรทัดต่อบรรทัด ว่ามันอันตรายยังไง แบบไหน เพราะอะไร ⏩เหตุใดหน่วยงานภาครัฐจึงยังดึงดันที่จะบังคับใช้ TR-PCT test เป็น Gold Standard ในการวินิจฉัยผู้ติดเชื้อโkวิdให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ และบ่อยครั้งที่สุดเท่าที่จะบ่อยได้ในบุคคลเดิม ⏩ทั้งที่เทคนิคนี้ได้รับการพิสูจน์อย่างกว้างขวางโดยนักวิทยาศาตร์และบุคลากรทางการแพทย์กว่าห้าหมื่นคนทั่วโลกแล้วว่าเป็นวิธีที่เชื่อถือไม่ได้ ⏩ให้ผลบวกลวง หรือ False Positive มหาศาลกว่า 90% และแม้แต่ Dr. Kary Mullis ผู้คิดค้นเทคนิคนี้เอง ยังยืนกรานออกสื่อหลายครั้งว่ามันไม่เที่ยงตรงและนำไปสู่การแปลผลผิดพลาดได้ ❓เหตุใดจึงเลือกวิธีล่วงล้ำเข้าไปในอวัยวะของพวกเราอย่างมากทั้งที่สามารถทำได้ง่ายจากการตรวจวิเคราะห์น้ำลาย 📌การสอดไม้ Swab เข้าไปกว้านลึกถึงเพดานจมูกสามารถสร้างความเสียหายต่อเนื้อเยื่อพังผืดที่ห่อหุ้ม Olfactory Nerve 📌ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพและอายุขัยของมนุษย์ เนื่องจาก olfactory nerve เป็นปราการด่านหนึ่งในสองของกะโหลกศรีษะ ⏩ซึ่งเชื่อมระหว่างโพรงจมูกกับสมอง ที่ไวรัสและแบคทีเรียสามารถเดินทางข้าม blood-brain barrier เข้าสู่สมองได้ 📌นอกจากนี้ olfactory nerve ยังเป็นเซลล์ชนิดเดียวในกะโหลกศรีษะที่มี stem cells เรียกว่า olfactory ensheathing cells ที่ล้อมรอบเซลล์รับกลิ่น olfactory sensory axons ส่วนที่ยื่นออกมาจากเซลล์ประสาท neuron ⏩ทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากเซลล์ร่างกาย พวกมันทำหน้าที่ปกป้อง olfactory nerve และช่วยการสร้างเซลล์ใหม่เมื่อเกิดความบาดเจ็บเสียหาย (สเต็มเซลล์ชนิดนี้มีความพิเศษมากจนถูกนำไปใช้ในการซ่อมแซมไขสันหลังบาดเจ็บและรักษาโรคทางสมองหลายชนิดในการแพทย์ปัจจุบันอย่างประสบความสำเร็จ) ⏩นอกจากนี้ olfactory ensheathing cells ยังช่วยเป็นภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด ✅เนื่องจากมันประพฤติตัวเป็น phagocytic กล่าวคือ จับกินและย่อยสลายเชื้อโรคได้ 📌ดังนั้น มันจึงเป็นปราการสำคัญที่ช่วยป้องกันสมองโดยระบบภูมิคุ้มกันธรรมชาติของร่างกาย โดยเซลล์ประสาท Olfactory และ neuron bulb มีอายุขัย 4-8 เดือน ก่อนจะถูกแทนที่อย่างต่อเนื่องด้วย neuron stem cell อย่าง olfactory ensheathing cells ⏩มันช่วยส่งเสริมการอยู่รอดของเซลล์ประสาทและช่วยในการขยายตัวของ axon 📌จากงานวิจัยล่าสุด แสดงให้เห็นว่า หาก olfactory ensheathing cells สูญเสียความสามารถในการสร้างใหม่หรือซ่อมแซมตัวเองไป ‼️จะทำให้โอกาสการเสียชีวิตภายใน 5 ปี ในผู้ใหญ่วัย 57 – 85 ปี เพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 4 เท่าตัว 📌การทำงานของ olfactory จึงเสมือนเป็นเครื่องทำนายความสามารถในการดำรงชีวิตภายใน 5 ปี เป็นสัญญาณเตือนเมื่อการสร้างใหม่ของเซลล์ช้าลง และใช้เป็นเครื่องบ่งชี้เมื่อมีการสะสมสารพิษที่สัมผัสจากสิ่งแวดล้อม ‼️ Olfactory nerve ที่เสียหายเสมือนป้อมปราการสู่สมองถูกทำลาย ทำให้ง่ายต่อการถูกโจมตีด้วยสิ่งแปลกปลอมและส่งผลอันตรายถึงแก่ชีวิต 📌การ swab PCR เป็นระยะ จนทำลายความสามารถในการสร้างใหม่ต่อ Olfactory nerve ทำให้เกิดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรในผู้ใหญ่อายุ 57 – 85 ปี ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ ‼️การทดสอบ PCR test มีบทบาทสำคัญในการสร้างความเสียหายครั้งแล้วครั้งเล่าต่อ Olfactory nerve 📌ทำให้เกิดการติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ⏩ซึ่งยอดผู้ติดเชื้อนี้ได้ถูกนำไปสนับสนุนให้รัฐบาลยกระดับมาตรการต่อโรคระบาดยิ่งขึ้น 📌เมื่อมีผู้ถูกทดสอบโดย PCR เพิ่มขึ้น เซลล์ป้องกันจึงถูกทำลายมากขึ้นและมีผู้ติดเชื้อหลากหลายชนิดเพิ่มขึ้นในครั้งต่อมา 😔โดยจะถูกตีความต่อไปว่า เกิดการติดเชื้อจากไวรัสโkวิdด้วยการเพิ่มจำนวน Cycle ใน thermal cycler จนกว่าเปอร์เซ็นต์จะเพิ่มจนให้ผลเป็นบวก ⏩เพื่อสรุปว่าเป็นโkวิdตามต้องการ 📌อาจมีการโต้แย้งว่า การทดสอบ swab ช่องจมูกที่ถูกต้อง ควรกวาดเป็นมุมสูงไม่เกิน 30 องศา จากแนวระนาบเพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสเส้นประสาทรับกลิ่น 📌แต่ในตำแหน่งดังกล่าวนี้ ไม้ Swab จะไปไปสัมผัสเส้นประสาท Trigeminal แทน ซึ่งเป็น blood-brain barrier เข้าสู่สมองปราการที่สอง ‼️ส่งผลต่อการรับรสและการมองเห็น 📌นอกจากนี้ เพื่อเป็นการทำลายประสาทรับกลิ่นและรส ไม้ swab ไม่จำเป็นต้องไปสัมผัสโดนจนก่ออันตรายต่อเซลล์ประสาท Trigeminal หรือ Olfactory โดยตรงเลย ⁉️แค่ลำพังการสร้างความระคายเคืองต่อเยื่อเมือกในโพรงจมูก ก็สามารถส่งผลกระทบต่ออวัยวะทั้งระบบ Limbic 📌เนื่องจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก ‼️สิ่งนี้สามารถอธิบายได้ว่าเหตุใดผู้ป่วยโควิดจึงสูญเสียการตอบสนองทางพฤติกรรมที่ควบคุมโดยระบบ Limbic เช่น การนอนหลับ ความเหนื่อยล้า การรับรู้ การปรับตัว การเคลื่อนไหว ความจำ เป็นต้น 📌นอกจากปลายของไม้ swab มีเขี้ยวขรุขระ ประกอบกับวิธีการสอดที่ลึกและการหมุนที่กว้างอย่างรุนแรง ⏩ถูกออกแบบมาเพื่อขีดข่วนสร้างความเสียหายให้เยื่อยุผิวมากที่สุดแล้ว ‼️ยังพบว่ามีการใช้สารเคมี ethylene oxide ที่รู้จักกันดีว่าเป็นสารก่อมะเร็ง 📌ถูกนำมาใช้ในการฆ่าเชื้อใน PCR swab test ก่ออันตรายกับเยื่อเมือกโพรงจมูกซึ่งเป็นเนื้อเยื่อที่มีความไวต่อการแพ้ 📌ร่วมกับมาตรการบังคับใช้ให้สวมหน้ากากอนามัยทั้งในที่ร่มและกลางแจ้ง 📌จึงเป็นการเพิ่มจำนวนแบคทีเรียและไวรัสให้เข้าสู่สมองผ่าน Olfactory nerve และ Trigeminal neve ที่เสียหายให้มากยิ่งขึ้น 📌จากผลการศึกษาหลายร้อยชิ้น แสดงให้เห็นว่าภายใต้หน้ากากอนามัยเป็นแหล่งปนเปื้อนแบคทีเรียและเชื้อราจำนวนมาก เมื่อสวมใส่เป็นเวลานาน 📌และหลายงานวิจัยยืนยันว่าการใส่หน้ากากอนามัยเป็นประจำ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจสั้นลง และความเหนื่อยล้าอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ⏩ในหน้ากาก N95 ออกซิเจนลดลง 72%, คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น 82%, อาการปวดหัว 60%, ความบกพร่องของการหายในอุณหภูมิและความชื้นที่เพิ่มขึ้น 100%. 📌นอกจากนี้ หลายการศึกษาพบว่า การใส่หน้ากากอนามัย ไม่สามารถปิดกั้นการแพร่กระจายของละอองไวรัสได้อย่างสมบูรณ์แม้ขณะปิดสนิท จึงไม่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อ 📌ในปี 2020 เด็กและวัยรุ่นส่วนใหญ่รอดพ้นการการทดสอบ PCR มีสุขภาพแข็งแรง และไม่มีอาการแสดงการติดเชื้อโควิดเลย 📌กระทั่งปี 2021 เมื่อมีการทดสอบเชิงรุก พวกเขาก็เริ่มแสดงอาการ ที่เกิดจากโkวิdทันที 📌ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นการสร้างความเสียหายต่อสมองโดยจงใจ ‼️ความบกพร่องในการทำงานของศูนย์กลางการหายใจในสมอง Medula oblongata ก่อให้เกิดภาวะหายใจลำบาก Dyspnoea โดยที่ไม่มีการติดเชื้อหรือรอยโรคใดที่ปอด แต่เป็นความเสียหายทางสมองและระบบประสาท เราเรียบเรียงใหม่จากส่วนหนึ่งในบทความ PCR Tests and the Depopulation Program by Kevin Galalae, 10 October 2021 Cr : Ramone Jira
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 658 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ถังน้ำ #แทงค์น้ำ 50 ลิตร #spn
    #rotozon
    #ถังน้ำ #แทงค์น้ำ 50 ลิตร #spn #rotozon
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 156 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ? “

    รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square ≥ 4

    พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์ ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure.

    ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยาก

    Summary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้ : PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148)

    จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มาก

    และมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบียช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม

    พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

    เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ

    Reference :

    https://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1

    https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
    “ วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ? “ รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square ≥ 4 พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์ ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure. ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยาก Summary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้ : PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148) จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มาก และมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบียช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ Reference : https://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1 https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
    WWW.PREPRINTS.ORG
    Are COVID-19 Vaccines in Pregnancy as Safe and Effective as the U.S. Government, Medical Organizations, and Pharmaceutical Industry Claim? Part I
    Introduction: In Part I of this three-part series we report a retrospective, population-based cohort study assessing rates of adverse events (AEs) in pregnancy after COVID-19 vaccines compared to the same AEs after influenza vaccines and after all other vaccines. Methods: Data were collected from the U.S. Centers for Disease Control and prevention (CDC) and the U.S. Food and Drug Administration (FDA). The CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) database was queried from January 1, 1990, to April 26, 2024, for adverse events (AEs) involving pregnancy complications following COVID-19 vaccination. The time-period included 412 months for all vaccines except COVID-19 vaccines, having been used for only 40 of the 412 months (December 1, 2020, to April 26, 2024). Proportional reporting ratios (PRR) by time compared AEs after COVID-19 vaccination to those after influenza vaccination, and after all other vaccine products administered to pregnant women. In cases in which the PRR was not applicable, Chi-square analysis and Fisher’s exact tests were used according to CDC/FDA guidance. CDC/FDA stipulate a safety concern if a PRR is ≥ 2 or if a Chi-square is ≥ 4. Results: The CDC/FDA’s safety signals were breached for all 37 AEs following COVID-19 vaccination in pregnancy: miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, and neonatal seizure. All p values were ≤ 0.001 with the majority being
    Like
    6
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 815 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ? “

    รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square ≥ 4

    พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์ ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure.

    ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยาก

    Summary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้ : PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148)

    จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มาก

    และมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบียช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม

    พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

    เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ

    Reference :

    https://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1

    https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
    “ วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ? “ รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square ≥ 4 พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์ ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure. ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยาก Summary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้ : PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148) จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มาก และมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบียช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ Reference : https://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1 https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 472 มุมมอง 0 รีวิว
  • 12 ตุลาคม 2567-ด้วยความรู้สึกห่วงใยพี่โสภณ องค์การณ์ดุจญาติผู้ใหญ่ในวงการสื่อมวลชนมืออาชีพ ขอให้พี่โสภณ องค์การณ์ สื่อมวลชนที่กล้าหาญสู้อธรรมแบบโหด มัน ฮา และเฉียบคมเชี่ยวชาญข่าวทั้งไทยและเทศ เมืองไทยต้องการนักข่าวอย่างพี่โสภณ ขอสวดมนต์คุณพระรัตนตรัยให้อาการพี่โสดีขึ้น

    ร่วมส่งกำลังใจให้พี่โสภณผ่านบัญชี
    นายปรินทร์ องค์การณ์ (บุตรชาย)
    บัญชีธนาคารไทยพาณิชย์
    175-2-41837-7

    https://www.youtube.com/live/IxUk5yRE6DU?si=zvYSEYMrS11eSPn0

    #Thaitimes
    12 ตุลาคม 2567-ด้วยความรู้สึกห่วงใยพี่โสภณ องค์การณ์ดุจญาติผู้ใหญ่ในวงการสื่อมวลชนมืออาชีพ ขอให้พี่โสภณ องค์การณ์ สื่อมวลชนที่กล้าหาญสู้อธรรมแบบโหด มัน ฮา และเฉียบคมเชี่ยวชาญข่าวทั้งไทยและเทศ เมืองไทยต้องการนักข่าวอย่างพี่โสภณ ขอสวดมนต์คุณพระรัตนตรัยให้อาการพี่โสดีขึ้น ร่วมส่งกำลังใจให้พี่โสภณผ่านบัญชี นายปรินทร์ องค์การณ์ (บุตรชาย) บัญชีธนาคารไทยพาณิชย์ 175-2-41837-7 https://www.youtube.com/live/IxUk5yRE6DU?si=zvYSEYMrS11eSPn0 #Thaitimes
    Love
    Like
    8
    6 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 626 มุมมอง 0 รีวิว
  • ควรค่าแก่การเดินทางชัน 4 กม.
    ขึ้นไปหา เพราะไม่ว่าเวลาไหน ก็สวย
    ☆ผานารายณ์
    อยู่บนยอดเขาหลวง ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติรามคำแหง
    ประมาณ 4 กิโลเมตร
    เป็นสถานที่ชมพระอาทิตย์ขึ้นที่สวยงามที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดสุโขทัย
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/gtQGE_vJRqA?si=fmNI6J5Qo4MexV_e
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.2
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/z0Gr1LC5tDU?si=EZxuvdp3IMkKQTdu
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.3
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/pqGM-u7fUa4?si=AOnYPH7GlOSpN2i5

    #เขาหลวงสุโขทัย #มะนาวก้าวเดิน #สุโขทัย #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย #รีวิวท่องเที่ยวด้วยรถสาธารณะ #manowjourney
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    ควรค่าแก่การเดินทางชัน 4 กม. ขึ้นไปหา เพราะไม่ว่าเวลาไหน ก็สวย ☆ผานารายณ์ อยู่บนยอดเขาหลวง ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติรามคำแหง ประมาณ 4 กิโลเมตร เป็นสถานที่ชมพระอาทิตย์ขึ้นที่สวยงามที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดสุโขทัย ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/gtQGE_vJRqA?si=fmNI6J5Qo4MexV_e ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.2 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/z0Gr1LC5tDU?si=EZxuvdp3IMkKQTdu ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.3 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/pqGM-u7fUa4?si=AOnYPH7GlOSpN2i5 #เขาหลวงสุโขทัย #มะนาวก้าวเดิน #สุโขทัย #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย #รีวิวท่องเที่ยวด้วยรถสาธารณะ #manowjourney #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 923 มุมมอง 124 0 รีวิว
  • ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/gtQGE_vJRqA?si=fmNI6J5Qo4MexV_e
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.2
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/z0Gr1LC5tDU?si=EZxuvdp3IMkKQTdu
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.3
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/pqGM-u7fUa4?si=AOnYPH7GlOSpN2i5
    ■■■■■■■
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/gtQGE_vJRqA?si=fmNI6J5Qo4MexV_e ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.2 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/z0Gr1LC5tDU?si=EZxuvdp3IMkKQTdu ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.3 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/pqGM-u7fUa4?si=AOnYPH7GlOSpN2i5 ■■■■■■■ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 745 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/gtQGE_vJRqA?si=fmNI6J5Qo4MexV_e
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.2
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/z0Gr1LC5tDU?si=EZxuvdp3IMkKQTdu
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.3
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/pqGM-u7fUa4?si=AOnYPH7GlOSpN2i5
    ■■■■■■■
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/gtQGE_vJRqA?si=fmNI6J5Qo4MexV_e ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.2 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/z0Gr1LC5tDU?si=EZxuvdp3IMkKQTdu ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.3 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/pqGM-u7fUa4?si=AOnYPH7GlOSpN2i5 ■■■■■■■ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 648 มุมมอง 157 0 รีวิว
  • #ถังแช่ #ลังน้ำแข็ง #spn #rotozon
    #ถังแช่ #ลังน้ำแข็ง #spn #rotozon
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 136 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1
    》นัดเจอรถตู้ (vip) และเพื่อนๆที่จะไปพิชิตเขาหลวงสุโขทัย
    》》ที่ ทางเข้า MRTจตุจักร ประตู 3
    ลานจอดรถ
    ☆วันที่ 4 ตุลาคม ออกเดินทาง 21:00 น.
    ☆เช้ามืดวันที่ 5 ตุลาคม
    แวะตลาด และ ร้านเซเว่น เพื่อเตรียมอาหารกินมื้อเช้า และ มื้อกลางวัน
    ส่วนมื้อเย็น ข้างบนยอดเขาหลวงสุโขทัย มีข้าวไข่เจียวจำหน่าย ค้างคืนบนเขา 1 คืน
    ระยะทางจากอุทยานรามคำแหง ถึง ยอดเขาหลวงสุโขทัย 3.7 กม. ใช้เวลาเดิน 4-5 ช.ม.
    ☆วันที่ 6 ตุลาคม ชมพระอาทิตย์ขึ้น กินข้าวเช้าบนเขาหลวงสุโขทัย พร้อมเดินลง ใช้เวลาเดิน 2-3 ช.ม.
    อาบน้ำ ขึ้นรถตู้กลับกรุงเทพฯ
    》》ค่ารถตู้คนละ 1,200 บาท
    ท่านใดสนใจทริปไหนก็ติดต่อ
    ☆หวาน หวาน อัพ จี
    》》
    https://www.facebook.com/profile.php?id=100007026153834&mibextid=ZbWKwL
    《《
    ได้เลย
    มะนาวก้าวเดิน เดินทางรถตู้พี่จ่าบ่อยมาก และ ปีนี้ก็ยังมีอีกหลายทริปที่จะไปอีก
    》》แล้วตาม มะนาวก้าวเดิน ไปเขาหลวงสุโขทัย กันนนน《《
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/gtQGE_vJRqA?si=fmNI6J5Qo4MexV_e
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.2
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/z0Gr1LC5tDU?si=EZxuvdp3IMkKQTdu
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.3
    ●ชมวีดีโอ
    》》
    https://youtu.be/pqGM-u7fUa4?si=AOnYPH7GlOSpN2i5
    ■■■■■■■■■
    #มะนาวก้าวเดิน #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย #เขาหลวงสุโขทัย #หารเฉลี่ยรถรับส่งภูสอยดาวByพี่จ่า #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1 》นัดเจอรถตู้ (vip) และเพื่อนๆที่จะไปพิชิตเขาหลวงสุโขทัย 》》ที่ ทางเข้า MRTจตุจักร ประตู 3 ลานจอดรถ ☆วันที่ 4 ตุลาคม ออกเดินทาง 21:00 น. ☆เช้ามืดวันที่ 5 ตุลาคม แวะตลาด และ ร้านเซเว่น เพื่อเตรียมอาหารกินมื้อเช้า และ มื้อกลางวัน ส่วนมื้อเย็น ข้างบนยอดเขาหลวงสุโขทัย มีข้าวไข่เจียวจำหน่าย ค้างคืนบนเขา 1 คืน ระยะทางจากอุทยานรามคำแหง ถึง ยอดเขาหลวงสุโขทัย 3.7 กม. ใช้เวลาเดิน 4-5 ช.ม. ☆วันที่ 6 ตุลาคม ชมพระอาทิตย์ขึ้น กินข้าวเช้าบนเขาหลวงสุโขทัย พร้อมเดินลง ใช้เวลาเดิน 2-3 ช.ม. อาบน้ำ ขึ้นรถตู้กลับกรุงเทพฯ 》》ค่ารถตู้คนละ 1,200 บาท ท่านใดสนใจทริปไหนก็ติดต่อ ☆หวาน หวาน อัพ จี 》》 https://www.facebook.com/profile.php?id=100007026153834&mibextid=ZbWKwL 《《 ได้เลย มะนาวก้าวเดิน เดินทางรถตู้พี่จ่าบ่อยมาก และ ปีนี้ก็ยังมีอีกหลายทริปที่จะไปอีก 》》แล้วตาม มะนาวก้าวเดิน ไปเขาหลวงสุโขทัย กันนนน《《 ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.1 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/gtQGE_vJRqA?si=fmNI6J5Qo4MexV_e ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.2 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/z0Gr1LC5tDU?si=EZxuvdp3IMkKQTdu ☆พิชิตเขาหลวงสุโขทัย EP.3 ●ชมวีดีโอ 》》 https://youtu.be/pqGM-u7fUa4?si=AOnYPH7GlOSpN2i5 ■■■■■■■■■ #มะนาวก้าวเดิน #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย #เขาหลวงสุโขทัย #หารเฉลี่ยรถรับส่งภูสอยดาวByพี่จ่า #พิชิตเขาหลวงสุโขทัย #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1140 มุมมอง 373 0 รีวิว
  • #ถังขยะ #spn #rotozon
    สอบถามได้นะคะ
    #ถังขยะ #spn #rotozon สอบถามได้นะคะ
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 137 มุมมอง 0 รีวิว
  • มะรุม กับข้าวฟ่าง สำคัญมากนะในอนาคต
    Millet basic cooking instruction...
    Makes 3 or 4, 1-cup servings

    Millet seeds 220g (1 cup)
    Water 2 1/2 cups
    Salt 1 teaspoon
    Sesame seeds 2 Tblspn
    Nutritional yeast 2 Tblspn
    Curry powder 2 Tspn
    Moringa powder 3 Tspn
    Coconut oil 3 Tspn

    Bring water to boil,
    add all ingredients.
    Cook with low heat
    for 25 to 30 minutes.
    Stir occasionally, add
    more water if necessary.

    And serve with 2-3 soft boiled
    egg yolks, 1/4 cup olive oil,
    2 Tblspn beef tallow or ghee...
    Steamed vegetables are optional.
    มะรุม กับข้าวฟ่าง สำคัญมากนะในอนาคต Millet basic cooking instruction... Makes 3 or 4, 1-cup servings Millet seeds 220g (1 cup) Water 2 1/2 cups Salt 1 teaspoon Sesame seeds 2 Tblspn Nutritional yeast 2 Tblspn Curry powder 2 Tspn Moringa powder 3 Tspn Coconut oil 3 Tspn Bring water to boil, add all ingredients. Cook with low heat for 25 to 30 minutes. Stir occasionally, add more water if necessary. And serve with 2-3 soft boiled egg yolks, 1/4 cup olive oil, 2 Tblspn beef tallow or ghee... Steamed vegetables are optional.
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 198 มุมมอง 0 รีวิว