• ตึกถล่ม สร้างใหม่ได้ แต่ศรัทธา…อาจไม่กลับมาอีกแล้วผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินชี้แจงว่า “เก้าอี้ตัวละ 90,000 มีแค่ของประธาน” “เจ้าหน้าที่ทั่วไปนั่งตัวละหมื่น–สองหมื่น” เหมือนจะพยายามลบภาพฟุ่มเฟือย แต่ลบยังไง…ก็ไม่อาจลบคำถามจากสังคมได้ทำไมถึงกล้าใช้เงินภาษีซื้อของแพงขนาดนั้น? ทำไมองค์กรตรวจสอบถึงตั้งมาตรฐานที่ฟุ่มเฟือยได้ขนาดนี้?คำว่า “ทำตามระเบียบ” ไม่ใช่คำตอบ เพราะถ้ามาตรฐานมันแย่ หน้าที่ของคุณคือรื้อ ไม่ใช่ทำตามสังคมไม่ได้ต้องการคำอธิบายรายประเด็น ไม่ได้อยากฟังคำพูดที่เอาไว้ “ฟอกตัวเอง” แต่ต้องการเห็นผู้นำองค์กร กล้ายอมรับ กล้ารื้อระบบ และกล้าปรับวิธีคิดเพราะถ้าคนที่ทำหน้าที่ “ตรวจสอบ” ยังไม่รู้ว่าตัวเองทำผิดตรงไหน ก็อย่าหวังให้ใครเชื่อมั่นในระบบนี้อีกต่อไปตึกถล่ม…สร้างใหม่อาจได้อาคาร แต่ถ้ายังไม่ยอมรับความผิดพลาด สิ่งที่ไม่มีวันได้กลับมา คือศรัทธาของประชาชนเพราะตึกจะถล่มแค่ครั้งเดียว แต่ถ้าคำชี้แจงยังบิดเบือน ศรัทธาจะถล่มซ้ำ…ทุกครั้งที่คุณพูดอ่านบทความฉบับเต็มคลิก https://thepublisherth.com/16455-2/ #ThePublisherTH #สำนักข่าวออนไลน์เพื่อสังคม #ตึกถล่ม #ตึกสตงถล่ม #ตึกสตง #ศรัทธาประชาชน #คอร์รัปชัน #ไม่ได้มาตรฐาน - - - - - - - - - - - - - - - - - - ติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ https://thepublisherth.com/https://thepublisherth.com/16455-2/?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR7-29B4KrD9FWsRztzOlQROrdsvd1pTW-mPdnhI7C99no7TIuAxRjo70xwQqQ_aem_Oxe2GqhVEHgQgjpokctUuQ
    ตึกถล่ม สร้างใหม่ได้ แต่ศรัทธา…อาจไม่กลับมาอีกแล้วผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินชี้แจงว่า “เก้าอี้ตัวละ 90,000 มีแค่ของประธาน” “เจ้าหน้าที่ทั่วไปนั่งตัวละหมื่น–สองหมื่น” เหมือนจะพยายามลบภาพฟุ่มเฟือย แต่ลบยังไง…ก็ไม่อาจลบคำถามจากสังคมได้ทำไมถึงกล้าใช้เงินภาษีซื้อของแพงขนาดนั้น? ทำไมองค์กรตรวจสอบถึงตั้งมาตรฐานที่ฟุ่มเฟือยได้ขนาดนี้?คำว่า “ทำตามระเบียบ” ไม่ใช่คำตอบ เพราะถ้ามาตรฐานมันแย่ หน้าที่ของคุณคือรื้อ ไม่ใช่ทำตามสังคมไม่ได้ต้องการคำอธิบายรายประเด็น ไม่ได้อยากฟังคำพูดที่เอาไว้ “ฟอกตัวเอง” แต่ต้องการเห็นผู้นำองค์กร กล้ายอมรับ กล้ารื้อระบบ และกล้าปรับวิธีคิดเพราะถ้าคนที่ทำหน้าที่ “ตรวจสอบ” ยังไม่รู้ว่าตัวเองทำผิดตรงไหน ก็อย่าหวังให้ใครเชื่อมั่นในระบบนี้อีกต่อไปตึกถล่ม…สร้างใหม่อาจได้อาคาร แต่ถ้ายังไม่ยอมรับความผิดพลาด สิ่งที่ไม่มีวันได้กลับมา คือศรัทธาของประชาชนเพราะตึกจะถล่มแค่ครั้งเดียว แต่ถ้าคำชี้แจงยังบิดเบือน ศรัทธาจะถล่มซ้ำ…ทุกครั้งที่คุณพูดอ่านบทความฉบับเต็มคลิก https://thepublisherth.com/16455-2/ #ThePublisherTH #สำนักข่าวออนไลน์เพื่อสังคม #ตึกถล่ม #ตึกสตงถล่ม #ตึกสตง #ศรัทธาประชาชน #คอร์รัปชัน #ไม่ได้มาตรฐาน - - - - - - - - - - - - - - - - - - ติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ https://thepublisherth.com/https://thepublisherth.com/16455-2/?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR7-29B4KrD9FWsRztzOlQROrdsvd1pTW-mPdnhI7C99no7TIuAxRjo70xwQqQ_aem_Oxe2GqhVEHgQgjpokctUuQ
    THEPUBLISHERTH.COM
    ศรัทธาถล่มแรงกว่าตึก : ชำแหละวิธีคิด ผู้ว่า สตง. ความวิบัติขององค์กรต้นแบบวินัยการคลัง
    “เงินแผ่นดินนั้นคือเงินของประชาชนทั้งชาติ” — คำขวัญนี้ปรากฏอยู่ในตราสัญลักษณ์ของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.)แต่คำชี้แจงของผู้ว่าสตง. และบรรยากาศภายในองค์กรหลัง “ตึกถล่ม–เฟอร์นิเจอร์ราคาแพง” กลับสะท้อนสิ่งตรงกันข้ามอย่างสิ้นเชิง คนทั้งสังคมเริ่มตั้งคำถามดังขึ้นเรื่อย ๆ ว่า “ผู้บริหาร สตง. เข้าใจคำขวัญนี้จริงหรือไม่?”————-คำชี้แจงที่บอกเราว่า “ผู้ตรวจสอบยังไม่เข้าใจปัญหา” เมื่อ มณเฑียร เจริญผล ผู้ว่าสตง. ออกมาชี้แจงกรณีถูกวิจารณ์ว่าใช้งบจัดซื้อครุภัณฑ์แพงเกินความจำเป็น เช่น เก้าอี้ตัวละ 90,000 บาท ด้วยน้ำเสียงที่คล้ายโต้ตอบความเข้าใจผิดทางเทคนิค — แทนที่จะยอมรับว่าปัญหาอยู่ที่ “วิธีคิด” — มันยิ่งตอกย้ำว่าสำนักงานนี้ไม่เข้าใจเลยว่าความเชื่อมั่นของประชาชนกำลังถล่มทลาย คำชี้แจงว่า “เก้าอี้ราคาแพงมีเพียงชุดประธาน” ไม่ได้ช่วยลบข้อสงสัย เพราะคำถามจริง ๆ คือ—ทำไมถึงกล้าใช้เงินภาษีซื้อของหรูขนาดนั้น? ในวันที่คนทั้งประเทศยังยากลำบาก…แต่คนทำหน้าที่ตรวจสอบเงินแผ่นดินกลับใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย นี่คือประเด็น…ที่น่าแปลกใจว่าจนถึงขณะนี้ผู้บริหารสตง.ยังตีโจทย์ความโกรธของสังคมไม่แตก! คำชี้แจงว่า “เจ้าหน้าที่มีเก้าอี้ราคาแค่ 1-2 หมื่น” ตั้งราคาครุภัณฑ์ตามสถานะ ก็ยิ่งดูแย่ เพราะมันยิ่งเกิดคำถามว่า—-ทำไมถึงกล้าตั้งมาตรฐานที่สิ้นเปลืองตั้งแต่ต้น? ระบบคิดที่สะท้อนว่าคุณไม่เคยตรวจตัวเอง เมื่อสตง.บอกว่าสิ่งที่ทำเป็นไปตามระเบียบราชการแต่เคยย้อนดูสำนึกในฐานะ “ผู้ตรวจเงินแผ่นดิน” ไหม?ว่าใช้จ่ายแบบนี้มัน “คุ้มค่า” กับเงินประชาชนหรือเปล่า? คุณกล้าชี้นิ้วคนอื่นว่าใช้เงินแผ่นดินอย่างไม่เหมาะสมแต่ในวันที่คุณเป็นผู้ใช้งบเอง…กลับใช้ตรรกะเดียวกับที่คุณตำหนิคนอื่นที่สังคมเขาโกรธคือ…ไม่ละอายเลยหรือ? นี่ไม่ใช่เรื่องเก้าอี้แพง แต่คือคำถามต่อคุณธรรมในการใช้อำนาจงบประมาณ และเมื่อองค์กรตรวจสอบกลับไม่สะท้อนสำนึกนี้ออกมาในคำแถลงมันจึงไม่ใช่แค่ความผิดพลาดทางการจัดซื้อ —
    Like
    Angry
    3
    0 Comments 1 Shares 132 Views 0 Reviews
  • “ทีมสุดซอย” บุก รง.เหล็ก IF พบไม่ได้มาตรฐาน-ลอบผลิต เจ้าของอ่วมโทษคุก 4 กระทง 6 เดือน-2 ปี ปรับอีก 2 ล้านต่อกระทง
    https://www.thai-tai.tv/news/18325/
    “ทีมสุดซอย” บุก รง.เหล็ก IF พบไม่ได้มาตรฐาน-ลอบผลิต เจ้าของอ่วมโทษคุก 4 กระทง 6 เดือน-2 ปี ปรับอีก 2 ล้านต่อกระทง https://www.thai-tai.tv/news/18325/
    0 Comments 0 Shares 52 Views 0 Reviews
  • เมินซินเคอหยวนแถลงโต้ พวกนี้หัวหมอต้องจัดการ : [THE MESSAGE]

    นายเอกนัฏ พร้อมพันธ์ รมว.อุตสาหกรรม เผยถึงคำชี้แจงจากบริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด ไม่มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ฟังไม่ขึ้นแม้แต่เรื่องเดียว ข้อสงสัยของสังคม เช่น ผลิตของตกมาตรฐานถึง 3 ครั้ง ฝุ่นซึ่งเป็นกากอุตสาหกรรมอันตราย การปรับปรุงคุณภาพน้ำเหล็ก เรื่องการปลอมแปลงเอกสาร เรื่องภาษี กลับไม่มีการชี้แจง แต่ไปกล่าวหาสถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย มีอุปกรณ์ตรวจสอบที่ไม่ได้มาตรฐาน เป็นข้อกล่าวหาที่รุนแรง ย้ำเครื่องมือของสถาบัน สำหรับทดสอบและวิเคราะห์ค่าปริมาณธาตุโบรอนในผลิตภัณฑ์เหล็ก เป็นไปตามมาตรฐานสากล ยิ่งแถลงข่าวยิ่งทำให้สังคมสับสน และเสียเวลา ซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อการเอาผิดที่กำลังดำเนินการ และจะตรวจสอบลงลึกว่าในปี 2546 ได้ มอก. มาถูกต้องหรือไม่ และไม่กังวลการรวมตัวกดดันเพื่อปรับตนเองออกจากคณะรัฐมนตรี พวกนี้หัวหมอไม่ธรรมดา ต้องใช้สติปัญญา ใช้ทุกอย่าง อ่าน เอกสาร ศึกษาข้อกฎหมาย เพื่อเอาผิดเต็มที่
    เมินซินเคอหยวนแถลงโต้ พวกนี้หัวหมอต้องจัดการ : [THE MESSAGE] นายเอกนัฏ พร้อมพันธ์ รมว.อุตสาหกรรม เผยถึงคำชี้แจงจากบริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด ไม่มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ฟังไม่ขึ้นแม้แต่เรื่องเดียว ข้อสงสัยของสังคม เช่น ผลิตของตกมาตรฐานถึง 3 ครั้ง ฝุ่นซึ่งเป็นกากอุตสาหกรรมอันตราย การปรับปรุงคุณภาพน้ำเหล็ก เรื่องการปลอมแปลงเอกสาร เรื่องภาษี กลับไม่มีการชี้แจง แต่ไปกล่าวหาสถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย มีอุปกรณ์ตรวจสอบที่ไม่ได้มาตรฐาน เป็นข้อกล่าวหาที่รุนแรง ย้ำเครื่องมือของสถาบัน สำหรับทดสอบและวิเคราะห์ค่าปริมาณธาตุโบรอนในผลิตภัณฑ์เหล็ก เป็นไปตามมาตรฐานสากล ยิ่งแถลงข่าวยิ่งทำให้สังคมสับสน และเสียเวลา ซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อการเอาผิดที่กำลังดำเนินการ และจะตรวจสอบลงลึกว่าในปี 2546 ได้ มอก. มาถูกต้องหรือไม่ และไม่กังวลการรวมตัวกดดันเพื่อปรับตนเองออกจากคณะรัฐมนตรี พวกนี้หัวหมอไม่ธรรมดา ต้องใช้สติปัญญา ใช้ทุกอย่าง อ่าน เอกสาร ศึกษาข้อกฎหมาย เพื่อเอาผิดเต็มที่
    Like
    Love
    4
    0 Comments 0 Shares 445 Views 52 0 Reviews
  • งัดข้อผลตรวจเหล็ก ไม่ผ่านเพราะเครื่องมือ : [NEWS UPDATE]

    นายสุรศักดิ์ วีระกุล ทนายความตัวแทนบริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด เผยถึงการตรวจคุณภาพเหล็กที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(สมอ.) นำไปทดสอบ 2 ครั้ง และพบว่าเหล็กขนาด 25 และ 32 มม. มีค่าโบรอนไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งต้องน้อยกว่า 0.0008% และความสูงของบั้งต่ำเกินไปมีผลต่อการยึดเกาะของคอนกรีต ต่อมาบริษัทยื่นขอตรวจเหล็กเส้นข้ออ้อยจากตัวอย่างเดิม ผลก็ยังไม่ผ่านมาตรฐาน การทดสอบทำที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย ซึ่งเครื่องมือวัดค่าโบรอนไม่มีขีดความสามารถในการวัดตามเกณฑ์ มอก. บริษัทจึงขอให้ตรวจซ้ำครั้งที่สามที่สถาบันยานยนต์ ซึ่งมีเครื่องมือวัดค่าได้ตามเกณฑ์ แต่ สมอ. ยืนยันจะไม่ตรวจครั้งที่ 3 มอง การนำเหล็กที่ใช้แล้วไปตรวจผิดหลักการตรวจมาตรฐาน มีความพยายามชี้นำว่า เหล็กของบริษัทไม่ได้มาตรฐาน ส่วนการเสียภาษีของบริษัทใน 5 ปีที่ผ่านมา จ่ายภาษีรายได้นิติบุคคล 856 ล้านบาท ยืนยัน เหล็กของบริษัทไม่เคยได้รับการร้องเรียนเรื่องไม่ได้มาตรฐาน

    -ใช้คนงานเป็นนอมินี

    -เร่งลดความสูงถึงชั้น 1

    -ดาวศุกร์สว่างสุดท้ายในรอบปี

    -เตือนอย่าร่วมสหรัฐหักหลังจีน
    งัดข้อผลตรวจเหล็ก ไม่ผ่านเพราะเครื่องมือ : [NEWS UPDATE] นายสุรศักดิ์ วีระกุล ทนายความตัวแทนบริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด เผยถึงการตรวจคุณภาพเหล็กที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(สมอ.) นำไปทดสอบ 2 ครั้ง และพบว่าเหล็กขนาด 25 และ 32 มม. มีค่าโบรอนไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งต้องน้อยกว่า 0.0008% และความสูงของบั้งต่ำเกินไปมีผลต่อการยึดเกาะของคอนกรีต ต่อมาบริษัทยื่นขอตรวจเหล็กเส้นข้ออ้อยจากตัวอย่างเดิม ผลก็ยังไม่ผ่านมาตรฐาน การทดสอบทำที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย ซึ่งเครื่องมือวัดค่าโบรอนไม่มีขีดความสามารถในการวัดตามเกณฑ์ มอก. บริษัทจึงขอให้ตรวจซ้ำครั้งที่สามที่สถาบันยานยนต์ ซึ่งมีเครื่องมือวัดค่าได้ตามเกณฑ์ แต่ สมอ. ยืนยันจะไม่ตรวจครั้งที่ 3 มอง การนำเหล็กที่ใช้แล้วไปตรวจผิดหลักการตรวจมาตรฐาน มีความพยายามชี้นำว่า เหล็กของบริษัทไม่ได้มาตรฐาน ส่วนการเสียภาษีของบริษัทใน 5 ปีที่ผ่านมา จ่ายภาษีรายได้นิติบุคคล 856 ล้านบาท ยืนยัน เหล็กของบริษัทไม่เคยได้รับการร้องเรียนเรื่องไม่ได้มาตรฐาน -ใช้คนงานเป็นนอมินี -เร่งลดความสูงถึงชั้น 1 -ดาวศุกร์สว่างสุดท้ายในรอบปี -เตือนอย่าร่วมสหรัฐหักหลังจีน
    Like
    Haha
    3
    0 Comments 0 Shares 446 Views 22 0 Reviews
  • ตัวแทนทีมทนายความบริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด โดยนายปิยะพงศ์ คงมะลวน นายสุรศักดิ์ วีระกุล และ นายปัทมากร ภิญโญชัยพลกุล ร่วมแถลงข่าวชี้แจงมาตรฐานเหล็กของบริษัท จากกรณี ตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่ม
    เผย การนำเหล็กที่ถูกใช้งานแล้วไปตรวจ ถือว่าผิดหลักการตรวจมาตรฐาน มองมีความพยายามชี้นำให้เห็นว่า เมื่อเป็นบริษัทของคนจีนน่าจะเป็นจีนเทาหรือเปล่า ยืนยันซิน เคอ หยวน ประกอบธุรกิจสุจริต ปฏิบัติตามกฎหมายมาโดยตลอด รู้ดียิ่งสูงยิ่งหนาว ยิ่งเติบโตมากขึ้นความระมัดระวังตัวในการประกอบการตามกฎหมายยิ่งมีมากขึ้น เหล็กของบริษัทไม่เคยได้รับการร้องเรียนเรื่องไม่ได้มาตรฐานจากตัวแทนจำหน่าย ส่วนการเสียภาษีของบริษัท ใน 5 ปีที่ผ่านมา จ่ายภาษีรายได้นิติบุคคล 856 ล้านบาท อยากให้ภาครัฐสืบสวนคนที่ปล่อยข่าวลือ เพราะบริษัทได้รับความเสียหายมาก
    ตัวแทนทีมทนายความบริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด โดยนายปิยะพงศ์ คงมะลวน นายสุรศักดิ์ วีระกุล และ นายปัทมากร ภิญโญชัยพลกุล ร่วมแถลงข่าวชี้แจงมาตรฐานเหล็กของบริษัท จากกรณี ตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่ม เผย การนำเหล็กที่ถูกใช้งานแล้วไปตรวจ ถือว่าผิดหลักการตรวจมาตรฐาน มองมีความพยายามชี้นำให้เห็นว่า เมื่อเป็นบริษัทของคนจีนน่าจะเป็นจีนเทาหรือเปล่า ยืนยันซิน เคอ หยวน ประกอบธุรกิจสุจริต ปฏิบัติตามกฎหมายมาโดยตลอด รู้ดียิ่งสูงยิ่งหนาว ยิ่งเติบโตมากขึ้นความระมัดระวังตัวในการประกอบการตามกฎหมายยิ่งมีมากขึ้น เหล็กของบริษัทไม่เคยได้รับการร้องเรียนเรื่องไม่ได้มาตรฐานจากตัวแทนจำหน่าย ส่วนการเสียภาษีของบริษัท ใน 5 ปีที่ผ่านมา จ่ายภาษีรายได้นิติบุคคล 856 ล้านบาท อยากให้ภาครัฐสืบสวนคนที่ปล่อยข่าวลือ เพราะบริษัทได้รับความเสียหายมาก
    Wow
    1
    1 Comments 0 Shares 497 Views 28 0 Reviews
  • ตึกถล่มปูดทุจริต สตง. ซื้อของแพง ส่อโกงครบวงจร
    .
    ขณะที่ ปฏิบัติการขุดซากตึก 30 ชั้น ของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. กำลังดำเนินการไป ยังมีปฏิบัติการคู่ขนาน คือ การขุดหาความไม่ชอบมาพากล เกี่ยวกับงบการจัดซื้อจัดจ้าง ภายในตึกดังกล่าวไปพร้อมกัน
    ยิ่งขุด ก็ยิ่งเจอความอัปยศ ขององค์กรตรวจสอบ คอร์รัปชั่นของไทย อย่าง สตง. ส่อเค้าจะมีการคอร์รัปชั่นซะเอง อย่างมีการใช้เหล็กซึ่งไม่ได้มาตรฐาน เอามาก่อสร้างตึกหรือมีการปลอมลายเซ็นวิศวกรโครงการ ทั้งที่วิศวกรคนดังกล่าว อายุ 85 ปีแล้ว ไม่ได้ทำงานแล้ว

    #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ตึกถล่มปูดทุจริต สตง. ซื้อของแพง ส่อโกงครบวงจร . ขณะที่ ปฏิบัติการขุดซากตึก 30 ชั้น ของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. กำลังดำเนินการไป ยังมีปฏิบัติการคู่ขนาน คือ การขุดหาความไม่ชอบมาพากล เกี่ยวกับงบการจัดซื้อจัดจ้าง ภายในตึกดังกล่าวไปพร้อมกัน ยิ่งขุด ก็ยิ่งเจอความอัปยศ ขององค์กรตรวจสอบ คอร์รัปชั่นของไทย อย่าง สตง. ส่อเค้าจะมีการคอร์รัปชั่นซะเอง อย่างมีการใช้เหล็กซึ่งไม่ได้มาตรฐาน เอามาก่อสร้างตึกหรือมีการปลอมลายเซ็นวิศวกรโครงการ ทั้งที่วิศวกรคนดังกล่าว อายุ 85 ปีแล้ว ไม่ได้ทำงานแล้ว #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 619 Views 0 Reviews
  • เพจ"ช่างกฎหมายมันส์ - Letitbelaw" โพสต์ข้อความแฉเหตุสาเหตุตึก สตง. ถึงมี "การปลอมลายเซ็นวิศวกร" ชี้ เป็นการทุจริตที่ทำให้เกิดคนตายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ วอนหน่วยงานที่ตรวจสอบอย่าเป็นมวยล้มต้มคนดู

    จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ทำให้ตึก สตง. มูลค่ากว่า 2 พันล้านบาท ย่านจตุจักรพังถล่ม มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำนวนมาก บริษัทก่อสร้างยืนยันว่าทำตามขั้นตอนถูกต้องตามกฎหมาย แต่มีกระแสข่าวว่ามีการใช้วัสดุไม่ได้มาตรฐานและปลอมลายเซ็นวิศวกรควบคุมงาน ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลังตรวจสอบอย่างเข้มข้น

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000035974

    #MGROnline #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง.
    เพจ"ช่างกฎหมายมันส์ - Letitbelaw" โพสต์ข้อความแฉเหตุสาเหตุตึก สตง. ถึงมี "การปลอมลายเซ็นวิศวกร" ชี้ เป็นการทุจริตที่ทำให้เกิดคนตายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ วอนหน่วยงานที่ตรวจสอบอย่าเป็นมวยล้มต้มคนดู • จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ทำให้ตึก สตง. มูลค่ากว่า 2 พันล้านบาท ย่านจตุจักรพังถล่ม มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำนวนมาก บริษัทก่อสร้างยืนยันว่าทำตามขั้นตอนถูกต้องตามกฎหมาย แต่มีกระแสข่าวว่ามีการใช้วัสดุไม่ได้มาตรฐานและปลอมลายเซ็นวิศวกรควบคุมงาน ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลังตรวจสอบอย่างเข้มข้น • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000035974 • #MGROnline #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง.
    0 Comments 0 Shares 345 Views 0 Reviews
  • 🌊 113 ปี “เรือไททานิค” ล่ม! 🚢 โศกนาฏกรรมกลางมหาสมุทรจาก “ความประมาท” ไม่ใช่ภัยธรรมชาติ ปิดตำนาน "เรือที่ไม่มีวันจม

    💡 ย้อนรอยโศกนาฏกรรม "RMS Titanic" ความทรงจำล่มกลางมหาสมุทร จาก "เรือที่ไม่มีวันจม" สู่บทเรียนครั้งใหญ่ของโลก ✍️

    📌 เรือไททานิคที่ถูกขนานนามว่า “เรือที่ไม่มีวันจม” ได้กลายเป็นโศกนาฏกรรมทางมหาสมุทร ที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตกว่า 1,500 ศพ จะพาย้อนกลับไปยังเหตุการณ์ในคืนนั้น พร้อมไขทุกข้อเท็จจริง ที่ถูกซ่อนไว้ ทั้งเรื่องความประมาท การจัดการผิดพลาด และผลกระทบต่อโลกใบนี้จนถึงทุกวันนี้ 🔗

    🧭 จากความยิ่งใหญ่ สู่ความอับปางกลางมหาสมุทร ในโลกนี้มีเรื่องเล่ามากมาย เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ "มนุษย์" สร้างขึ้นด้วยความมั่นใจสุดขีดว่า "ไม่มีทางพัง" และในบรรดาเรื่องราวเหล่านั้น "ไททานิค" คือหนึ่งในตำนาน ที่ยังคงตราตรึงใจผู้คนทั่วโลก แม้ผ่านมาแล้ว 113 ปี

    "เรือที่ไม่มีวันจม" กลายเป็น ซากใต้น้ำลึกกว่า 3,800 เมตร ภายในเวลาไม่ถึง 3 ชั่วโมง หลังจากชนเข้ากับภูเขาน้ำแข็ง กลางมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ 💥

    คำถามที่ยังคงหลอกหลอนประวัติศาสตร์คือ... เรือใหญ่ขนาดนี้จมได้ยังไง? เป็นเพราะโชคร้าย หรือเป็นเพราะความประมาท?

    🚢 "ไททานิค" สุดยอดเรือเดินสมุทรที่โลกเคยรู้จัก จุดเริ่มต้นของความทะเยอทะยาน "อาร์เอ็มเอส ไททานิค" (RMS Titanic ) สร้างโดยบริษัท Harland and Wolff ในเมืองเบลฟาสต์ ประเทศไอร์แลนด์เหนือ และเป็นเรือของสายการเดินเรือ White Star Line เปิดตัวในปี 1912 ด้วยความตั้งใจให้เป็นเรือเดินสมุทรที่ "หรูหราและปลอดภัยที่สุดในโลก" ✨

    เรือมีความยาวถึง 882.5 ฟุต หรือประมาณ 269 เมตร น้ำหนักมากกว่า 46,000 ตัน และสามารถรองรับผู้โดยสาร และลูกเรือได้ถึง 3,547 คน

    ✅ เครื่องยนต์ใหญ่ที่สุดในยุคนั้น สูงกว่า 4 ชั้น

    ✅ ระบบผนังกันน้ำในห้องใต้ท้องเรือ

    ✅ ระบบขับเคลื่อนด้วยกังหัน และใบจักรขนาดยักษ์

    ✅ ห้องโดยสารเฟิร์สต์คลาส หรูหราระดับพระราชวัง

    ✅ มีห้องอ่านหนังสือ, ห้องยิม, ร้านตัดผม, ห้องอาบน้ำตุรกี และลิฟต์ไฟฟ้า

    🛳️ แต่สิ่งที่ผู้คนจดจำ ไม่ใช่ความอลังการ แต่คือ "จุดจบ" ของไททานิค…

    🧊 ชนกับภูเขาน้ำแข็ง จุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์

    🚨 คำเตือนที่ถูกมองข้าม ตลอดวันอาทิตย์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2455 ไททานิคได้รับ 6 คำเตือน เรื่องภูเขาน้ำแข็งลอยทะเล จากเรือลำอื่น

    แต่คำเตือนเหล่านั้น...
    ❌ บางข้อความไม่ได้ถูกส่งถึงกัปตัน
    ❌ บางข้อความถูกพนักงานวิทยุละเลย เพราะมัวส่งข้อความส่วนตัวของผู้โดยสาร
    ❌ ความเร็วของเรือยังคงอยู่ที่ 22 นอต หรือ 41 กม./ชม. ใกล้ความเร็วสูงสุดที่ 24 นอต

    “แล่นไปข้างหน้า และไว้ใจคนเฝ้าระวัง” แนวคิดของการเดินเรือในยุคนั้น

    🕰️ 23.40 น. คืนวันอาทิตย์ เวลาแห่งหายนะ เมื่อพนักงานเฝ้าระวังเห็นภูเขาน้ำแข็ง ก็สายเกินไปแล้ว... ต้นเรือสั่ง "หักหลบขวาเต็มที่ และถอยเครื่อง" แต่กลไกเรือ และขนาดของไททานิค ทำให้ไม่ทัน ⛔️

    เรือไถลเฉี่ยวภูเขาน้ำแข็งทางกราบขวา ก่อให้เกิดรอยรั่วใน 5 ห้องใต้ท้องเรือ ทั้งที่ไททานิครองรับน้ำได้เพียง 4 ห้องเท่านั้น! 😨

    🧱 ความผิดพลาดในการออกแบบ และการตัดสินใจ 📉 ผนังกันน้ำที่ "ไม่กันจริง" แม้มีห้องผนังกั้นน้ำ 16 ห้อง แต่ผนังสูงไม่พอ เมื่อห้องแรกเต็ม น้ำก็ไหลล้นไปห้องต่อไป… 📌 คล้ายกับน้ำในถาดน้ำแข็งเมื่อเอียง ค่อย ๆ ล้นทีละช่อง

    🪓 เหล็กและหมุดตอกตัวเรือ การวิจัยพบว่า เหล็กที่ใช้ในบางจุดเปราะแตกง่าย หมุดบางตัวไม่ได้มาตรฐาน แผ่นเหล็กในบริเวณหัวเรือ หลุดออกเมื่อชน ทำให้น้ำทะลัก

    🆘 เรือชูชีพไม่พอ การอพยพที่โกลาหล 🚤 เรือลำใหญ่แต่เรือชูชีพมีแค่ 20 ลำ ไททานิคออกแบบให้ติดตั้งเรือชูชีพได้ถึง 68 ลำ แต่เพื่อความ “สวยงาม” ของดาดฟ้า ผู้บริหารสั่งให้ติดแค่ 20 ลำ รองรับคนได้เพียง 1,178 คน จาก 2,224 คน ทั้งที่ต้นทุนเรือชูชีพ แค่เศษเสี้ยวของมูลค่าทั้งเรือ!

    💔 การอพยพที่แย่ที่สุดในประวัติศาสตร์ บางลำปล่อยทั้งที่ยังไม่เต็มคน ผู้โดยสารชั้นสามเข้าไม่ถึงจุดรวมพล เจ้าหน้าที่ไม่มีการฝึกซ้อมมาก่อน ผู้หญิงและเด็กบางคน ไม่ได้รับแจ้งว่าควรขึ้นเรือชูชีพ และ... หลายคน “ปฏิเสธ” ที่จะลงเรือ เพราะไม่เชื่อว่าเรือจะจมจริง 😔

    ❄️ น้ำเย็น = ความตายที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ 🌡️ อุณหภูมิน้ำทะเลในคืนนั้นคือ -2°C ภายในไม่กี่นาทีหลังจากตกน้ำ ร่างกายจะเข้าสู่ภาวะ Hypothermia กล้ามเนื้อหยุดทำงาน หัวใจเต้นช้าลง หมดสติและเสียชีวิตภายใน 15-20 นาที เสียงกรีดร้องของผู้คนค่อย ๆ เบาลง… จนกระทั่ง เงียบสงัด 🕯️

    🧑‍✈️ เสียงจากผู้รอดชีวิต เรื่องเล่าจากคืนที่โลกเปลี่ยนไป แม้จะมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 1,500 คน แต่ยังมีผู้รอดชีวิตราว 700 คน ที่รอดมาได้อย่างปาฏิหาริย์ หลายคนได้ให้สัมภาษณ์ในเวลาต่อมา พร้อมเล่าประสบการณ์ตรงสุดสะเทือนใจ...

    “การตกลงไปในน้ำเย็น มันเหมือนถูกมีดนับพันเล่มแทงเข้าใส่” : "ชาร์ล ไลท์โทลเลอร์" (Charles Lightoller) ผู้ช่วยต้นเรือคนที่ 2

    บางคนรอดเพราะโชคช่วย บางคนรอดเพราะสัญชาตญาณ แต่...คนส่วนใหญ่รอดเพราะอยู่ในชั้นหนึ่ง ซึ่งเข้าถึงเรือชูชีพได้ก่อน 😢

    ⚖️ ความเหลื่อมล้ำที่ฆ่าคน เด็กและผู้หญิงชั้นหนึ่ง รอดมากกว่า 90% เด็กชั้นสาม เสียชีวิตมากกว่า 66% ผู้ชายชั้นสอง เสียชีวิตถึง 92% ลูกเรือเกือบ 80% เสียชีวิต

    🚸 มีแม้กระทั่งแม่ชาวไอริชที่เล่านิทานให้ลูกฟัง ก่อนจะจมน้ำไปพร้อมกันทั้งครอบครัว

    🎬 Titanic (2540) จากเรือที่จม สู่หนังที่ตราตรึง แม้โศกนาฏกรรมจะผ่านไปกว่าศตวรรษ แต่ชื่อ "Titanic" กลับดังขึ้นอีกครั้งในปี 2540 จากภาพยนตร์โดย "เจมส์ คาเมรอน" (James Cameron) ที่ทำให้โลกทั้งใบสะเทือนใจ 😭🌍

    🎥 หนังทำรายได้ทะลุ 1.8 พันล้านเหรียญ คว้า 11 รางวัลออสการ์ รวมทั้ง ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และผู้กำกับยอดเยี่ยม เพลงประกอบ "My Heart Will Go On" กลายเป็นตำนาน ผู้ชมจดจำฉาก “I'm the king of the world!” และ “You jump, I jump” อย่างไม่มีวันลืม

    🤔 ความจริงกับสิ่งแต่งเติม เรือไททานิคล่มเวลา 02.20 น. ของเช้าตรู่วันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2455 ตัวละครแจ็ค ดอว์สัน ไม่มีอยู่จริง มีคู่สามีภรรยานอนกอดกันในห้อง โรสเป็นการรวมคาแรกเตอร์จากหลายบุคคล พ่อครัว Charles Joughin รอดจากการจมน้ำ ฉากโรแมนติกบนกระดานไม้ ถูกสร้างเพิ่ม

    🤯 จริง ๆ แล้วภาพวาดโรส "สวมแต่สร้อย" นั้น "เจมส์ คาเมรอน" เป็นคนวาดเอง!

    🕵️‍♂️ 25 เกร็ดลับเบื้องหลังหนัง Titanic ที่อาจไม่เคยรู้

    1. ภาพวาดโรส เป็นฝีมือของเจมส์ คาเมรอน ✍️
    2. ฉากที่โรสถ่มน้ำลายใส่คาล...เคต วินสเล็ต ด้นสดเอง 😆
    3. น้ำที่ใช้ถ่ายฉากท้ายเรื่อง เย็นจนทำให้นักแสดงป่วย Hypothermia ❄️
    4. พรมในหนัง ทอจากโรงงานเดียวกับพรมเรือจริง 🧶
    5. ฉากบันไดหลักถ่ายได้เพียงครั้งเดียว 💦
    6. ฉากเด็กเล่นลูกข่าง อ้างอิงจากภาพถ่ายจริง 👦🏻
    4. แจ็คพูดว่า "น้ำเย็นเหมือนโดนแทงด้วยมีดพันเล่ม" มาจากคำบอกเล่าจริงของผู้รอดชีวิต
    8. รถเรโนลต์ในหนังคือรถจริงที่อยู่บนไททานิค 🚗
    9. หมาของโรสพันธุ์พอเมอเรเนียน — รอดจริงในเหตุการณ์ 🐶
    10. มีดพับของฟาบริซิโอใช้ตัดเชือกเรือชูชีพจริง 🗡️
    11. มาดอนนา เคยเกือบได้เล่นเป็นโรส
    12. พ่อครัวที่เมาเหล้ารอดชีวิตเพราะ “แอลกอฮอล์” 🔥
    13. ดวงดาวบนฟ้าผิด คาเมรอนจึงแก้ไขในเวอร์ชัน 3D 🌌
    14. กล้อง Close-Up มือที่วาดโรส คือมือของคาเมรอนเอง
    15. กลับซ้ายเป็นขวาในฉากเรือออกจากท่า 🔄
    16. โรสขี่ม้าที่ซานตาโมนิกา ตามสัญญาของแจ็ค 🐎
    17. มีการใช้คาเวียร์ของจริงในการถ่ายฉากดินเนอร์ 🥂
    18. เสื้อโค้ตของเคต วินสเล็ตเคยติดประตูเกือบจมน้ำ
    19. ซากเรือจริงในหนัง คาเมรอนดำน้ำไปถ่ายเอง 🛥️
    20. แจ็คพูดถึงทะเลสาบที่ยังไม่สร้างตอนปี 2455 ❌
    21. ปล่องไฟที่ 4 ของเรือ ไม่มีควันเพราะไม่ต่อกับเตาไฟ
    22. เรือพับได้ในหนังมีจริง และถูกใช้จริง
    23. ชุดที่โรสใส่ขณะหนีไฟไหม้ ทำซ้ำกว่า 30 ชุด
    24. ทรายใต้กระดานไม้ฉากสุดท้าย เป็นทรายจริง
    25. แฟนหนังจำนวนมากไปเยี่ยม “หลุมศพ J. Dawson” จริง 🪦

    📜 มรดกจากโศกนาฏกรรม บทเรียนราคาแพง 🚢 SOLAS กฎแห่งท้องทะเล หลังโศกนาฏกรรมไททานิค โลกทั้งใบตื่นรู้ว่า "ไม่มีอะไรสมบูรณ์แบบ" และได้นำไปสู่การจัดตั้ง อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล (SOLAS) ปี 2457

    SOLAS กำหนดให้เรือทุกลำต้องมีเรือชูชีพเพียงพอ ระบบวิทยุต้องเปิดตลอด 24 ชั่วโมง มีการซ้อมหนีภัยจริงจัง ปรับปรุงการออกแบบเรือให้รัดกุมยิ่งขึ้น

    ✨ 113 ปี แห่งการเตือนใจ เรือไททานิคคือเครื่องเตือนใจของโลก ว่า “ความมั่นใจมากเกินไป” นั้นอันตราย “ความประมาท” สามารถพรากชีวิตผู้คนได้เกินพัน ภายในไม่กี่ชั่วโมง แม้จะใช้เทคโนโลยีล้ำหน้า แต่หากไร้การวางแผน และความระมัดระวัง ก็อาจนำสู่หายนะ ไททานิคจม แต่บทเรียน… ยังคงลอยอยู่เหนือผิวน้ำเสมอ

    📌 เรื่องราวของไททานิค ไม่ใช่เพียงตำนานเรือใหญ่ล่ม แต่คือสัญลักษณ์ของ “ความมั่นใจเกินขีดจำกัด” ของมนุษย์ ที่นำมาซึ่งโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่ ความประมาท ความละเลย และระบบที่ไม่พร้อม คือสาเหตุหลักของการสูญเสียชีวิตนับพัน ในเช้าตรู่วันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2455 และยังคงเตือนใจมนุษย์ในทุกยุคว่า “ไม่มีสิ่งใดในโลกที่ไม่มีวันจม” 🌊🕯️

    🔚 เมื่อ “ไม่มีวันจม” กลายเป็น “จมจริง” 🚢 จุดจบของเรือที่เคยถูกยกย่องว่า “ไม่มีวันจม”

    ...แต่คือจุดเริ่มต้นของกฎหมายความปลอดภัยทางทะเล ที่ช่วยชีวิตผู้คนนับล้านในศตวรรษต่อมา 🌍

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 151322 เม.ย. 2568

    📲 #ไททานิค #Titanic #เรือไททานิคล่ม #เรื่องจริงไททานิค #แจ็คโรส #โศกนาฏกรรมไททานิค #TitanicFacts #ไททานิค113ปี #หนังTitanic #MyHeartWillGoOn

    🌊 113 ปี “เรือไททานิค” ล่ม! 🚢 โศกนาฏกรรมกลางมหาสมุทรจาก “ความประมาท” ไม่ใช่ภัยธรรมชาติ ปิดตำนาน "เรือที่ไม่มีวันจม 💡 ย้อนรอยโศกนาฏกรรม "RMS Titanic" ความทรงจำล่มกลางมหาสมุทร จาก "เรือที่ไม่มีวันจม" สู่บทเรียนครั้งใหญ่ของโลก ✍️ 📌 เรือไททานิคที่ถูกขนานนามว่า “เรือที่ไม่มีวันจม” ได้กลายเป็นโศกนาฏกรรมทางมหาสมุทร ที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตกว่า 1,500 ศพ จะพาย้อนกลับไปยังเหตุการณ์ในคืนนั้น พร้อมไขทุกข้อเท็จจริง ที่ถูกซ่อนไว้ ทั้งเรื่องความประมาท การจัดการผิดพลาด และผลกระทบต่อโลกใบนี้จนถึงทุกวันนี้ 🔗 🧭 จากความยิ่งใหญ่ สู่ความอับปางกลางมหาสมุทร ในโลกนี้มีเรื่องเล่ามากมาย เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ "มนุษย์" สร้างขึ้นด้วยความมั่นใจสุดขีดว่า "ไม่มีทางพัง" และในบรรดาเรื่องราวเหล่านั้น "ไททานิค" คือหนึ่งในตำนาน ที่ยังคงตราตรึงใจผู้คนทั่วโลก แม้ผ่านมาแล้ว 113 ปี "เรือที่ไม่มีวันจม" กลายเป็น ซากใต้น้ำลึกกว่า 3,800 เมตร ภายในเวลาไม่ถึง 3 ชั่วโมง หลังจากชนเข้ากับภูเขาน้ำแข็ง กลางมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ 💥 คำถามที่ยังคงหลอกหลอนประวัติศาสตร์คือ... เรือใหญ่ขนาดนี้จมได้ยังไง? เป็นเพราะโชคร้าย หรือเป็นเพราะความประมาท? 🚢 "ไททานิค" สุดยอดเรือเดินสมุทรที่โลกเคยรู้จัก จุดเริ่มต้นของความทะเยอทะยาน "อาร์เอ็มเอส ไททานิค" (RMS Titanic ) สร้างโดยบริษัท Harland and Wolff ในเมืองเบลฟาสต์ ประเทศไอร์แลนด์เหนือ และเป็นเรือของสายการเดินเรือ White Star Line เปิดตัวในปี 1912 ด้วยความตั้งใจให้เป็นเรือเดินสมุทรที่ "หรูหราและปลอดภัยที่สุดในโลก" ✨ เรือมีความยาวถึง 882.5 ฟุต หรือประมาณ 269 เมตร น้ำหนักมากกว่า 46,000 ตัน และสามารถรองรับผู้โดยสาร และลูกเรือได้ถึง 3,547 คน ✅ เครื่องยนต์ใหญ่ที่สุดในยุคนั้น สูงกว่า 4 ชั้น ✅ ระบบผนังกันน้ำในห้องใต้ท้องเรือ ✅ ระบบขับเคลื่อนด้วยกังหัน และใบจักรขนาดยักษ์ ✅ ห้องโดยสารเฟิร์สต์คลาส หรูหราระดับพระราชวัง ✅ มีห้องอ่านหนังสือ, ห้องยิม, ร้านตัดผม, ห้องอาบน้ำตุรกี และลิฟต์ไฟฟ้า 🛳️ แต่สิ่งที่ผู้คนจดจำ ไม่ใช่ความอลังการ แต่คือ "จุดจบ" ของไททานิค… 🧊 ชนกับภูเขาน้ำแข็ง จุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์ 🚨 คำเตือนที่ถูกมองข้าม ตลอดวันอาทิตย์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2455 ไททานิคได้รับ 6 คำเตือน เรื่องภูเขาน้ำแข็งลอยทะเล จากเรือลำอื่น แต่คำเตือนเหล่านั้น... ❌ บางข้อความไม่ได้ถูกส่งถึงกัปตัน ❌ บางข้อความถูกพนักงานวิทยุละเลย เพราะมัวส่งข้อความส่วนตัวของผู้โดยสาร ❌ ความเร็วของเรือยังคงอยู่ที่ 22 นอต หรือ 41 กม./ชม. ใกล้ความเร็วสูงสุดที่ 24 นอต “แล่นไปข้างหน้า และไว้ใจคนเฝ้าระวัง” แนวคิดของการเดินเรือในยุคนั้น 🕰️ 23.40 น. คืนวันอาทิตย์ เวลาแห่งหายนะ เมื่อพนักงานเฝ้าระวังเห็นภูเขาน้ำแข็ง ก็สายเกินไปแล้ว... ต้นเรือสั่ง "หักหลบขวาเต็มที่ และถอยเครื่อง" แต่กลไกเรือ และขนาดของไททานิค ทำให้ไม่ทัน ⛔️ เรือไถลเฉี่ยวภูเขาน้ำแข็งทางกราบขวา ก่อให้เกิดรอยรั่วใน 5 ห้องใต้ท้องเรือ ทั้งที่ไททานิครองรับน้ำได้เพียง 4 ห้องเท่านั้น! 😨 🧱 ความผิดพลาดในการออกแบบ และการตัดสินใจ 📉 ผนังกันน้ำที่ "ไม่กันจริง" แม้มีห้องผนังกั้นน้ำ 16 ห้อง แต่ผนังสูงไม่พอ เมื่อห้องแรกเต็ม น้ำก็ไหลล้นไปห้องต่อไป… 📌 คล้ายกับน้ำในถาดน้ำแข็งเมื่อเอียง ค่อย ๆ ล้นทีละช่อง 🪓 เหล็กและหมุดตอกตัวเรือ การวิจัยพบว่า เหล็กที่ใช้ในบางจุดเปราะแตกง่าย หมุดบางตัวไม่ได้มาตรฐาน แผ่นเหล็กในบริเวณหัวเรือ หลุดออกเมื่อชน ทำให้น้ำทะลัก 🆘 เรือชูชีพไม่พอ การอพยพที่โกลาหล 🚤 เรือลำใหญ่แต่เรือชูชีพมีแค่ 20 ลำ ไททานิคออกแบบให้ติดตั้งเรือชูชีพได้ถึง 68 ลำ แต่เพื่อความ “สวยงาม” ของดาดฟ้า ผู้บริหารสั่งให้ติดแค่ 20 ลำ รองรับคนได้เพียง 1,178 คน จาก 2,224 คน ทั้งที่ต้นทุนเรือชูชีพ แค่เศษเสี้ยวของมูลค่าทั้งเรือ! 💔 การอพยพที่แย่ที่สุดในประวัติศาสตร์ บางลำปล่อยทั้งที่ยังไม่เต็มคน ผู้โดยสารชั้นสามเข้าไม่ถึงจุดรวมพล เจ้าหน้าที่ไม่มีการฝึกซ้อมมาก่อน ผู้หญิงและเด็กบางคน ไม่ได้รับแจ้งว่าควรขึ้นเรือชูชีพ และ... หลายคน “ปฏิเสธ” ที่จะลงเรือ เพราะไม่เชื่อว่าเรือจะจมจริง 😔 ❄️ น้ำเย็น = ความตายที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ 🌡️ อุณหภูมิน้ำทะเลในคืนนั้นคือ -2°C ภายในไม่กี่นาทีหลังจากตกน้ำ ร่างกายจะเข้าสู่ภาวะ Hypothermia กล้ามเนื้อหยุดทำงาน หัวใจเต้นช้าลง หมดสติและเสียชีวิตภายใน 15-20 นาที เสียงกรีดร้องของผู้คนค่อย ๆ เบาลง… จนกระทั่ง เงียบสงัด 🕯️ 🧑‍✈️ เสียงจากผู้รอดชีวิต เรื่องเล่าจากคืนที่โลกเปลี่ยนไป แม้จะมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 1,500 คน แต่ยังมีผู้รอดชีวิตราว 700 คน ที่รอดมาได้อย่างปาฏิหาริย์ หลายคนได้ให้สัมภาษณ์ในเวลาต่อมา พร้อมเล่าประสบการณ์ตรงสุดสะเทือนใจ... “การตกลงไปในน้ำเย็น มันเหมือนถูกมีดนับพันเล่มแทงเข้าใส่” : "ชาร์ล ไลท์โทลเลอร์" (Charles Lightoller) ผู้ช่วยต้นเรือคนที่ 2 บางคนรอดเพราะโชคช่วย บางคนรอดเพราะสัญชาตญาณ แต่...คนส่วนใหญ่รอดเพราะอยู่ในชั้นหนึ่ง ซึ่งเข้าถึงเรือชูชีพได้ก่อน 😢 ⚖️ ความเหลื่อมล้ำที่ฆ่าคน เด็กและผู้หญิงชั้นหนึ่ง รอดมากกว่า 90% เด็กชั้นสาม เสียชีวิตมากกว่า 66% ผู้ชายชั้นสอง เสียชีวิตถึง 92% ลูกเรือเกือบ 80% เสียชีวิต 🚸 มีแม้กระทั่งแม่ชาวไอริชที่เล่านิทานให้ลูกฟัง ก่อนจะจมน้ำไปพร้อมกันทั้งครอบครัว 🎬 Titanic (2540) จากเรือที่จม สู่หนังที่ตราตรึง แม้โศกนาฏกรรมจะผ่านไปกว่าศตวรรษ แต่ชื่อ "Titanic" กลับดังขึ้นอีกครั้งในปี 2540 จากภาพยนตร์โดย "เจมส์ คาเมรอน" (James Cameron) ที่ทำให้โลกทั้งใบสะเทือนใจ 😭🌍 🎥 หนังทำรายได้ทะลุ 1.8 พันล้านเหรียญ คว้า 11 รางวัลออสการ์ รวมทั้ง ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และผู้กำกับยอดเยี่ยม เพลงประกอบ "My Heart Will Go On" กลายเป็นตำนาน ผู้ชมจดจำฉาก “I'm the king of the world!” และ “You jump, I jump” อย่างไม่มีวันลืม 🤔 ความจริงกับสิ่งแต่งเติม เรือไททานิคล่มเวลา 02.20 น. ของเช้าตรู่วันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2455 ตัวละครแจ็ค ดอว์สัน ไม่มีอยู่จริง มีคู่สามีภรรยานอนกอดกันในห้อง โรสเป็นการรวมคาแรกเตอร์จากหลายบุคคล พ่อครัว Charles Joughin รอดจากการจมน้ำ ฉากโรแมนติกบนกระดานไม้ ถูกสร้างเพิ่ม 🤯 จริง ๆ แล้วภาพวาดโรส "สวมแต่สร้อย" นั้น "เจมส์ คาเมรอน" เป็นคนวาดเอง! 🕵️‍♂️ 25 เกร็ดลับเบื้องหลังหนัง Titanic ที่อาจไม่เคยรู้ 1. ภาพวาดโรส เป็นฝีมือของเจมส์ คาเมรอน ✍️ 2. ฉากที่โรสถ่มน้ำลายใส่คาล...เคต วินสเล็ต ด้นสดเอง 😆 3. น้ำที่ใช้ถ่ายฉากท้ายเรื่อง เย็นจนทำให้นักแสดงป่วย Hypothermia ❄️ 4. พรมในหนัง ทอจากโรงงานเดียวกับพรมเรือจริง 🧶 5. ฉากบันไดหลักถ่ายได้เพียงครั้งเดียว 💦 6. ฉากเด็กเล่นลูกข่าง อ้างอิงจากภาพถ่ายจริง 👦🏻 4. แจ็คพูดว่า "น้ำเย็นเหมือนโดนแทงด้วยมีดพันเล่ม" มาจากคำบอกเล่าจริงของผู้รอดชีวิต 8. รถเรโนลต์ในหนังคือรถจริงที่อยู่บนไททานิค 🚗 9. หมาของโรสพันธุ์พอเมอเรเนียน — รอดจริงในเหตุการณ์ 🐶 10. มีดพับของฟาบริซิโอใช้ตัดเชือกเรือชูชีพจริง 🗡️ 11. มาดอนนา เคยเกือบได้เล่นเป็นโรส 12. พ่อครัวที่เมาเหล้ารอดชีวิตเพราะ “แอลกอฮอล์” 🔥 13. ดวงดาวบนฟ้าผิด คาเมรอนจึงแก้ไขในเวอร์ชัน 3D 🌌 14. กล้อง Close-Up มือที่วาดโรส คือมือของคาเมรอนเอง 15. กลับซ้ายเป็นขวาในฉากเรือออกจากท่า 🔄 16. โรสขี่ม้าที่ซานตาโมนิกา ตามสัญญาของแจ็ค 🐎 17. มีการใช้คาเวียร์ของจริงในการถ่ายฉากดินเนอร์ 🥂 18. เสื้อโค้ตของเคต วินสเล็ตเคยติดประตูเกือบจมน้ำ 19. ซากเรือจริงในหนัง คาเมรอนดำน้ำไปถ่ายเอง 🛥️ 20. แจ็คพูดถึงทะเลสาบที่ยังไม่สร้างตอนปี 2455 ❌ 21. ปล่องไฟที่ 4 ของเรือ ไม่มีควันเพราะไม่ต่อกับเตาไฟ 22. เรือพับได้ในหนังมีจริง และถูกใช้จริง 23. ชุดที่โรสใส่ขณะหนีไฟไหม้ ทำซ้ำกว่า 30 ชุด 24. ทรายใต้กระดานไม้ฉากสุดท้าย เป็นทรายจริง 25. แฟนหนังจำนวนมากไปเยี่ยม “หลุมศพ J. Dawson” จริง 🪦 📜 มรดกจากโศกนาฏกรรม บทเรียนราคาแพง 🚢 SOLAS กฎแห่งท้องทะเล หลังโศกนาฏกรรมไททานิค โลกทั้งใบตื่นรู้ว่า "ไม่มีอะไรสมบูรณ์แบบ" และได้นำไปสู่การจัดตั้ง อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล (SOLAS) ปี 2457 SOLAS กำหนดให้เรือทุกลำต้องมีเรือชูชีพเพียงพอ ระบบวิทยุต้องเปิดตลอด 24 ชั่วโมง มีการซ้อมหนีภัยจริงจัง ปรับปรุงการออกแบบเรือให้รัดกุมยิ่งขึ้น ✨ 113 ปี แห่งการเตือนใจ เรือไททานิคคือเครื่องเตือนใจของโลก ว่า “ความมั่นใจมากเกินไป” นั้นอันตราย “ความประมาท” สามารถพรากชีวิตผู้คนได้เกินพัน ภายในไม่กี่ชั่วโมง แม้จะใช้เทคโนโลยีล้ำหน้า แต่หากไร้การวางแผน และความระมัดระวัง ก็อาจนำสู่หายนะ ไททานิคจม แต่บทเรียน… ยังคงลอยอยู่เหนือผิวน้ำเสมอ 📌 เรื่องราวของไททานิค ไม่ใช่เพียงตำนานเรือใหญ่ล่ม แต่คือสัญลักษณ์ของ “ความมั่นใจเกินขีดจำกัด” ของมนุษย์ ที่นำมาซึ่งโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่ ความประมาท ความละเลย และระบบที่ไม่พร้อม คือสาเหตุหลักของการสูญเสียชีวิตนับพัน ในเช้าตรู่วันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2455 และยังคงเตือนใจมนุษย์ในทุกยุคว่า “ไม่มีสิ่งใดในโลกที่ไม่มีวันจม” 🌊🕯️ 🔚 เมื่อ “ไม่มีวันจม” กลายเป็น “จมจริง” 🚢 จุดจบของเรือที่เคยถูกยกย่องว่า “ไม่มีวันจม” ...แต่คือจุดเริ่มต้นของกฎหมายความปลอดภัยทางทะเล ที่ช่วยชีวิตผู้คนนับล้านในศตวรรษต่อมา 🌍 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 151322 เม.ย. 2568 📲 #ไททานิค #Titanic #เรือไททานิคล่ม #เรื่องจริงไททานิค #แจ็คโรส #โศกนาฏกรรมไททานิค #TitanicFacts #ไททานิค113ปี #หนังTitanic #MyHeartWillGoOn
    0 Comments 0 Shares 672 Views 0 Reviews
  • ก.อุตสาหกรรมผนึกดีเอสไอลงพื้นที่เก็บตัวอย่างเหล็กจากซากอาคาร สตง.ถล่มเพิ่มเติมอีกครั้งในวันพรุ่งนี้ หลังชงกรณี “ซินเคอหยวน” เป็นคดีพิเศษ “เอกนัฏ” จ่อรื้อ มอก.เหล็กเส้นจากเตา IF ด้าน “ซินเคอหยวน” ยังไม่ปรับปรุงสินค้าไม่ได้มาตรฐาน ตามหนังสือแจ้งเตือนจาก สมอ. อ้างถูกสั่งปิดโรงงานชั่วคราว

    นายพงศ์พล ยอดเมืองเจริญ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมในฐานะโฆษกกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ในวันพรุ่งนี้ (11 เม.ย.) เจ้าหน้าที่กระทรวงอุตสาหกรรมโดยทีมสุดซอย ร่วมกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) เข้าพื้นที่เพื่อเก็บตัวอย่างเหล็กจากซากอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ถล่มเพิ่มเติมอีกครั้ง โดยจะจัดเก็บเหล็กในพื้นที่ทั้ง 4 จุดทุกมุมเพื่อให้ได้ตัวอย่างเหล็กมากที่สุด ก่อนนำส่งตรวจสอบค่าทางเคมีและค่าทางกล ที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย

    กระทรวงอุตสาหกรรมได้เข้าหารือและร่วมวางแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้าพื้นที่เพื่อให้เกิดความเป็นระบบและตรงตามวัตถุประสงค์ให้มากที่สุด

    “เราจะเก็บตัวอย่างในส่วนที่ไม่ได้รับความเสียหายจากการถล่ม เพราะต้องการเหล็กที่มีสภาพที่สมบูรณ์ที่สุด โดยจะส่งตรวจที่สถาบันเหล็กฯ ส่วนการใช้แล็บกลางหรือไม่นั้นเราจะไม่เปลี่ยนที่ทดสอบ”

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/business/detail/9680000034297

    #MGROnline #กระทรวงอุตสาหกรรม
    ก.อุตสาหกรรมผนึกดีเอสไอลงพื้นที่เก็บตัวอย่างเหล็กจากซากอาคาร สตง.ถล่มเพิ่มเติมอีกครั้งในวันพรุ่งนี้ หลังชงกรณี “ซินเคอหยวน” เป็นคดีพิเศษ “เอกนัฏ” จ่อรื้อ มอก.เหล็กเส้นจากเตา IF ด้าน “ซินเคอหยวน” ยังไม่ปรับปรุงสินค้าไม่ได้มาตรฐาน ตามหนังสือแจ้งเตือนจาก สมอ. อ้างถูกสั่งปิดโรงงานชั่วคราว • นายพงศ์พล ยอดเมืองเจริญ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมในฐานะโฆษกกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ในวันพรุ่งนี้ (11 เม.ย.) เจ้าหน้าที่กระทรวงอุตสาหกรรมโดยทีมสุดซอย ร่วมกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) เข้าพื้นที่เพื่อเก็บตัวอย่างเหล็กจากซากอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ถล่มเพิ่มเติมอีกครั้ง โดยจะจัดเก็บเหล็กในพื้นที่ทั้ง 4 จุดทุกมุมเพื่อให้ได้ตัวอย่างเหล็กมากที่สุด ก่อนนำส่งตรวจสอบค่าทางเคมีและค่าทางกล ที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย • กระทรวงอุตสาหกรรมได้เข้าหารือและร่วมวางแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้าพื้นที่เพื่อให้เกิดความเป็นระบบและตรงตามวัตถุประสงค์ให้มากที่สุด • “เราจะเก็บตัวอย่างในส่วนที่ไม่ได้รับความเสียหายจากการถล่ม เพราะต้องการเหล็กที่มีสภาพที่สมบูรณ์ที่สุด โดยจะส่งตรวจที่สถาบันเหล็กฯ ส่วนการใช้แล็บกลางหรือไม่นั้นเราจะไม่เปลี่ยนที่ทดสอบ” • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/business/detail/9680000034297 • #MGROnline #กระทรวงอุตสาหกรรม
    0 Comments 0 Shares 313 Views 0 Reviews
  • ก.อุตสาหกรรมผนึกดีเอสไอลงพื้นที่เก็บตัวอย่างเหล็กจากซากอาคาร สตง.ถล่มเพิ่มเติมอีกครั้งในวันพรุ่งนี้ หลังชงกรณี “ซินเคอหยวน” เป็นคดีพิเศษ “เอกนัฏ” จ่อรื้อ มอก.เหล็กเส้นจากเตา IF ด้าน “ซินเคอหยวน” ยังไม่ปรับปรุงสินค้าไม่ได้มาตรฐาน ตามหนังสือแจ้งเตือนจาก สมอ. อ้างถูกสั่งปิดโรงงานชั่วคราว

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034297

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ก.อุตสาหกรรมผนึกดีเอสไอลงพื้นที่เก็บตัวอย่างเหล็กจากซากอาคาร สตง.ถล่มเพิ่มเติมอีกครั้งในวันพรุ่งนี้ หลังชงกรณี “ซินเคอหยวน” เป็นคดีพิเศษ “เอกนัฏ” จ่อรื้อ มอก.เหล็กเส้นจากเตา IF ด้าน “ซินเคอหยวน” ยังไม่ปรับปรุงสินค้าไม่ได้มาตรฐาน ตามหนังสือแจ้งเตือนจาก สมอ. อ้างถูกสั่งปิดโรงงานชั่วคราว อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034297 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    3
    0 Comments 0 Shares 688 Views 0 Reviews
  • กำแพงภาษี (Tariff Barriers) เป็นมาตรการที่รัฐบาลใช้ในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ โดยการกำหนดภาษีนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีทั้งผลดีและผลเสียต่อเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ ดังนี้

    ### **ผลดีของกำแพงภาษี**
    1. **ปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ**
    - ช่วยให้ผู้ผลิตในประเทศสามารถแข่งขันกับสินค้านำเข้าได้ โดยการทำให้สินค้าต่างประเทศมีราคาสูงขึ้น
    - ส่งเสริมการเติบโตของอุตสาหกรรมเกิดใหม่ (Infant Industry Protection)

    2. **สร้างรายได้ให้รัฐบาล**
    - ภาษีนำเข้าสามารถเป็นแหล่งรายได้สำคัญของรัฐบาล เพื่อนำไปใช้พัฒนาประเทศ

    3. **ลดการขาดดุลการค้า**
    - หากประเทศนำเข้าสินค้ามากเกินไป การเก็บภาษีนำเข้าช่วยลดการนำเข้าและปรับสมดุลการค้า

    4. **ปกป้องตลาดแรงงานและสิ่งแวดล้อม**
    - บางประเทศใช้กำแพงภาษีเพื่อป้องกันการนำเข้าสินค้าที่ผลิตด้วยแรงงานถูกหรือไม่ได้มาตรฐานสิ่งแวดล้อม

    5. **เป็นเครื่องมือในการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ**
    - ประเทศอาจใช้กำแพงภาษีเป็นข้อต่อรองเพื่อให้ได้ข้อตกลงการค้าที่เป็นประโยชน์

    ### **ผลเสียของกำแพงภาษี**
    1. **เพิ่มต้นทุนให้ผู้บริโภค**
    - สินค้านำเข้าแพงขึ้น ทำให้ประชาชนต้องจ่ายมากขึ้น

    2. **ลดประสิทธิภาพการผลิต**
    - การปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศมากเกินไปอาจทำให้ผู้ผลิตไม่พัฒนาคุณภาพสินค้า

    3. **อาจเกิดการตอบโต้จากประเทศคู่ค้า**
    - ประเทศอื่นอาจตอบโต้ด้วยการขึ้นภาษีสินค้าส่งออกของประเทศนั้น ทำให้การค้าระหว่างประเทศลดลง

    4. **บิดเบือนกลไกตลาด**
    - สินค้าที่ควรผลิตในประเทศที่มีประสิทธิภาพสูงสุดอาจถูกแทนที่ด้วยสินค้าภายในประเทศที่ผลิตได้ไม่ดีเท่า

    5. **ส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจโลก**
    - หากหลายประเทศใช้กำแพงภาษีมากเกินไป อาจนำไปสู่สงครามการค้า (Trade War) และชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจโลก

    ### **สรุป**
    กำแพงภาษีมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และบริบทของแต่ละประเทศ การใช้มาตรการนี้ควรพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อเศรษฐกิจในระยะยาว

    หากต้องการแนวทางอื่นแทนกำแพงภาษี ประเทศอาจใช้มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers) เช่น โควต้านำเข้า หรือกฎระเบียบด้านคุณภาพสินค้า เพื่อควบคุมการค้าโดยไม่เพิ่มต้นทุนให้ผู้บริโภคมากเกินไป
    กำแพงภาษี (Tariff Barriers) เป็นมาตรการที่รัฐบาลใช้ในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ โดยการกำหนดภาษีนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีทั้งผลดีและผลเสียต่อเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ ดังนี้ ### **ผลดีของกำแพงภาษี** 1. **ปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ** - ช่วยให้ผู้ผลิตในประเทศสามารถแข่งขันกับสินค้านำเข้าได้ โดยการทำให้สินค้าต่างประเทศมีราคาสูงขึ้น - ส่งเสริมการเติบโตของอุตสาหกรรมเกิดใหม่ (Infant Industry Protection) 2. **สร้างรายได้ให้รัฐบาล** - ภาษีนำเข้าสามารถเป็นแหล่งรายได้สำคัญของรัฐบาล เพื่อนำไปใช้พัฒนาประเทศ 3. **ลดการขาดดุลการค้า** - หากประเทศนำเข้าสินค้ามากเกินไป การเก็บภาษีนำเข้าช่วยลดการนำเข้าและปรับสมดุลการค้า 4. **ปกป้องตลาดแรงงานและสิ่งแวดล้อม** - บางประเทศใช้กำแพงภาษีเพื่อป้องกันการนำเข้าสินค้าที่ผลิตด้วยแรงงานถูกหรือไม่ได้มาตรฐานสิ่งแวดล้อม 5. **เป็นเครื่องมือในการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ** - ประเทศอาจใช้กำแพงภาษีเป็นข้อต่อรองเพื่อให้ได้ข้อตกลงการค้าที่เป็นประโยชน์ ### **ผลเสียของกำแพงภาษี** 1. **เพิ่มต้นทุนให้ผู้บริโภค** - สินค้านำเข้าแพงขึ้น ทำให้ประชาชนต้องจ่ายมากขึ้น 2. **ลดประสิทธิภาพการผลิต** - การปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศมากเกินไปอาจทำให้ผู้ผลิตไม่พัฒนาคุณภาพสินค้า 3. **อาจเกิดการตอบโต้จากประเทศคู่ค้า** - ประเทศอื่นอาจตอบโต้ด้วยการขึ้นภาษีสินค้าส่งออกของประเทศนั้น ทำให้การค้าระหว่างประเทศลดลง 4. **บิดเบือนกลไกตลาด** - สินค้าที่ควรผลิตในประเทศที่มีประสิทธิภาพสูงสุดอาจถูกแทนที่ด้วยสินค้าภายในประเทศที่ผลิตได้ไม่ดีเท่า 5. **ส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจโลก** - หากหลายประเทศใช้กำแพงภาษีมากเกินไป อาจนำไปสู่สงครามการค้า (Trade War) และชะลอการเติบโตของเศรษฐกิจโลก ### **สรุป** กำแพงภาษีมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และบริบทของแต่ละประเทศ การใช้มาตรการนี้ควรพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อเศรษฐกิจในระยะยาว หากต้องการแนวทางอื่นแทนกำแพงภาษี ประเทศอาจใช้มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers) เช่น โควต้านำเข้า หรือกฎระเบียบด้านคุณภาพสินค้า เพื่อควบคุมการค้าโดยไม่เพิ่มต้นทุนให้ผู้บริโภคมากเกินไป
    0 Comments 0 Shares 171 Views 0 Reviews
  • เหล็กตกก็คือตก! อย่าดัน(ทุรัง)ให้ผ่าน : [NEWS UPDATE]

    นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ รมว.อุตสาหกรรม เผยกรณี เจ้าหน้าที่บริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด จะนำเหล็กที่ตรวจสอบโดยสถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย แล้วไม่ผ่านเกณฑ์ ส่งให้สถาบันยานยนต์ตรวจสอบ ยืนยันไม่ยอม ตกก็คือตก จะตรวจจนผ่านเป็นไปไม่ได้ ซึ่งสถาบันยานยนต์ก็มีมาตรฐานกำหนด แม้ตรวจสอบผลก็จะเหมือนกัน โดยตรวจสอบ 2 รอบ เดือน ธ.ค. 2568 ซึ่งคุณสมบัติเคมีค่าโบรอนไม่เป็นไปตามมาตรฐาน และรอบ 2 คือ ตึก สตง. ถล่ม พบเหล็กข้ออ้อยขนาด 20 มิลลิเมตร มีมวลน้ำหนักเหล็กเบากว่ามาตรฐานและเหล็กข้ออ้อยขนาด 32 มิลลิเมตร ไม่ได้มาตรฐานค่าความสามารถต้านแรงดึง เป็นเกณฑ์ที่หนักกว่ารอบแรกด้วยซ้ำ ยืนยันตรวจสอบตรงไปตรงมา การตรวจพบ 2 กรณี บ่งบอกถึงมาตรฐานผลิตภัณฑ์และมาตรฐานการผลิต

    -ใช้มือยกหินแข่งกับเวลา

    -ตึกรัฐสภาเสาเข็มลึก 50 ม.

    -ห่วงใช้กฎหมายกลั่นแกล้ง

    -ภาษีสหรัฐเขย่าโลก
    เหล็กตกก็คือตก! อย่าดัน(ทุรัง)ให้ผ่าน : [NEWS UPDATE] นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ รมว.อุตสาหกรรม เผยกรณี เจ้าหน้าที่บริษัท ซิน เคอ หยวน สตีล จำกัด จะนำเหล็กที่ตรวจสอบโดยสถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย แล้วไม่ผ่านเกณฑ์ ส่งให้สถาบันยานยนต์ตรวจสอบ ยืนยันไม่ยอม ตกก็คือตก จะตรวจจนผ่านเป็นไปไม่ได้ ซึ่งสถาบันยานยนต์ก็มีมาตรฐานกำหนด แม้ตรวจสอบผลก็จะเหมือนกัน โดยตรวจสอบ 2 รอบ เดือน ธ.ค. 2568 ซึ่งคุณสมบัติเคมีค่าโบรอนไม่เป็นไปตามมาตรฐาน และรอบ 2 คือ ตึก สตง. ถล่ม พบเหล็กข้ออ้อยขนาด 20 มิลลิเมตร มีมวลน้ำหนักเหล็กเบากว่ามาตรฐานและเหล็กข้ออ้อยขนาด 32 มิลลิเมตร ไม่ได้มาตรฐานค่าความสามารถต้านแรงดึง เป็นเกณฑ์ที่หนักกว่ารอบแรกด้วยซ้ำ ยืนยันตรวจสอบตรงไปตรงมา การตรวจพบ 2 กรณี บ่งบอกถึงมาตรฐานผลิตภัณฑ์และมาตรฐานการผลิต -ใช้มือยกหินแข่งกับเวลา -ตึกรัฐสภาเสาเข็มลึก 50 ม. -ห่วงใช้กฎหมายกลั่นแกล้ง -ภาษีสหรัฐเขย่าโลก
    Like
    Sad
    Angry
    4
    0 Comments 0 Shares 794 Views 25 0 Reviews
  • “เหล็กที่นำมาใช้ก่อสร้าง 2 ขนาด ไม่ได้มาตรฐาน”

    การตรวจประสิทธิภาพของเหล็กจากซากอาคาร คือหนึ่งในกระบวนการค้นหาสาเหตุการถล่มของอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ ซึ่งเป็นอาคารเพียงแห่งเดียวในกรุงเทพมหานครที่ถล่มลงมาจากเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา ซึ่งอยู่ห่างออกไปถึงประมาณ 1,100 กิโลเมตร

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000031614

    #MGROnline #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง.
    “เหล็กที่นำมาใช้ก่อสร้าง 2 ขนาด ไม่ได้มาตรฐาน” • การตรวจประสิทธิภาพของเหล็กจากซากอาคาร คือหนึ่งในกระบวนการค้นหาสาเหตุการถล่มของอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ ซึ่งเป็นอาคารเพียงแห่งเดียวในกรุงเทพมหานครที่ถล่มลงมาจากเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา ซึ่งอยู่ห่างออกไปถึงประมาณ 1,100 กิโลเมตร • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000031614 • #MGROnline #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง.
    0 Comments 0 Shares 252 Views 0 Reviews
  • พ.ต.ต.ยุทธนา แพรดำ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) เผยการรับคดีตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่มเป็นคดีพิเศษ ในคดีนอมินีพบมีคนไทยที่สถานภาพไม่สอดคล้องกับการมาถือหุ้นในธุรกิจบริษัทใหญ่ มีหลักฐานการลงนามเอกสารเซ็นสัญญากิจการร่วมค้าต่างๆ คนต่างด้าวดูมีอำนาจครอบงำกิจการ คนไทยกลุ่มนี้ยังถือหุ้นบริษัทอื่นไม่ต่ำกว่า 3 บริษัทในเครือ จากทั้งหมด 13 บริษัท ส่วนเรื่องความผิดใช้ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐานอุตสาหกรรมจะเน้นตรวจสอบเรื่องเหล็ก พบเหล็กบางยี่ห้อไม่ตรงสเปค ส่วนคดีฮั้วประมูลจะสืบสวนการแข่งขันราคาอย่างไม่เป็นธรรม และตรวจสอบพยานหลักฐาน แฟ้มที่ชาวจีนลักลอบขนออกจากไซต์งานหลังวันเกิดเหตุ 37 แฟ้ม ส่วนการที่อาคารถล่ม ไม่ทราบว่าเกิดจากสาเหตุภัยพิบัติหรือข้อผิดพลาดจากการก่อสร้าง แต่เป็นสิ่งที่หลายคนตั้งข้อสังเกตว่ามีความผิดปกติ

    -ปรับแผนเครื่องจักรรื้อถอน
    -สภาทนายความเปิดศูนย์ช่วย
    -อย่าอ้างเป็นสถานบันเทิง
    -ไทย-เนปาล ยกระดับสัมพันธ์
    พ.ต.ต.ยุทธนา แพรดำ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) เผยการรับคดีตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่มเป็นคดีพิเศษ ในคดีนอมินีพบมีคนไทยที่สถานภาพไม่สอดคล้องกับการมาถือหุ้นในธุรกิจบริษัทใหญ่ มีหลักฐานการลงนามเอกสารเซ็นสัญญากิจการร่วมค้าต่างๆ คนต่างด้าวดูมีอำนาจครอบงำกิจการ คนไทยกลุ่มนี้ยังถือหุ้นบริษัทอื่นไม่ต่ำกว่า 3 บริษัทในเครือ จากทั้งหมด 13 บริษัท ส่วนเรื่องความผิดใช้ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐานอุตสาหกรรมจะเน้นตรวจสอบเรื่องเหล็ก พบเหล็กบางยี่ห้อไม่ตรงสเปค ส่วนคดีฮั้วประมูลจะสืบสวนการแข่งขันราคาอย่างไม่เป็นธรรม และตรวจสอบพยานหลักฐาน แฟ้มที่ชาวจีนลักลอบขนออกจากไซต์งานหลังวันเกิดเหตุ 37 แฟ้ม ส่วนการที่อาคารถล่ม ไม่ทราบว่าเกิดจากสาเหตุภัยพิบัติหรือข้อผิดพลาดจากการก่อสร้าง แต่เป็นสิ่งที่หลายคนตั้งข้อสังเกตว่ามีความผิดปกติ -ปรับแผนเครื่องจักรรื้อถอน -สภาทนายความเปิดศูนย์ช่วย -อย่าอ้างเป็นสถานบันเทิง -ไทย-เนปาล ยกระดับสัมพันธ์
    Like
    4
    0 Comments 0 Shares 866 Views 43 0 Reviews
  • รับคดีพิเศษตึก สตง.ถล่ม ยิ่งสาว(ไส้)ยิ่งเจอ : [NEWS UPDATE]

    พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รมว.ยุติธรรม เผยกรณีกรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) รับคดีตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่มเป็นคดีพิเศษ พบเข้าข่ายความผิดเป็นนอมินี เตรียมขยายผลฮั้วประมูล ดูคุณภาพเนื้องานก่อสร้าง เป็นปัจจัยสำคัญทำให้ตึกถล่มหรือไม่ รวมถึงสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน มอก. ตรวจสอบย้อนหลังงานที่บริษัทดังกล่าวได้รับการประมูลอีกกว่า 10 งาน รวมถึงรายละเอียดวิศวกรต่างชาติใช้วีซ่านักศึกษาเข้ามาทำงาน โดยจะเชิญหน่วยงาน เช่น กรมสรรพากร กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมเป็นคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง เนื่องจากเป็นผู้เชี่ยวชาญ นอกจากนี้ ยังจะตรวจสอบบริษัทอื่นๆ ที่มีลักษณะการร่วมทุนของชาวต่างชาติทั่วประเทศ ว่ามีบริษัทใดที่มีพฤติกรรมนอมินี เพื่อขยายผลและดำเนินคดี

    -ต้องตรวจละเอียดทุกจุด

    -ถกระบบเตือนแผ่นดินไหว

    -นายกขอ"อย่าเพิ่งป่วย"

    -ประชาชนค้านกม.กาสิโน
    รับคดีพิเศษตึก สตง.ถล่ม ยิ่งสาว(ไส้)ยิ่งเจอ : [NEWS UPDATE] พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รมว.ยุติธรรม เผยกรณีกรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) รับคดีตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่มเป็นคดีพิเศษ พบเข้าข่ายความผิดเป็นนอมินี เตรียมขยายผลฮั้วประมูล ดูคุณภาพเนื้องานก่อสร้าง เป็นปัจจัยสำคัญทำให้ตึกถล่มหรือไม่ รวมถึงสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน มอก. ตรวจสอบย้อนหลังงานที่บริษัทดังกล่าวได้รับการประมูลอีกกว่า 10 งาน รวมถึงรายละเอียดวิศวกรต่างชาติใช้วีซ่านักศึกษาเข้ามาทำงาน โดยจะเชิญหน่วยงาน เช่น กรมสรรพากร กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมเป็นคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง เนื่องจากเป็นผู้เชี่ยวชาญ นอกจากนี้ ยังจะตรวจสอบบริษัทอื่นๆ ที่มีลักษณะการร่วมทุนของชาวต่างชาติทั่วประเทศ ว่ามีบริษัทใดที่มีพฤติกรรมนอมินี เพื่อขยายผลและดำเนินคดี -ต้องตรวจละเอียดทุกจุด -ถกระบบเตือนแผ่นดินไหว -นายกขอ"อย่าเพิ่งป่วย" -ประชาชนค้านกม.กาสิโน
    Like
    Haha
    5
    0 Comments 0 Shares 751 Views 29 0 Reviews
  • เมื่อเสียงสมน้ำหน้า เคล้าก่นด่า ดังกว่า... ตึก สตง. ถล่ม! วิกฤตศรัทธาหน่วยตรวจ ลืมสำรวจตัวเอง? ไม่ใช่แค่ตึกที่พัง แต่ความเชื่อมั่น ในกระบวนการของภาครัฐเอง ก็สั่นสะเทือนไปทั่วประเทศ 😓

    🏢 เหตุการณ์ถล่ม ของตึกเดียวในประเทศไทย จากแผ่นดินไหว จุดชนวนคำถามถึงความโปร่งใส ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ และทำให้หน่วยงาน “ผู้ตรวจ” กลายเป็น “ผู้ถูกตรวจสอบ” เสียเอง

    🔎 เมื่อคำถามไม่ได้มีแค่ “ทำไมตึกถล่ม” แต่เป็น “ใครจะรับผิดชอบ?” 28 มีนาคม 2568 เวลา 14.37 น. กรุงเทพฯ สะเทือนจากแรงแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ศูนย์กลางที่เมียนมา 🌏 ในขณะที่อาคารสูงทั่วกรุงเทพฯ แกว่งไกวเล็กน้อยเพียงชั่วครู่ แต่กลับมีตึกหนึ่งที่ “พังลงทั้งหลัง” 😱 ตึกแห่งนั้นคือ อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

    เสียงระเบิดของโครงสร้างถล่มลงมา เสียงผู้รอดชีวิตร้องขอความช่วยเหลือ... และเสียง “ประชาชน” ที่เริ่มตั้งคำถามดังยิ่งกว่าเสียงไหน ๆ

    ทำไมตึกเดียวในไทยถึงถล่มทั้งหลัง?

    สตง. ไม่ตรวจสอบโครงการของตนเองหรือ?

    หรือระบบรัฐไทยล้มเหลวในระดับโครงสร้าง... ทั้งจริง ๆ และเชิงเปรียบเทียบ?

    📘 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) หรือ Office of the Auditor General of Thailand คือหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 🇹🇭 มีภารกิจสำคัญในการตรวจสอบ การใช้เงินของภาครัฐให้ถูกต้อง โปร่งใส และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน

    📌 ภารกิจหลักของ สตง.
    1. ตรวจสอบงบประมาณหน่วยงานรัฐ (Financial Audit)
    2. ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance Audit)
    3. ตรวจสอบประสิทธิภาพการดำเนินงาน (Performance Audit)

    นอกจากบทบาทในการตรวจสอบ สตง. ยังเสนอแนะการบริหาร และใช้จ่ายงบประมาณ พร้อมจัดทำรายงานประจำปีต่อรัฐสภา และประชาชนผ่านเว็บไซต์ www.audit.go.th เพื่อให้เกิด “ธรรมาภิบาล” ที่แท้จริง

    สตง. ทำหน้าที่เป็น “ผู้ตรวจสอบความโปร่งใสของรัฐ” แต่เมื่อสำนักงานของตัวเองถล่ม... ใครจะตรวจสอบ “ผู้ตรวจสอบ”?

    🧱 โครงการตึกใหม่ สตง. ต้นทุน 2,560 ล้านบาท แลกกับภาพลักษณ์องค์กร

    🏗️ ข้อมูลโครงการ
    สร้างที่:ถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

    ขนาดอาคาร 30 ชั้น บนพื้นที่ 11 ไร่

    งบประมาณรวม 2,560 ล้านบาท

    ผู้รับเหมาคือ กิจการร่วมค้า ITD-CREC เป็นบริษัทร่วมลงทุนระหว่างบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด

    บริษัทควบคุมงานคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู (PKW) ที่ร่วมทุนระหว่างบริษัทพี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และ สหาย คอนซัลแตนตส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด

    การก่อสร้างเริ่มตั้งแต่ปี 2563 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2569 โดยตั้งเป้าเป็นอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รองรับการขยายตัวขององค์กรในอนาคต 🌱

    แต่ในวันที่ 28 มีนาคม 2568 หลังจากสร้างมาได้เพียง 30%... ตึกก็ถล่มทั้งหลัง 😰

    💣 สาเหตุ? อุบัติเหตุ? หรือสะท้อนปัญหาลึกของระบบ?

    📍 แรงแผ่นดินไหว หรือโครงสร้างอ่อนแอ? แม้แผ่นดินไหวขนาด 8.2 จะถือว่ารุนแรง แต่บริเวณกรุงเทพฯ โดยเฉพาะจตุจักร ได้รับแรงสั่นสะเทือนประมาณ 5.1 เท่านั้น ซึ่งถือว่า ไม่แรงพอที่จะทำให้อาคารพังราบทั้งหลัง ตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง

    แล้วอะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้อาคารพัง?

    วัสดุก่อสร้างไม่ได้มาตรฐาน? 🧱

    โครงสร้างไม่รองรับแรงสั่น?

    ขั้นตอนตรวจสอบขาดความรัดกุม?

    จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่า เหล็กเส้นที่ใช้ในอาคารส่วนใหญ่ มาจากบริษัทต่างชาติ ที่ถูกสั่งปิดโรงงานในปลายปี 2567 เนื่องจากไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย ‼️

    🧪 ตรวจสอบวัสดุจริง กับข้อเท็จจริงที่น่าหวั่นใจ กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ สวทช. และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ได้เข้าตรวจสอบเหล็กเส้น จากสถานที่เกิดเหตุ พบว่า เหล็ก 5 จาก 6 ประเภท มาจากโรงงานเดียวกัน โรงงานนี้เคยมีประวัติการระเบิด และเครนหล่น อีกทั้งยังเคยถูกสั่งปิดชั่วคราว จากเหตุผลด้านความปลอดภัย

    ❗ คำถามคือ เหล็กจากแหล่งที่ไม่มีคุณภาพเหล่านี้ ผ่านการอนุมัติเข้าโครงการระดับพันล้าน ได้อย่างไร?

    🧠 เมื่อ “ผู้ตรวจ” ลืม “ตรวจสอบตัวเอง”? กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐไทย แม้จะมีกฎหมายและระเบียบที่รัดกุม แต่ในทางปฏิบัติ กลับพบว่า…

    การประมูลมักให้น้ำหนักกับ “ราคาถูก” มากกว่าคุณภาพ ผู้รับเหมาจึงใช้วัสดุราคาต่ำกว่ามาตรฐาน การกำกับดูแลไม่ทั่วถึง เพราะผู้ควบคุมโครงการ ก็อยู่ภายใต้งบจำกัด

    น่าเจ็บปวดที่เหตุการณ์นี้เกิดกับ “สตง.” ผู้ที่ควรจะเป็นต้นแบบของความโปร่งใส

    ⚖️ การเมืองในองค์กรอิสระ: อิสระจริง หรือเลือกกันเอง? โครงสร้าง คตง. และการสรรหา คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) มาจากการสรรหาโดย ส.ว. ปัจจุบันผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ได้รับการแต่งตั้งโดย ส.ว. ชุดพิเศษ การแต่งตั้งกรรมการหลายคน มีข้อครหาว่าไม่โปร่งใส และถูกฟ้องต่อศาลปกครอง

    ⛔ จุดนี้เองที่ทำให้ประชาชนเริ่มตั้งคำถามถึง “อิสรภาพ” ขององค์กรที่ควรเป็นอิสระจากการเมือง

    📣 กระแสโซเชียล & ประชาชน “เสียงสมน้ำหน้า” ดังยิ่งกว่าความเศร้า ในขณะที่ครอบครัวผู้เสียชีวิต ยังรอการกู้ร่างในซากตึก โลกออนไลน์กลับเต็มไปด้วยเสียงแดกดัน เช่น

    “ผู้ตรวจ ลืมตรวจตึกตัวเอง”

    “สมน้ำหน้าที่พังเพราะไม่โปร่งใส”

    “เงินภาษีคนไทยพังลงต่อหน้า”

    คำพูดเหล่านี้อาจดูโหดร้าย แต่ก็สะท้อนความรู้สึกของคนจำนวนมาก ที่รู้สึกว่า “แม้แต่หน่วยงานตรวจสอบ ก็ยังไม่รอดจากระบบที่พัง”

    📉 วิกฤตศรัทธา & บทเรียนราคาแพง สิ่งที่สูญเสียไม่ใช่แค่งบประมาณ หรือชีวิต… แต่คือ ความเชื่อมั่นต่อระบบรัฐ

    🚨 บทเรียนสำคัญที่รัฐต้องรับให้ได้ การคัดเลือกผู้รับเหมา ควรมีระบบที่ยึด “คุณภาพ” เป็นหลัก ต้องมีการตรวจสอบหลายชั้น โดยอิสระจริง ๆ ปฏิรูประบบจัดซื้อจัดจ้าง ให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพิ่มบทลงโทษกรณีวัสดุหรือผู้รับเหมาไม่ได้มาตรฐาน

    📌 จากตึกถล่ม สู่การตรวจสอบศรัทธาประชาชน เหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม อาจเป็นจุดเปลี่ยนที่เจ็บปวดของประเทศไทย 🕯️ แต่ในขณะเดียวกัน... นี่อาจเป็นโอกาสในการทบทวนระบบราชการ และการบริหารงบประมาณของรัฐอย่างแท้จริง

    อย่าให้เสียง “สมน้ำหน้า” ดังกลบเสียงของผู้เสียชีวิต อย่าให้ตึกที่พัง เป็นเพียงข่าวแค่ไม่กี่วัน แต่ให้มันเป็นบทเรียนที่สร้าง “การเปลี่ยนแปลง”

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 021119 เม.ย. 2568

    📢#ตึกสตงถล่ม #ผู้ตรวจถูกตรวจ #แผ่นดินไหว2568 #ข่าวด่วน #เหล็กไม่ได้มาตรฐาน #สตงคือใคร #ความโปร่งใสภาครัฐ #อาคารถล่มกรุงเทพ #ITDCREC #ข่าวไทย
    เมื่อเสียงสมน้ำหน้า เคล้าก่นด่า ดังกว่า... ตึก สตง. ถล่ม! วิกฤตศรัทธาหน่วยตรวจ ลืมสำรวจตัวเอง? ไม่ใช่แค่ตึกที่พัง แต่ความเชื่อมั่น ในกระบวนการของภาครัฐเอง ก็สั่นสะเทือนไปทั่วประเทศ 😓 🏢 เหตุการณ์ถล่ม ของตึกเดียวในประเทศไทย จากแผ่นดินไหว จุดชนวนคำถามถึงความโปร่งใส ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ และทำให้หน่วยงาน “ผู้ตรวจ” กลายเป็น “ผู้ถูกตรวจสอบ” เสียเอง 🔎 เมื่อคำถามไม่ได้มีแค่ “ทำไมตึกถล่ม” แต่เป็น “ใครจะรับผิดชอบ?” 28 มีนาคม 2568 เวลา 14.37 น. กรุงเทพฯ สะเทือนจากแรงแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ศูนย์กลางที่เมียนมา 🌏 ในขณะที่อาคารสูงทั่วกรุงเทพฯ แกว่งไกวเล็กน้อยเพียงชั่วครู่ แต่กลับมีตึกหนึ่งที่ “พังลงทั้งหลัง” 😱 ตึกแห่งนั้นคือ อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง เสียงระเบิดของโครงสร้างถล่มลงมา เสียงผู้รอดชีวิตร้องขอความช่วยเหลือ... และเสียง “ประชาชน” ที่เริ่มตั้งคำถามดังยิ่งกว่าเสียงไหน ๆ ทำไมตึกเดียวในไทยถึงถล่มทั้งหลัง? สตง. ไม่ตรวจสอบโครงการของตนเองหรือ? หรือระบบรัฐไทยล้มเหลวในระดับโครงสร้าง... ทั้งจริง ๆ และเชิงเปรียบเทียบ? 📘 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) หรือ Office of the Auditor General of Thailand คือหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 🇹🇭 มีภารกิจสำคัญในการตรวจสอบ การใช้เงินของภาครัฐให้ถูกต้อง โปร่งใส และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน 📌 ภารกิจหลักของ สตง. 1. ตรวจสอบงบประมาณหน่วยงานรัฐ (Financial Audit) 2. ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance Audit) 3. ตรวจสอบประสิทธิภาพการดำเนินงาน (Performance Audit) นอกจากบทบาทในการตรวจสอบ สตง. ยังเสนอแนะการบริหาร และใช้จ่ายงบประมาณ พร้อมจัดทำรายงานประจำปีต่อรัฐสภา และประชาชนผ่านเว็บไซต์ www.audit.go.th เพื่อให้เกิด “ธรรมาภิบาล” ที่แท้จริง สตง. ทำหน้าที่เป็น “ผู้ตรวจสอบความโปร่งใสของรัฐ” แต่เมื่อสำนักงานของตัวเองถล่ม... ใครจะตรวจสอบ “ผู้ตรวจสอบ”? 🧱 โครงการตึกใหม่ สตง. ต้นทุน 2,560 ล้านบาท แลกกับภาพลักษณ์องค์กร 🏗️ ข้อมูลโครงการ สร้างที่:ถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ขนาดอาคาร 30 ชั้น บนพื้นที่ 11 ไร่ งบประมาณรวม 2,560 ล้านบาท ผู้รับเหมาคือ กิจการร่วมค้า ITD-CREC เป็นบริษัทร่วมลงทุนระหว่างบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทควบคุมงานคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู (PKW) ที่ร่วมทุนระหว่างบริษัทพี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และ สหาย คอนซัลแตนตส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด การก่อสร้างเริ่มตั้งแต่ปี 2563 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2569 โดยตั้งเป้าเป็นอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รองรับการขยายตัวขององค์กรในอนาคต 🌱 แต่ในวันที่ 28 มีนาคม 2568 หลังจากสร้างมาได้เพียง 30%... ตึกก็ถล่มทั้งหลัง 😰 💣 สาเหตุ? อุบัติเหตุ? หรือสะท้อนปัญหาลึกของระบบ? 📍 แรงแผ่นดินไหว หรือโครงสร้างอ่อนแอ? แม้แผ่นดินไหวขนาด 8.2 จะถือว่ารุนแรง แต่บริเวณกรุงเทพฯ โดยเฉพาะจตุจักร ได้รับแรงสั่นสะเทือนประมาณ 5.1 เท่านั้น ซึ่งถือว่า ไม่แรงพอที่จะทำให้อาคารพังราบทั้งหลัง ตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง แล้วอะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้อาคารพัง? วัสดุก่อสร้างไม่ได้มาตรฐาน? 🧱 โครงสร้างไม่รองรับแรงสั่น? ขั้นตอนตรวจสอบขาดความรัดกุม? จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่า เหล็กเส้นที่ใช้ในอาคารส่วนใหญ่ มาจากบริษัทต่างชาติ ที่ถูกสั่งปิดโรงงานในปลายปี 2567 เนื่องจากไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย ‼️ 🧪 ตรวจสอบวัสดุจริง กับข้อเท็จจริงที่น่าหวั่นใจ กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ สวทช. และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ได้เข้าตรวจสอบเหล็กเส้น จากสถานที่เกิดเหตุ พบว่า เหล็ก 5 จาก 6 ประเภท มาจากโรงงานเดียวกัน โรงงานนี้เคยมีประวัติการระเบิด และเครนหล่น อีกทั้งยังเคยถูกสั่งปิดชั่วคราว จากเหตุผลด้านความปลอดภัย ❗ คำถามคือ เหล็กจากแหล่งที่ไม่มีคุณภาพเหล่านี้ ผ่านการอนุมัติเข้าโครงการระดับพันล้าน ได้อย่างไร? 🧠 เมื่อ “ผู้ตรวจ” ลืม “ตรวจสอบตัวเอง”? กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐไทย แม้จะมีกฎหมายและระเบียบที่รัดกุม แต่ในทางปฏิบัติ กลับพบว่า… การประมูลมักให้น้ำหนักกับ “ราคาถูก” มากกว่าคุณภาพ ผู้รับเหมาจึงใช้วัสดุราคาต่ำกว่ามาตรฐาน การกำกับดูแลไม่ทั่วถึง เพราะผู้ควบคุมโครงการ ก็อยู่ภายใต้งบจำกัด น่าเจ็บปวดที่เหตุการณ์นี้เกิดกับ “สตง.” ผู้ที่ควรจะเป็นต้นแบบของความโปร่งใส ⚖️ การเมืองในองค์กรอิสระ: อิสระจริง หรือเลือกกันเอง? โครงสร้าง คตง. และการสรรหา คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) มาจากการสรรหาโดย ส.ว. ปัจจุบันผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ได้รับการแต่งตั้งโดย ส.ว. ชุดพิเศษ การแต่งตั้งกรรมการหลายคน มีข้อครหาว่าไม่โปร่งใส และถูกฟ้องต่อศาลปกครอง ⛔ จุดนี้เองที่ทำให้ประชาชนเริ่มตั้งคำถามถึง “อิสรภาพ” ขององค์กรที่ควรเป็นอิสระจากการเมือง 📣 กระแสโซเชียล & ประชาชน “เสียงสมน้ำหน้า” ดังยิ่งกว่าความเศร้า ในขณะที่ครอบครัวผู้เสียชีวิต ยังรอการกู้ร่างในซากตึก โลกออนไลน์กลับเต็มไปด้วยเสียงแดกดัน เช่น “ผู้ตรวจ ลืมตรวจตึกตัวเอง” “สมน้ำหน้าที่พังเพราะไม่โปร่งใส” “เงินภาษีคนไทยพังลงต่อหน้า” คำพูดเหล่านี้อาจดูโหดร้าย แต่ก็สะท้อนความรู้สึกของคนจำนวนมาก ที่รู้สึกว่า “แม้แต่หน่วยงานตรวจสอบ ก็ยังไม่รอดจากระบบที่พัง” 📉 วิกฤตศรัทธา & บทเรียนราคาแพง สิ่งที่สูญเสียไม่ใช่แค่งบประมาณ หรือชีวิต… แต่คือ ความเชื่อมั่นต่อระบบรัฐ 🚨 บทเรียนสำคัญที่รัฐต้องรับให้ได้ การคัดเลือกผู้รับเหมา ควรมีระบบที่ยึด “คุณภาพ” เป็นหลัก ต้องมีการตรวจสอบหลายชั้น โดยอิสระจริง ๆ ปฏิรูประบบจัดซื้อจัดจ้าง ให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพิ่มบทลงโทษกรณีวัสดุหรือผู้รับเหมาไม่ได้มาตรฐาน 📌 จากตึกถล่ม สู่การตรวจสอบศรัทธาประชาชน เหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม อาจเป็นจุดเปลี่ยนที่เจ็บปวดของประเทศไทย 🕯️ แต่ในขณะเดียวกัน... นี่อาจเป็นโอกาสในการทบทวนระบบราชการ และการบริหารงบประมาณของรัฐอย่างแท้จริง อย่าให้เสียง “สมน้ำหน้า” ดังกลบเสียงของผู้เสียชีวิต อย่าให้ตึกที่พัง เป็นเพียงข่าวแค่ไม่กี่วัน แต่ให้มันเป็นบทเรียนที่สร้าง “การเปลี่ยนแปลง” ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 021119 เม.ย. 2568 📢#ตึกสตงถล่ม #ผู้ตรวจถูกตรวจ #แผ่นดินไหว2568 #ข่าวด่วน #เหล็กไม่ได้มาตรฐาน #สตงคือใคร #ความโปร่งใสภาครัฐ #อาคารถล่มกรุงเทพ #ITDCREC #ข่าวไทย
    0 Comments 0 Shares 848 Views 0 Reviews
  • นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ รมว.อุตสาหกรรม เผยถึงการนำทีมเข้าตรวจวัสดุก่อสร้างอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่ม เก็บตัวอย่าง 6 ประเภท ทั้งเหล็กกลม เหล็กข้ออ้อย 3 ยี่ห้อ ตรวจพบเหล็ก 2 ขนาด ไม่ได้มาตรฐานคือไซส์ 20 และ 32 มาจากยี่ห้อเดียวกัน เป็นผู้ผลิตที่สั่งหยุดโรงงานเมื่อเดือน ธ.ค. 2567 เตรียมตั้งคณะกรรมการสอบสวนขยายผล โดยการตรวจเหล็กตรวจ 2 ส่วน คือคุณสมบัติด้านการกล และคุณสมบัติทางเคมี ครั้งแรกที่ตรวจตกทางเคมี ล่าสุดที่ตรวจตกทางกล เตรียมลงพื้นที่ตรวจโรงงานซินเคอหยวน จ.ระยอง ที่สั่งปิด หลังพบโรงงานยังมีความเคลื่อนไหว​ อาจลักลอบผลิตเหล็กหรือไม่ และจะเข้าพื้นที่ตึก สตง. พร้อมคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง เพื่อเก็บตัวอย่างอีกครั้ง โดยจะเก็บแบบชี้เป้าครบทุกประเภท และเก็บในจุดที่สันนิษฐานว่าทำให้ตึกถล่ม ได้ข่าวมีความพยายามวิ่งเต้น ข่มขู่เจ้าหน้าที่ ถ้าไม่กล้าพูด​ตนจะพูดเอง ปล่อยต่อไปมากกว่านี้ไม่ได้แล้ว

    -ยังเร่งค้นหาผู้รอดชีวิต
    -ทุนจีนสร้างตึกพัวพัน 13 บริษัท
    -วุฒิสภาซ้อมหนีแผ่นดินไหว
    -ไฟเขียวลดค่าไฟ พ.ค.-ส.ค.
    นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ รมว.อุตสาหกรรม เผยถึงการนำทีมเข้าตรวจวัสดุก่อสร้างอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่ม เก็บตัวอย่าง 6 ประเภท ทั้งเหล็กกลม เหล็กข้ออ้อย 3 ยี่ห้อ ตรวจพบเหล็ก 2 ขนาด ไม่ได้มาตรฐานคือไซส์ 20 และ 32 มาจากยี่ห้อเดียวกัน เป็นผู้ผลิตที่สั่งหยุดโรงงานเมื่อเดือน ธ.ค. 2567 เตรียมตั้งคณะกรรมการสอบสวนขยายผล โดยการตรวจเหล็กตรวจ 2 ส่วน คือคุณสมบัติด้านการกล และคุณสมบัติทางเคมี ครั้งแรกที่ตรวจตกทางเคมี ล่าสุดที่ตรวจตกทางกล เตรียมลงพื้นที่ตรวจโรงงานซินเคอหยวน จ.ระยอง ที่สั่งปิด หลังพบโรงงานยังมีความเคลื่อนไหว​ อาจลักลอบผลิตเหล็กหรือไม่ และจะเข้าพื้นที่ตึก สตง. พร้อมคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง เพื่อเก็บตัวอย่างอีกครั้ง โดยจะเก็บแบบชี้เป้าครบทุกประเภท และเก็บในจุดที่สันนิษฐานว่าทำให้ตึกถล่ม ได้ข่าวมีความพยายามวิ่งเต้น ข่มขู่เจ้าหน้าที่ ถ้าไม่กล้าพูด​ตนจะพูดเอง ปล่อยต่อไปมากกว่านี้ไม่ได้แล้ว -ยังเร่งค้นหาผู้รอดชีวิต -ทุนจีนสร้างตึกพัวพัน 13 บริษัท -วุฒิสภาซ้อมหนีแผ่นดินไหว -ไฟเขียวลดค่าไฟ พ.ค.-ส.ค.
    Like
    4
    0 Comments 0 Shares 654 Views 19 0 Reviews
  • อึ้ง!เหล็กตึกสตง. มาจากโรงงานถูกสั่งปิด : [THE-MESSAGE]

    นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ รมว.อุตสาหกรรม เผยถึงการนำทีมเข้าตรวจวัสดุก่อสร้างในจุดที่อาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่ม เก็บตัวอย่าง 6 ประเภท ทั้งเหล็กกลม เหล็กข้ออ้อย 3 ยี่ห้อ ตรวจสอบพบมีเหล็ก 2 ขนาด ไม่ได้มาตรฐานคือไซซ์ 20 และ 32 มาจากยี่ห้อเดียวกัน เป็นผู้ผลิตที่สั่งหยุดโรงงานเมื่อเดือน ธ.ค. 2567 จะตั้งคณะกรรมการสอบสวนขยายผล เตรียมเข้าพื้นที่พร้อมคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง เก็บตัวอย่างอีกครั้ง โดยจะเก็บแบบชี้เป้าให้ครบทุกประเภท และเก็บในจุดที่สันนิษฐานว่าทำให้ตึกถล่ม ยอมรับอึ้งเพราะโรงงานที่ผลิตเหล็กไม่ได้มาตรฐาน เป็นโรงงานที่ไปตรวจและสั่งปิด โดยการตรวจเหล็กจะตรวจ 2 ส่วน คือคุณสมบัติด้านการกล และคุณสมบัติทางเคมี ครั้งแรกที่ตรวจตกทางเคมี ล่าสุดที่ตรวจตกทางกล ได้ข่าวมีความพยายามวิ่งเต้น ข่มขู่เจ้าหน้าที่ เตรียมลงพื้นที่ตรวจโรงงาน ซินเคอหยวน ต.หนองละลอก จ.ระยอง ที่สั่งปิด หลังพบโรงงานยังมีความเคลื่อนไหว​ พบรถบรรทุกขนฝุ่นแดง อาจลักลอบผลิตเหล็กอยู่หรือไม่
    อึ้ง!เหล็กตึกสตง. มาจากโรงงานถูกสั่งปิด : [THE-MESSAGE] นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ รมว.อุตสาหกรรม เผยถึงการนำทีมเข้าตรวจวัสดุก่อสร้างในจุดที่อาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่ม เก็บตัวอย่าง 6 ประเภท ทั้งเหล็กกลม เหล็กข้ออ้อย 3 ยี่ห้อ ตรวจสอบพบมีเหล็ก 2 ขนาด ไม่ได้มาตรฐานคือไซซ์ 20 และ 32 มาจากยี่ห้อเดียวกัน เป็นผู้ผลิตที่สั่งหยุดโรงงานเมื่อเดือน ธ.ค. 2567 จะตั้งคณะกรรมการสอบสวนขยายผล เตรียมเข้าพื้นที่พร้อมคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง เก็บตัวอย่างอีกครั้ง โดยจะเก็บแบบชี้เป้าให้ครบทุกประเภท และเก็บในจุดที่สันนิษฐานว่าทำให้ตึกถล่ม ยอมรับอึ้งเพราะโรงงานที่ผลิตเหล็กไม่ได้มาตรฐาน เป็นโรงงานที่ไปตรวจและสั่งปิด โดยการตรวจเหล็กจะตรวจ 2 ส่วน คือคุณสมบัติด้านการกล และคุณสมบัติทางเคมี ครั้งแรกที่ตรวจตกทางเคมี ล่าสุดที่ตรวจตกทางกล ได้ข่าวมีความพยายามวิ่งเต้น ข่มขู่เจ้าหน้าที่ เตรียมลงพื้นที่ตรวจโรงงาน ซินเคอหยวน ต.หนองละลอก จ.ระยอง ที่สั่งปิด หลังพบโรงงานยังมีความเคลื่อนไหว​ พบรถบรรทุกขนฝุ่นแดง อาจลักลอบผลิตเหล็กอยู่หรือไม่
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 691 Views 15 0 Reviews
  • ผลตรวจเหล็กตึก สตง.ไม่ได้มาตรฐาน! : [NEWS UPDATE]

    น.ส.ฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ หัวหน้าคณะทำงาน รมว.อุตสาหกรรม เผยผลการสุ่มตรวจเก็บตัวอย่างเหล็กเส้น 28 ท่อน จากตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ซึ่งถล่มเมื่อวันที่ 28 มี.ค. ที่ผ่านมา จากเหตุแผ่นดินไหว พบมีทั้งได้และไม่ได้มาตรฐาน โดยเหล็กที่นำมาตรวจสอบ 28 ท่อน 7 ไซส์ ได้มาตรฐาน 15 ท่อน 5 ไซส์ ไม่ได้มาตรฐาน 13 ท่อน 2 ไซส์ คือ ไซส์ 20 มิลลิเมตร และ 32 มิลลิเมตร ซึ่งทั้ง 2 ไซส์ มาจากบริษัทเดียวกัน ที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(สมอ.) ได้สั่งปิดเมื่อเดือน ธ.ค. 2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ซึ่งหลังจากนี้จะกลับไปนำตัวอย่างมาตรวจสอบเพิ่ม เพื่อให้มีหลักฐานเพียงพอ ส่วนเหล็กที่ไม่ผ่านมาตรฐานจะตรวจสอบเชิงลึกว่าผลิตระหว่างที่สั่งปิดหรือไม่ เพราะดูจากเหล็กน่าจะประมาณ 5 เดือน หากพบลักลอบนำเหล็กไม่ได้มาตรฐานมาใช้ จะโดนดำเนินคดี ยอมรับการเข้าพื้นที่เพื่อนำตัวอย่างมาตรวจสอบไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร

    -ซ่อมรอยร้าวศูนย์ราชการ

    -ช่วยเต็มที่ทุกสัญชาติ

    -เร่งตรวจรายงานผลนายก

    -ความหวังเริ่มริบหรี่
    ผลตรวจเหล็กตึก สตง.ไม่ได้มาตรฐาน! : [NEWS UPDATE] น.ส.ฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ หัวหน้าคณะทำงาน รมว.อุตสาหกรรม เผยผลการสุ่มตรวจเก็บตัวอย่างเหล็กเส้น 28 ท่อน จากตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ซึ่งถล่มเมื่อวันที่ 28 มี.ค. ที่ผ่านมา จากเหตุแผ่นดินไหว พบมีทั้งได้และไม่ได้มาตรฐาน โดยเหล็กที่นำมาตรวจสอบ 28 ท่อน 7 ไซส์ ได้มาตรฐาน 15 ท่อน 5 ไซส์ ไม่ได้มาตรฐาน 13 ท่อน 2 ไซส์ คือ ไซส์ 20 มิลลิเมตร และ 32 มิลลิเมตร ซึ่งทั้ง 2 ไซส์ มาจากบริษัทเดียวกัน ที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(สมอ.) ได้สั่งปิดเมื่อเดือน ธ.ค. 2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ซึ่งหลังจากนี้จะกลับไปนำตัวอย่างมาตรวจสอบเพิ่ม เพื่อให้มีหลักฐานเพียงพอ ส่วนเหล็กที่ไม่ผ่านมาตรฐานจะตรวจสอบเชิงลึกว่าผลิตระหว่างที่สั่งปิดหรือไม่ เพราะดูจากเหล็กน่าจะประมาณ 5 เดือน หากพบลักลอบนำเหล็กไม่ได้มาตรฐานมาใช้ จะโดนดำเนินคดี ยอมรับการเข้าพื้นที่เพื่อนำตัวอย่างมาตรวจสอบไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร -ซ่อมรอยร้าวศูนย์ราชการ -ช่วยเต็มที่ทุกสัญชาติ -เร่งตรวจรายงานผลนายก -ความหวังเริ่มริบหรี่
    Like
    10
    0 Comments 0 Shares 613 Views 31 0 Reviews
  • ตามหาความจริง ตึกถล่มจตุจักร

    แผ่นดินไหวขนาด 8.2 ลึก 10 กิโลเมตร บริเวณเมืองลอยกอ ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา เมื่อเวลา 13.20 น. ของวันศุกร์ที่ 28 มี.ค. สั่นสะเทือนมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล หนึ่งในนั้นคือโครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ สูง 30 ชั้น บนถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร พังถล่มลงมา ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตที่เกิดเหตุ 11 ราย เสียชีวิตที่โรงพยาบาล 1 ราย บาดเจ็บ 18 ราย สูญหายอีกจำนวนมาก

    สังคมตั้งข้อสงสัยไปที่การก่อสร้างอาคารที่ไม่ได้คุณภาพ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 2,136 ล้านบาท ผู้รับจ้างคือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด ส่วนผู้ควบคุมงานก่อสร้างคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และ บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด งบประมาณ 74.653 ล้านบาท

    มีการตรวจสอบบริษัทผู้รับจ้างอย่างไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) พบความผิดปกติตรงที่เมื่อปี 2567 ได้โพสต์ภาพและข่าวการเฉลิมฉลองปิดงานก่อสร้างชั้นดาดฟ้า ในบัญชีโซเชียลมีเดียของบริษัทฯ นำเสนอว่าใช้ระบบโครงสร้างแบบแกนกลางรับแรง และพื้นไร้คาน พอเกิดเหตุได้ลบบทความทิ้ง ไม่นับรวมการตรวจสอบที่ตั้งบริษัท พบว่าเป็นตึกแถวธรรมดาในซอยพุทธบูชา 44 แยก 11 เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ

    ขณะที่ สตง.เจ้าของโครงการ ชี้แจงว่าได้ประสานงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และเร่งตรวจสอบสาเหตุที่เกิดขึ้น ยืนยีนว่ากระบวนการดำเนินโครงการฯ เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ส่วนการแก้แบบโครงสร้างให้เล็กลงเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะออกแบบให้เสาสี่เหลี่ยมด้านหน้าอาคารสูงสามชั้นมีขนาด 1.40 x 1.40 เมตร ส่วนชั้น 29 ถึงดาดฟ้า เป็นเสากลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร เพื่อรองรับหลังคาตึก เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบกำหนดไว้ไม่มีการแก้ไข

    กระทรวงอุตสาหกรรมได้เก็บตัวอย่างเหล็กที่ใช้ในการก่อสร้างไปตรวจสอบที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย พบว่ามีเหล็กบางส่วนไม่ได้มาตรฐานมาจากบริษัทที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สั่งปิดไปเมื่อเดือน ธ.ค.2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่ได้ตามมาตรฐาน

    ถึงบัดนี้นอกจากความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแล้ว การค้นหาความจริงถึงสาเหตุตึกถล่มมาจากภัยธรรมชาติหรือการก่อสร้างไม่ได้มาตรฐานยังคงดำเนินต่อไป ตามที่ รมว.มหาดไทยตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงที่มีวิศวกรใหญ่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นประธาน ซึ่งให้เวลาสืบสวนภายใน 7 วัน

    #Newskit
    ตามหาความจริง ตึกถล่มจตุจักร แผ่นดินไหวขนาด 8.2 ลึก 10 กิโลเมตร บริเวณเมืองลอยกอ ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา เมื่อเวลา 13.20 น. ของวันศุกร์ที่ 28 มี.ค. สั่นสะเทือนมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล หนึ่งในนั้นคือโครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ สูง 30 ชั้น บนถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร พังถล่มลงมา ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตที่เกิดเหตุ 11 ราย เสียชีวิตที่โรงพยาบาล 1 ราย บาดเจ็บ 18 ราย สูญหายอีกจำนวนมาก สังคมตั้งข้อสงสัยไปที่การก่อสร้างอาคารที่ไม่ได้คุณภาพ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 2,136 ล้านบาท ผู้รับจ้างคือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด ส่วนผู้ควบคุมงานก่อสร้างคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และ บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด งบประมาณ 74.653 ล้านบาท มีการตรวจสอบบริษัทผู้รับจ้างอย่างไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) พบความผิดปกติตรงที่เมื่อปี 2567 ได้โพสต์ภาพและข่าวการเฉลิมฉลองปิดงานก่อสร้างชั้นดาดฟ้า ในบัญชีโซเชียลมีเดียของบริษัทฯ นำเสนอว่าใช้ระบบโครงสร้างแบบแกนกลางรับแรง และพื้นไร้คาน พอเกิดเหตุได้ลบบทความทิ้ง ไม่นับรวมการตรวจสอบที่ตั้งบริษัท พบว่าเป็นตึกแถวธรรมดาในซอยพุทธบูชา 44 แยก 11 เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ ขณะที่ สตง.เจ้าของโครงการ ชี้แจงว่าได้ประสานงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และเร่งตรวจสอบสาเหตุที่เกิดขึ้น ยืนยีนว่ากระบวนการดำเนินโครงการฯ เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ส่วนการแก้แบบโครงสร้างให้เล็กลงเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะออกแบบให้เสาสี่เหลี่ยมด้านหน้าอาคารสูงสามชั้นมีขนาด 1.40 x 1.40 เมตร ส่วนชั้น 29 ถึงดาดฟ้า เป็นเสากลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร เพื่อรองรับหลังคาตึก เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบกำหนดไว้ไม่มีการแก้ไข กระทรวงอุตสาหกรรมได้เก็บตัวอย่างเหล็กที่ใช้ในการก่อสร้างไปตรวจสอบที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย พบว่ามีเหล็กบางส่วนไม่ได้มาตรฐานมาจากบริษัทที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สั่งปิดไปเมื่อเดือน ธ.ค.2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่ได้ตามมาตรฐาน ถึงบัดนี้นอกจากความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแล้ว การค้นหาความจริงถึงสาเหตุตึกถล่มมาจากภัยธรรมชาติหรือการก่อสร้างไม่ได้มาตรฐานยังคงดำเนินต่อไป ตามที่ รมว.มหาดไทยตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงที่มีวิศวกรใหญ่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นประธาน ซึ่งให้เวลาสืบสวนภายใน 7 วัน #Newskit
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 636 Views 0 Reviews
  • ผลตรวจสอบเหล็กตึก สตง.ถล่ม พบเหล็กไม่ได้มาตรฐาน 2 ไซส์ ยังไม่สรุปเป็นสาเหตุ-จ่อเก็บตัวอย่างเพิ่ม
    https://www.thai-tai.tv/news/17954/
    ผลตรวจสอบเหล็กตึก สตง.ถล่ม พบเหล็กไม่ได้มาตรฐาน 2 ไซส์ ยังไม่สรุปเป็นสาเหตุ-จ่อเก็บตัวอย่างเพิ่ม https://www.thai-tai.tv/news/17954/
    0 Comments 0 Shares 139 Views 0 Reviews
  • ผลตรวจเหล็กเส้นจากซากตึก สตง.28 ท่อน ออกแล้ว พบได้มาตรฐาน 26 ท่อน ไม่ได้มาตรฐาน 2 ท่อน แต่ยังไม่เปิดเผยเป็นของบริษัทใดบ้าง เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบขั้นต่อไป และยังไม่ปรักปรำบริษัทใด แต่ทั้งหมดที่เก็บไปตรยวจสอบส่วนใหญ่เป็นยี่ห้อ “ซินเคอหยวน” จากจีน 18 ท่อน ที่เหลือเป็นของ TATA และ YTS

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030770
    ผลตรวจเหล็กเส้นจากซากตึก สตง.28 ท่อน ออกแล้ว พบได้มาตรฐาน 26 ท่อน ไม่ได้มาตรฐาน 2 ท่อน แต่ยังไม่เปิดเผยเป็นของบริษัทใดบ้าง เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบขั้นต่อไป และยังไม่ปรักปรำบริษัทใด แต่ทั้งหมดที่เก็บไปตรยวจสอบส่วนใหญ่เป็นยี่ห้อ “ซินเคอหยวน” จากจีน 18 ท่อน ที่เหลือเป็นของ TATA และ YTS อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030770
    Like
    Haha
    5
    0 Comments 0 Shares 566 Views 0 Reviews
  • เหล็กจีนทำลายโลก
    ประเทศจีนจับได้เมือสายไปแล้ว เหล็กปลอมออกไปหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย
    ทำไมเกิดขึ้น? ใครเป็นคนรู้เห็นเป็นใจ?

    เดชา นฤนารท.
    29/3/68 11.20 น.

    ประเด็นตึกถล่ม จากบริษัทจีนที่ร่วมมือกับบริษัทอิตาเลียนไทย ยังดูเล็กไป

    ถ้าคนไทยตื่นรู้ความจริงว่า รัฐบาลจีนได้เข้าทะลายโรงงานผลิตเหล็กปลอมจำนวนมากหลายแห่งในประเทศจีน

    ทำให้รัฐบาลจีนสูญเสียรายได้ไปมากถึงกว่า 2.4ล้านล้านเหรียญ เพราะอสังหาริมทรัพย์ที่สำคัญในการก่อสร้างของจีนเสียหายไปหลายแห่ง และทำให้จีนเสื่อมเสียความเชื่อมั่นไปทั่วโลก จากการส่งออกเหล็กปลอม

    ในปีที่แล้ว สีจิ้นผิง ใช้ไม้แข็ง สั่งเจ้าหน้าที่ทุกมลฑล เข้ากรวดล้างโรงงานผลิตเหล็กเถื่อนกว่า500แห่ง จนราบคาบ กลายเป็นโรงงานร้าง และดำเนินคดีเจ้าของโรงงานด้วยการสั่งประหาร และจำคุกตลอดชีวิต

    คาดกันว่ายังมีเหล็กปลอมจากจีนกว่า 60 ล้านตัน หลุดออกไปยังประเทศต่างๆในอาเซียน โดยเฉพาะในประเทศที่มีเจ้าหน้าที่รัฐ ไม่ได้ใส่ใจและมีการคอรัปชั่นสูง เช่น ไทย เมียนมาร์ สปป.ลาว

    ตึกถล่มในไทย เป็นผลงานการก่อสร้างจากกลุ่มบริษัทเดียวกันที่คานเหล็กถล่มลงมาในการก่อสร้างที่ถนนพระราม2

    และยังมีคอนโดหรูอีกหลายแห่ง ที่ใช้บริการเหล็กปลอมจากจีน

    ปีที่แล้วก็เกิดคานเหล็กร่วงลงมาบ่อยมาก จากการก่อสร้างรถไฟภายใน กทม.เพราะเหล็กไม่ได้มาตรฐาน

    ผลจากการเกิดอาฟเตอร์ช็อคในเมียนมาร์ หลังเกิดแผ่นดินไหว ตึกอาคาร บ้านเรือน วัด แม้ไม่ได้สร้างให้สูง ก็พังถล่มลงมาจำนวนมาก

    ข่าวนี้ได้แพร่กระจายไปถึงประเทศจีน คนจีนหลายล้านคนต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า **นั่นมันต้องเกิดจากเหล็กปลอมที่ถูกส่งมาจากประเทศจีนแน่นอน**

    งานนี้บริษัทรับเหมาของบริษัทจีนกับอิตาเลียนไทย ไม่ได้ผุดได้เกิดอีกต่อไป เพราะเสียเครดิตไปหมดแล้ว

    ส่วนข้าราชการไทยกับนักการเมืองไทย ก็จะโบ้ยโทษกันไปมาเหมือนเคย และจะไม่มีใครมาสนใจเหล็กปลอมกว่า 60 ล้านตันของจีน ว่าแจกพรอตมันจะหล่นไปตรงใส่หัวของใคร

    ต่อด้วย เฟอร์นิเจอร์สวรรค์

    ตึก สนง.ของ สตช.ถล่ม แน่นอนว่าธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของไทย ก็จะตายตามไปด้วย.

    เปิดราคาคุรุภัณฑ์ อาคาร สตง
    เห็นแล้วจะเป็นลม
    ชมรม strong ต้านทุจริต

    เก้าอี้ตัวละ 97900 บาท
    https://www.facebook.com/share/1R4ShHo9WC/?mibextid=wwXIfr

    ผ้าพื้นละ 110,000 บาท

    https://www.facebook.com/share/15W1c8Xvki/?mibextid=wwXIfr

    พรมทอมือ nylon ผืนละ 165,000 บาท
    https://www.facebook.com/share/1AJhURAfQM/?mibextid=wwXIfr

    โต๊ะกลมทานอาหารตัวละ 90,000 บาท
    https://www.facebook.com/share/16LKvsMFhi/?mibextid=wwXIfr
    เหล็กจีนทำลายโลก ประเทศจีนจับได้เมือสายไปแล้ว เหล็กปลอมออกไปหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย ทำไมเกิดขึ้น? ใครเป็นคนรู้เห็นเป็นใจ? เดชา นฤนารท. 29/3/68 11.20 น. ประเด็นตึกถล่ม จากบริษัทจีนที่ร่วมมือกับบริษัทอิตาเลียนไทย ยังดูเล็กไป ถ้าคนไทยตื่นรู้ความจริงว่า รัฐบาลจีนได้เข้าทะลายโรงงานผลิตเหล็กปลอมจำนวนมากหลายแห่งในประเทศจีน ทำให้รัฐบาลจีนสูญเสียรายได้ไปมากถึงกว่า 2.4ล้านล้านเหรียญ เพราะอสังหาริมทรัพย์ที่สำคัญในการก่อสร้างของจีนเสียหายไปหลายแห่ง และทำให้จีนเสื่อมเสียความเชื่อมั่นไปทั่วโลก จากการส่งออกเหล็กปลอม ในปีที่แล้ว สีจิ้นผิง ใช้ไม้แข็ง สั่งเจ้าหน้าที่ทุกมลฑล เข้ากรวดล้างโรงงานผลิตเหล็กเถื่อนกว่า500แห่ง จนราบคาบ กลายเป็นโรงงานร้าง และดำเนินคดีเจ้าของโรงงานด้วยการสั่งประหาร และจำคุกตลอดชีวิต คาดกันว่ายังมีเหล็กปลอมจากจีนกว่า 60 ล้านตัน หลุดออกไปยังประเทศต่างๆในอาเซียน โดยเฉพาะในประเทศที่มีเจ้าหน้าที่รัฐ ไม่ได้ใส่ใจและมีการคอรัปชั่นสูง เช่น ไทย เมียนมาร์ สปป.ลาว ตึกถล่มในไทย เป็นผลงานการก่อสร้างจากกลุ่มบริษัทเดียวกันที่คานเหล็กถล่มลงมาในการก่อสร้างที่ถนนพระราม2 และยังมีคอนโดหรูอีกหลายแห่ง ที่ใช้บริการเหล็กปลอมจากจีน ปีที่แล้วก็เกิดคานเหล็กร่วงลงมาบ่อยมาก จากการก่อสร้างรถไฟภายใน กทม.เพราะเหล็กไม่ได้มาตรฐาน ผลจากการเกิดอาฟเตอร์ช็อคในเมียนมาร์ หลังเกิดแผ่นดินไหว ตึกอาคาร บ้านเรือน วัด แม้ไม่ได้สร้างให้สูง ก็พังถล่มลงมาจำนวนมาก ข่าวนี้ได้แพร่กระจายไปถึงประเทศจีน คนจีนหลายล้านคนต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า **นั่นมันต้องเกิดจากเหล็กปลอมที่ถูกส่งมาจากประเทศจีนแน่นอน** งานนี้บริษัทรับเหมาของบริษัทจีนกับอิตาเลียนไทย ไม่ได้ผุดได้เกิดอีกต่อไป เพราะเสียเครดิตไปหมดแล้ว ส่วนข้าราชการไทยกับนักการเมืองไทย ก็จะโบ้ยโทษกันไปมาเหมือนเคย และจะไม่มีใครมาสนใจเหล็กปลอมกว่า 60 ล้านตันของจีน ว่าแจกพรอตมันจะหล่นไปตรงใส่หัวของใคร ต่อด้วย เฟอร์นิเจอร์สวรรค์ ตึก สนง.ของ สตช.ถล่ม แน่นอนว่าธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของไทย ก็จะตายตามไปด้วย. เปิดราคาคุรุภัณฑ์ อาคาร สตง เห็นแล้วจะเป็นลม ชมรม strong ต้านทุจริต เก้าอี้ตัวละ 97900 บาท https://www.facebook.com/share/1R4ShHo9WC/?mibextid=wwXIfr ผ้าพื้นละ 110,000 บาท https://www.facebook.com/share/15W1c8Xvki/?mibextid=wwXIfr พรมทอมือ nylon ผืนละ 165,000 บาท https://www.facebook.com/share/1AJhURAfQM/?mibextid=wwXIfr โต๊ะกลมทานอาหารตัวละ 90,000 บาท https://www.facebook.com/share/16LKvsMFhi/?mibextid=wwXIfr
    0 Comments 0 Shares 709 Views 0 Reviews
  • เหล็กจีนทำลายโลก
    ประเทศจีนจับได้เมือสายไปแล้ว เหล็กปลอมออกไปหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย
    ทำไมเกิดขึ้น? ใครเป็นคนรู้เห็นเป็นใจ?

    เดชา นฤนารท.
    29/3/68 11.20 น.

    ประเด็นตึกถล่ม จากบริษัทจีนที่ร่วมมือกับบริษัทอิตาเลียนไทย ยังดูเล็กไป

    ถ้าคนไทยตื่นรู้ความจริงว่า รัฐบาลจีนได้เข้าทะลายโรงงานผลิตเหล็กปลอมจำนวนมากหลายแห่งในประเทศจีน

    ทำให้รัฐบาลจีนสูญเสียรายได้ไปมากถึงกว่า 2.4ล้านล้านเหรียญ เพราะอสังหาริมทรัพย์ที่สำคัญในการก่อสร้างของจีนเสียหายไปหลายแห่ง และทำให้จีนเสื่อมเสียความเชื่อมั่นไปทั่วโลก จากการส่งออกเหล็กปลอม

    ในปีที่แล้ว สีจิ้นผิง ใช้ไม้แข็ง สั่งเจ้าหน้าที่ทุกมลฑล เข้ากรวดล้างโรงงานผลิตเหล็กเถื่อนกว่า500แห่ง จนราบคาบ กลายเป็นโรงงานร้าง และดำเนินคดีเจ้าของโรงงานด้วยการสั่งประหาร และจำคุกตลอดชีวิต

    คาดกันว่ายังมีเหล็กปลอมจากจีนกว่า 60 ล้านตัน หลุดออกไปยังประเทศต่างๆในอาเซียน โดยเฉพาะในประเทศที่มีเจ้าหน้าที่รัฐ ไม่ได้ใส่ใจและมีการคอรัปชั่นสูง เช่น ไทย เมียนมาร์ สปป.ลาว

    ตึกถล่มในไทย เป็นผลงานการก่อสร้างจากกลุ่มบริษัทเดียวกันที่คานเหล็กถล่มลงมาในการก่อสร้างที่ถนนพระราม2

    และยังมีคอนโดหรูอีกหลายแห่ง ที่ใช้บริการเหล็กปลอมจากจีน

    ปีที่แล้วก็เกิดคานเหล็กร่วงลงมาบ่อยมาก จากการก่อสร้างรถไฟภายใน กทม.เพราะเหล็กไม่ได้มาตรฐาน

    ผลจากการเกิดอาฟเตอร์ช็อคในเมียนมาร์ หลังเกิดแผ่นดินไหว ตึกอาคาร บ้านเรือน วัด แม้ไม่ได้สร้างให้สูง ก็พังถล่มลงมาจำนวนมาก

    ข่าวนี้ได้แพร่กระจายไปถึงประเทศจีน คนจีนหลายล้านคนต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า **นั่นมันต้องเกิดจากเหล็กปลอมที่ถูกส่งมาจากประเทศจีนแน่นอน**

    งานนี้บริษัทรับเหมาของบริษัทจีนกับอิตาเลียนไทย ไม่ได้ผุดได้เกิดอีกต่อไป เพราะเสียเครดิตไปหมดแล้ว

    ส่วนข้าราชการไทยกับนักการเมืองไทย ก็จะโบ้ยโทษกันไปมาเหมือนเคย และจะไม่มีใครมาสนใจเหล็กปลอมกว่า 60 ล้านตันของจีน ว่าแจกพรอตมันจะหล่นไปตรงใส่หัวของใคร

    ต่อด้วย เฟอร์นิเจอร์สวรรค์

    ตึก สนง.ของ สตช.ถล่ม แน่นอนว่าธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของไทย ก็จะตายตามไปด้วย.

    เปิดราคาคุรุภัณฑ์ อาคาร สตง
    เห็นแล้วจะเป็นลม
    ชมรม strong ต้านทุจริต

    เก้าอี้ตัวละ 97900 บาท
    https://www.facebook.com/share/1R4ShHo9WC/?mibextid=wwXIfr

    ผ้าพื้นละ 110,000 บาท

    https://www.facebook.com/share/15W1c8Xvki/?mibextid=wwXIfr

    พรมทอมือ nylon ผืนละ 165,000 บาท
    https://www.facebook.com/share/1AJhURAfQM/?mibextid=wwXIfr

    โต๊ะกลมทานอาหารตัวละ 90,000 บาท
    https://www.facebook.com/share/16LKvsMFhi/?mibextid=wwXIfr
    เหล็กจีนทำลายโลก ประเทศจีนจับได้เมือสายไปแล้ว เหล็กปลอมออกไปหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย ทำไมเกิดขึ้น? ใครเป็นคนรู้เห็นเป็นใจ? เดชา นฤนารท. 29/3/68 11.20 น. ประเด็นตึกถล่ม จากบริษัทจีนที่ร่วมมือกับบริษัทอิตาเลียนไทย ยังดูเล็กไป ถ้าคนไทยตื่นรู้ความจริงว่า รัฐบาลจีนได้เข้าทะลายโรงงานผลิตเหล็กปลอมจำนวนมากหลายแห่งในประเทศจีน ทำให้รัฐบาลจีนสูญเสียรายได้ไปมากถึงกว่า 2.4ล้านล้านเหรียญ เพราะอสังหาริมทรัพย์ที่สำคัญในการก่อสร้างของจีนเสียหายไปหลายแห่ง และทำให้จีนเสื่อมเสียความเชื่อมั่นไปทั่วโลก จากการส่งออกเหล็กปลอม ในปีที่แล้ว สีจิ้นผิง ใช้ไม้แข็ง สั่งเจ้าหน้าที่ทุกมลฑล เข้ากรวดล้างโรงงานผลิตเหล็กเถื่อนกว่า500แห่ง จนราบคาบ กลายเป็นโรงงานร้าง และดำเนินคดีเจ้าของโรงงานด้วยการสั่งประหาร และจำคุกตลอดชีวิต คาดกันว่ายังมีเหล็กปลอมจากจีนกว่า 60 ล้านตัน หลุดออกไปยังประเทศต่างๆในอาเซียน โดยเฉพาะในประเทศที่มีเจ้าหน้าที่รัฐ ไม่ได้ใส่ใจและมีการคอรัปชั่นสูง เช่น ไทย เมียนมาร์ สปป.ลาว ตึกถล่มในไทย เป็นผลงานการก่อสร้างจากกลุ่มบริษัทเดียวกันที่คานเหล็กถล่มลงมาในการก่อสร้างที่ถนนพระราม2 และยังมีคอนโดหรูอีกหลายแห่ง ที่ใช้บริการเหล็กปลอมจากจีน ปีที่แล้วก็เกิดคานเหล็กร่วงลงมาบ่อยมาก จากการก่อสร้างรถไฟภายใน กทม.เพราะเหล็กไม่ได้มาตรฐาน ผลจากการเกิดอาฟเตอร์ช็อคในเมียนมาร์ หลังเกิดแผ่นดินไหว ตึกอาคาร บ้านเรือน วัด แม้ไม่ได้สร้างให้สูง ก็พังถล่มลงมาจำนวนมาก ข่าวนี้ได้แพร่กระจายไปถึงประเทศจีน คนจีนหลายล้านคนต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า **นั่นมันต้องเกิดจากเหล็กปลอมที่ถูกส่งมาจากประเทศจีนแน่นอน** งานนี้บริษัทรับเหมาของบริษัทจีนกับอิตาเลียนไทย ไม่ได้ผุดได้เกิดอีกต่อไป เพราะเสียเครดิตไปหมดแล้ว ส่วนข้าราชการไทยกับนักการเมืองไทย ก็จะโบ้ยโทษกันไปมาเหมือนเคย และจะไม่มีใครมาสนใจเหล็กปลอมกว่า 60 ล้านตันของจีน ว่าแจกพรอตมันจะหล่นไปตรงใส่หัวของใคร ต่อด้วย เฟอร์นิเจอร์สวรรค์ ตึก สนง.ของ สตช.ถล่ม แน่นอนว่าธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของไทย ก็จะตายตามไปด้วย. เปิดราคาคุรุภัณฑ์ อาคาร สตง เห็นแล้วจะเป็นลม ชมรม strong ต้านทุจริต เก้าอี้ตัวละ 97900 บาท https://www.facebook.com/share/1R4ShHo9WC/?mibextid=wwXIfr ผ้าพื้นละ 110,000 บาท https://www.facebook.com/share/15W1c8Xvki/?mibextid=wwXIfr พรมทอมือ nylon ผืนละ 165,000 บาท https://www.facebook.com/share/1AJhURAfQM/?mibextid=wwXIfr โต๊ะกลมทานอาหารตัวละ 90,000 บาท https://www.facebook.com/share/16LKvsMFhi/?mibextid=wwXIfr
    0 Comments 0 Shares 708 Views 0 Reviews
  • สมาคมประกันวินาศภัยไทยเผย...
    หากตรวจสอบพบว่าโครงการใช้วัสดุไม่ได้มาตรฐาน หรือก่อสร้างไม่เป็นไปตามหลักวิศวกรรม อาจเข้าข่ายข้อยกเว้นความคุ้มครอง ต้องรอผลพิสูจน์จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมและสถาบันที่เกี่ยวข้อง
    สมาคมประกันวินาศภัยไทยเผย... หากตรวจสอบพบว่าโครงการใช้วัสดุไม่ได้มาตรฐาน หรือก่อสร้างไม่เป็นไปตามหลักวิศวกรรม อาจเข้าข่ายข้อยกเว้นความคุ้มครอง ต้องรอผลพิสูจน์จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมและสถาบันที่เกี่ยวข้อง
    0 Comments 0 Shares 221 Views 0 Reviews
More Results