อริยสาวกพึงศึกษาให้เห็นโทษของกามว่าความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
สัทธรรมลำดับที่ : 261
ชื่อบทธรรม :- ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=261
เนื้อความทั้งหมด :-
--ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
--ภิกษุ ท. ! อริฏฐภิกขุคันธวาธิปุพพะ กล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดราก ตนเองด้วย
ประสพสิ่งมิใช่บุญเป็นอันมากด้วย
เพราะตัวเองจับฉวยเอาผิด ใน ธรรมที่เราแสดงแล้วอย่างไร,
แม้พวกเธอทั้งหลาย ก็เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้ว เหมือนอย่างอริฎฐภิกขุนั้นหรือ ?
“หามิได้ พระเจ้าข้า !
ธรรมเหล่าใด อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วโดยหลายแง่หลายมุม
แก่พวกข้าพระองค์ทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ,
ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง.
กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก
มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่
ควรเปรียบเทียบด้วยท่อนแห่งกระดูก,
ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ,
ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า,
ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง,
ควรเปรียบด้วยความฝัน,
ควรเปรียบด้วยของยืม,
ควรเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้,
ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ,
ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว,
และควรเปรียบด้วยหัวงู,
ดังนี้”
--ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว, ที่พวกเธอทั้งหลาย เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้วอย่างนั้น.
--ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใด ที่เรากล่าวแล้ว โดยหลายแง่หลายมุม
แก่พวกเธอทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ
ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง.
กามทั้งหลาย เรากล่าวแล้ว ว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก
มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่
ควรเปรียบด้วยท่อนแห่งกระดูก,
ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ,
ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า,
ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง,
ควรเปรียบด้วยของในความฝัน,
ควรเปรียบด้วยของยืม,
ควรเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้,
ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ,
ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว,
และควรเปรียบด้วยหัวงู
ฉะนั้น.
ก็แต่ว่า อริฎฐภิกขุคันธวาธิปุพพะนี้ เพราะตัวเอง ถือเอาธรรมที่เราแสดงแล้วผิด
จึงกล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดรากตนเองด้วย และประสพสิ่งมิใช่บุญ เป็นอันมากด้วย,
ข้อนั้น
#จักเป็นไปเพื่อความทุกข์ อันมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน
แก่โมฆบุรุษนั้นแล.-
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก
#พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/184/276.
http://etipitaka.com/read/thai/12/184/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๖๔/๒๗๖.
http://etipitaka.com/read/pali/12/264/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=261 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=261
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3 อริยสาวกพึงศึกษาให้เห็นโทษของกามว่าความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
สัทธรรมลำดับที่ : 261
ชื่อบทธรรม :- ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=261
เนื้อความทั้งหมด :-
--ความอร่อยที่ไม่คุ้มกับความทุกข์
--ภิกษุ ท. ! อริฏฐภิกขุคันธวาธิปุพพะ กล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดราก ตนเองด้วย
ประสพสิ่งมิใช่บุญเป็นอันมากด้วย
เพราะตัวเองจับฉวยเอาผิด ใน ธรรมที่เราแสดงแล้วอย่างไร,
แม้พวกเธอทั้งหลาย ก็เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้ว เหมือนอย่างอริฎฐภิกขุนั้นหรือ ?
“หามิได้ พระเจ้าข้า !
ธรรมเหล่าใด อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วโดยหลายแง่หลายมุม
แก่พวกข้าพระองค์ทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ,
ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง.
กามทั้งหลาย อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก
มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษอย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่
ควรเปรียบเทียบด้วยท่อนแห่งกระดูก,
ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ,
ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า,
ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง,
ควรเปรียบด้วยความฝัน,
ควรเปรียบด้วยของยืม,
ควรเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้,
ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ,
ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว,
และควรเปรียบด้วยหัวงู,
ดังนี้”
--ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว, ที่พวกเธอทั้งหลาย เข้าใจธรรมที่เราแสดง แล้วอย่างนั้น.
--ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าใด ที่เรากล่าวแล้ว โดยหลายแง่หลายมุม
แก่พวกเธอทั้งหลาย ว่า เป็นธรรมที่ทำอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติ
ธรรมเหล่านั้น ก็สามารถที่จะทำอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติได้จริง.
กามทั้งหลาย เรากล่าวแล้ว ว่า มีรสอร่อยน้อย มีทุกข์มาก
มีเรื่องทำให้คับแค้นใจมาก และมีโทษ อย่างยิ่ง เป็นสิ่งที่
ควรเปรียบด้วยท่อนแห่งกระดูก,
ควรเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ,
ควรเปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า,
ควรเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง,
ควรเปรียบด้วยของในความฝัน,
ควรเปรียบด้วยของยืม,
ควรเปรียบด้วยผลไม้บนต้นไม้,
ควรเปรียบด้วยเขียงสับเนื้อ,
ควรเปรียบด้วยหอกและหลาว,
และควรเปรียบด้วยหัวงู
ฉะนั้น.
ก็แต่ว่า อริฎฐภิกขุคันธวาธิปุพพะนี้ เพราะตัวเอง ถือเอาธรรมที่เราแสดงแล้วผิด
จึงกล่าวตู่พวกเราด้วย ขุดรากตนเองด้วย และประสพสิ่งมิใช่บุญ เป็นอันมากด้วย,
ข้อนั้น #จักเป็นไปเพื่อความทุกข์ อันมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน
แก่โมฆบุรุษนั้นแล.-
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/184/276.
http://etipitaka.com/read/thai/12/184/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๖๔/๒๗๖.
http://etipitaka.com/read/pali/12/264/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=261
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=261
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3