🎖️ 124 ปี อุบลฯ ปราบกบฏผีบุญองค์มั่น ศรัทธา คือ อาวุธ! ผีบุญขุขันธ์ ใหญ่สุดในอีสาน ไม่มีให้จดจำ ไม่ทำให้ลืมเลือน
“ความศรัทธา” เปลี่ยนเป็น “การลุกฮือ” เมื่อประชาชนหมดหวังในรัฐ ย้อนรอยประวัติศาสตร์ “ศึกโนนโพธิ์” กับคำถามที่ไม่ควรหายไปจากแผ่นดิน
🕰️ เสียงปืนใหญ่ที่โลกไม่เคยได้ยิน ย้อนกลับไปในวันศุกร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2444 เสียงปืนใหญ่ดังกึกก้องจากป่าบ้านสะพือ จังหวัดอุบลราชธานี ปืนของทหารสยาม ไม่ได้ยิงใส่ข้าศึกจากภายนอก… แต่มุ่งตรงไปยังกลุ่มชาวบ้าน ผู้มีศรัทธาในชายผู้ถูกเรียกว่า “องค์มั่น” ผู้นำแห่งขบวนการ “ผู้มีบุญ”
การปะทะในวันนั้น จบลงด้วยศพกว่า 300 ราย แต่อุดมการณ์ ยังดังก้องข้ามศตวรรษ 🕊️
🤔 ผู้มีบุญคือใคร? ก่อนจะไปถึงการสู้รบ... ต้องย้อนกลับมาที่คำว่า “ผู้มีบุญ” หรือที่รัฐไทยเรียกแบบดูหมิ่นว่า “ผีบุญ” 👻
ผู้มีบุญ = คนที่ชาวบ้านเชื่อว่าเป็น “ผู้วิเศษ” หรือ “พระศรีอริยเมตไตรย” ผู้จะมากู้โลกในยุคที่รัฐล้มเหลว ผู้มีบุญจึงไม่ใช่กบฏธรรมดา แต่คือ "ผู้นำจิตวิญญาณ" ของชาวบ้านที่สิ้นหวังในอำนาจรัฐกลาง ที่ดูห่างไกล เย็นชา และกดขี่
🧾 จากกบฏถึงความหวัง บันทึก 260 ปี "กบฏผีบุญอีสาน" ภาคอีสานถูกจารึกว่า เป็นพื้นที่ที่มีกบฏผีบุญมากที่สุดในประเทศ
2242 กบฏบุญกว้าง
2334 กบฏเชียงแก้ว
2360 กบฏสาเกียดโง้ง
2442-44 กบฏสามโบก
2444-45 กบฏผีบุญอีสาน ครั้งองค์มั่น 🟠
2467 กบฏหนองหมากแก้ว
2479 กบฏหมอลำน้อยชาดา
2483 กบฏหมอลำโสภา พลตรี
2502 กบฏศิลา วงศ์สิน
🎯 ครั้งปี 2444-2445 นั้นถือเป็น การลุกฮือใหญ่ที่สุด มีผู้มีบุญมากถึง 60 คน ครอบคลุม 13 จังหวัด ในอีสาน
"ผีบุญองค์มั่น" โด่งดังสุดในภาคอีสาน นอกจากองค์มั่นแล้ว ยังมีผู้นำรองๆ อีก 5 คน เป็นแกนนำ คือ องค์เขียว องค์ลิ้นก่าน องค์พระบาท องค์พระเมตไตร และองค์เหลือง ฝ่ายกบฏได้ปลุกระดมราษฎรทั้ง 2 ฝั่งโขง ในฝั่งขวา คือฝั่งอีสาน ได้กำลังจากอำเภอโขงเจียม อำเภอตระการพืชผล ในที่สุด ในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 กลุ่มผีบุญเข้ายึดเมืองเขมราฐ จับเจ้าเมืองไว้เป็นตัวประกัน และเป็นเครื่องมือแห่แหนให้คนเข้าเป็นพวก แต่ฆ่าท้าวกุลบุตร ท้าวโพธิสาร กรมการเมืองที่ไม่ยอมเข้ากับฝ่ายกบฏ
รวมถึงได้เผาเมืองเขมราฐ ปล่อยนักโทษจากคุก แล้วเคลื่อนกำลังมุ่งตรงมายังเมืองอุบลราชธานี มาตั้งทัพระดมพลอีกครั้งที่บ้านสะพือใหญ่ อำเภอตระการพืชผล มีคนมาเข้ากับองค์มั่น 2,500 คน แต่อาวุธไม่ทันสมัย มีปืนคาบศิลา ปืนแก๊ป มีดพร้า ฝ่ายกบฏได้สะสมเสบียงอาหารด้วย ฝ่ายกบฏได้ฆ่านายอำเภอพนานิคม ซึ่งไม่ยอมเข้ากับฝ่ายกบฏด้วย
แต่... "ผีบุญขุขันธ์" ใหญ่สุดในภาคอีสาน กบฏกลุ่มบุญจันเมืองขุขันธ์ กลุ่มนี้เป็นกบฏผู้มีบุญอีสานที่ใหญ่ที่สุด มีสมาชิกที่มาเข้าร่วมถึง 6,000 คน หัวหน้ากบฏชื่อบุญจัน เป็นบุตรเจ้าเมืองขุขันธ์คนก่อน และเป็นน้องชายของผู้ว่าราชการเมืองขุขันธ์ในขณะนั้น ไม่ถูกกับพี่ชาย ในเรื่องตำแหน่งเจ้าเมืองมากกว่าสาเหตุอื่น ได้ตั้งตัวเป็นผู้มีบุญซ่องสุมกำลังอยู่ที่ภูฝ้าย ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน
การเคลื่อนไหวของผีบุญ ขยายวงกว้าง รวดเร็ว เพราะมีการเชื่อมโยงระหว่างหมู่บ้าน และอาศัยระบบวัฒนธรรม แบบปากต่อปาก 🗣️
จุดแข็งของเครือข่ายนี้อยู่ที่ “ความศรัทธา” ไม่ใช่กำลังพล หรืออาวุธ
🔥 จุดระเบิด เมื่อภาษี 4 บาท กลายเป็นฟางเส้นสุดท้าย 💸 ภาษีส่วยที่ชาวอีสานรับไม่ไหว รัฐสยามในยุครัชกาลที่ 5 มีนโยบายปฏิรูปการปกครองแบบรวมศูนย์ ส่งคนมาเก็บภาษีตรงจากประชาชน โดยเฉพาะภาษี ชายฉกรรจ์ 4 บาท ต่อคน ต่อปี เทียบค่าเงินปัจจุบันราว 3,500-4,000 บาท
แต่ในยุคนั้น คนอีสานส่วนใหญ่ไม่ใช้เงิน และใช้ชีวิตพอเพียง เลี้ยงไก่ ปลูกข้าว ใช้ระบบแลกเปลี่ยน เงิน 4 บาท จึงเท่ากับความเดือดร้อนทั้งบ้าน 💔
☠️ “ฝูงไทยใจฮ้าย ตายสิ้นบ่หลอ” เสียงหมอลำตอกย้ำความเจ็บปวด ชี้ให้เห็นความไม่ยุติธรรม และปลุกใจชาวบ้าน
บางพื้นที่ ถึงกับมีคำปลุกระดมชัดเจน เช่น
“ไล่ไทยเอาดินคืนมา… ฆ่าไทยเสียให้หมด!”
👑 จากชายธรรมดาสู่ผู้นำกองทัพศรัทธา "องค์มั่น" หรืออ้ายมาน เป็นผู้นำผู้มีบุญที่โดดเด่นที่สุด ตั้งตนเป็น "พระยาธรรมิกราช" หรือ "องค์ปราสาททอง" ✨
👥 กลุ่มผู้ติดตามที่แข็งแกร่ง มีคนเข้าร่วมกว่า 2,500 คน ครอบคลุมพื้นที่ อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ, ลาวใต้ มีแกนนำร่วม เช่น องค์เขียว, องค์พระบาท, องค์เมตไตรย ฯลฯ
⚔️ ศึกโนนโพธิ์ ปืนใหญ่ที่ดับความหวัง วันศุกร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2444 ตรงกับวันนี้ครบ 124 ปี พอดี และเป็นวันศุกร์เหมือนกัน กองทัพจากเมืองอุบลฯ ภายใต้การนำของ "พันตรีหลวงสุรกิจพิศาล" ใช้ ปืนใหญ่ 2 กระบอก ซุ่มโจมตีที่ “บ้านสะพือใหญ่” หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “โนนโพธิ์”
🔥 ปืนใหญ่ยิงถล่มตรงกลางกลุ่มกบฏ
💀 เสียชีวิตทันที 200-300 คน
😭 บาดเจ็บกว่า 500 คน
องค์มั่นหนีไปได้ แต่ลูกน้อง 400 คนถูกจับ ศาลตัดสินประหาร “องค์” ทุกคน ✝️
🧵 จดหมายลูกโซ่ หมอลำ และพลัง Soft Power แห่งยุค การปลุกระดมของผู้มีบุญ ไม่ได้เกิดจากอาวุธ แต่เกิดจาก...
📜 จดหมายลูกโซ่ ที่คัดลอกคำพยากรณ์ต่อๆ กัน
🎤 หมอลำ ที่ลำเกี่ยวกับความทุกข์ โจมตีรัฐ และปลุกใจ
👄 การเล่าปากต่อปาก ที่ขยายความศรัทธาไปทั่วแผ่นดิน
ในยุคที่คนอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ "เสียง" คือพลังที่สุด!
🛕 การต่อสู้ของคนที่ “ไม่มีเจ้า” หนึ่งในข้อมูลจากเอกสารสอบสวนผู้มีบุญ ระบุว่า “ถ้ายึดเมืองต่างๆ ได้ จะไม่มีเจ้าไม่มีนาย ทุกคนจะเท่ากัน” นี่คือความฝัน ที่ชาวบ้านไม่เคยได้จากรัฐ ยุคพระศรีอาริย์ ที่ไม่มีการกดขี่ มีแต่ความอุดมสมบูรณ์
🏞️ พื้นที่ความทรงจำ ในวันนี้ โนนโพธิ์ไม่ได้เป็นสนามรบแล้ว แต่กลายเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบ้านเดินทางมาทำบุญ
มีการวางแผนสร้าง อนุสรณ์สถานศึกโนนโพธิ์ ให้ลูกหลานได้เรียนรู้
🎨 ภายในวัดมีภาพฝาผนังวาดเหตุการณ์
🪔 ชาวบ้านมาร่วมงานบุญ แจกข้าวให้ผู้ล่วงลับ
📖 เด็กนักเรียนเคยเก็บข้อมูล สัมภาษณ์คนเฒ่าคนแก่
🪦 มีหลุมศพกลางทุ่ง ที่ไถนาก็ยังเจอกระโหลก
🧑🏫 เมื่อรัฐหายไป ประวัติศาสตร์จึงถูกเล่าด้วยเสียงของชาวบ้าน “กบฏผีบุญ” คือคำที่รัฐใช้เรียก แต่ “ผู้มีบุญ” คือคำที่ชาวบ้านจดจำ และตอนนี้… คนรุ่นใหม่กำลังฟื้นเสียงนั้นกลับคืนมา
📌 “การทำอนุสรณ์สถานไม่ใช่การปลุกระดม แต่คือการคืนความทรงจำให้กับแผ่นดิน”
📌 จากเสียงหมอลำ สู่เสียงประวัติศาสตร์ที่ควรถูกฟัง “ผู้มีบุญ” = ผู้นำทางจิตวิญญาณของประชาชนที่สิ้นหวัง "องค์มั่น" เป็นผู้นำที่ชัดเจนที่สุด มีอิทธิพลมากที่สุด “ศึกโนนโพธิ์” คือตัวแทนของการปะทะระหว่าง รัฐรวมศูนย์ และ ชาวบ้านชายขอบ
ปัจจุบันโนนโพธิ์ เริ่มกลายเป็นพื้นที่เรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ ความหวังคือ... การพูดถึงอย่างเปิดเผย จะทำให้ประวัติศาสตร์ไม่เงียบอีกต่อไป
ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 041010 เม.ย. 2568
📌 #กบฏผีบุญ #124ปีศึกโนนโพธิ์ #องค์มั่น #ผู้มีบุญ #บ้านสะพือ #ประวัติศาสตร์อีสาน #ศรัทธาคืออาวุธ #อนุสรณ์สถานผีบุญ #เสียงจากชายขอบ #หมอลำคือพลัง
“ความศรัทธา” เปลี่ยนเป็น “การลุกฮือ” เมื่อประชาชนหมดหวังในรัฐ ย้อนรอยประวัติศาสตร์ “ศึกโนนโพธิ์” กับคำถามที่ไม่ควรหายไปจากแผ่นดิน
🕰️ เสียงปืนใหญ่ที่โลกไม่เคยได้ยิน ย้อนกลับไปในวันศุกร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2444 เสียงปืนใหญ่ดังกึกก้องจากป่าบ้านสะพือ จังหวัดอุบลราชธานี ปืนของทหารสยาม ไม่ได้ยิงใส่ข้าศึกจากภายนอก… แต่มุ่งตรงไปยังกลุ่มชาวบ้าน ผู้มีศรัทธาในชายผู้ถูกเรียกว่า “องค์มั่น” ผู้นำแห่งขบวนการ “ผู้มีบุญ”
การปะทะในวันนั้น จบลงด้วยศพกว่า 300 ราย แต่อุดมการณ์ ยังดังก้องข้ามศตวรรษ 🕊️
🤔 ผู้มีบุญคือใคร? ก่อนจะไปถึงการสู้รบ... ต้องย้อนกลับมาที่คำว่า “ผู้มีบุญ” หรือที่รัฐไทยเรียกแบบดูหมิ่นว่า “ผีบุญ” 👻
ผู้มีบุญ = คนที่ชาวบ้านเชื่อว่าเป็น “ผู้วิเศษ” หรือ “พระศรีอริยเมตไตรย” ผู้จะมากู้โลกในยุคที่รัฐล้มเหลว ผู้มีบุญจึงไม่ใช่กบฏธรรมดา แต่คือ "ผู้นำจิตวิญญาณ" ของชาวบ้านที่สิ้นหวังในอำนาจรัฐกลาง ที่ดูห่างไกล เย็นชา และกดขี่
🧾 จากกบฏถึงความหวัง บันทึก 260 ปี "กบฏผีบุญอีสาน" ภาคอีสานถูกจารึกว่า เป็นพื้นที่ที่มีกบฏผีบุญมากที่สุดในประเทศ
2242 กบฏบุญกว้าง
2334 กบฏเชียงแก้ว
2360 กบฏสาเกียดโง้ง
2442-44 กบฏสามโบก
2444-45 กบฏผีบุญอีสาน ครั้งองค์มั่น 🟠
2467 กบฏหนองหมากแก้ว
2479 กบฏหมอลำน้อยชาดา
2483 กบฏหมอลำโสภา พลตรี
2502 กบฏศิลา วงศ์สิน
🎯 ครั้งปี 2444-2445 นั้นถือเป็น การลุกฮือใหญ่ที่สุด มีผู้มีบุญมากถึง 60 คน ครอบคลุม 13 จังหวัด ในอีสาน
"ผีบุญองค์มั่น" โด่งดังสุดในภาคอีสาน นอกจากองค์มั่นแล้ว ยังมีผู้นำรองๆ อีก 5 คน เป็นแกนนำ คือ องค์เขียว องค์ลิ้นก่าน องค์พระบาท องค์พระเมตไตร และองค์เหลือง ฝ่ายกบฏได้ปลุกระดมราษฎรทั้ง 2 ฝั่งโขง ในฝั่งขวา คือฝั่งอีสาน ได้กำลังจากอำเภอโขงเจียม อำเภอตระการพืชผล ในที่สุด ในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 กลุ่มผีบุญเข้ายึดเมืองเขมราฐ จับเจ้าเมืองไว้เป็นตัวประกัน และเป็นเครื่องมือแห่แหนให้คนเข้าเป็นพวก แต่ฆ่าท้าวกุลบุตร ท้าวโพธิสาร กรมการเมืองที่ไม่ยอมเข้ากับฝ่ายกบฏ
รวมถึงได้เผาเมืองเขมราฐ ปล่อยนักโทษจากคุก แล้วเคลื่อนกำลังมุ่งตรงมายังเมืองอุบลราชธานี มาตั้งทัพระดมพลอีกครั้งที่บ้านสะพือใหญ่ อำเภอตระการพืชผล มีคนมาเข้ากับองค์มั่น 2,500 คน แต่อาวุธไม่ทันสมัย มีปืนคาบศิลา ปืนแก๊ป มีดพร้า ฝ่ายกบฏได้สะสมเสบียงอาหารด้วย ฝ่ายกบฏได้ฆ่านายอำเภอพนานิคม ซึ่งไม่ยอมเข้ากับฝ่ายกบฏด้วย
แต่... "ผีบุญขุขันธ์" ใหญ่สุดในภาคอีสาน กบฏกลุ่มบุญจันเมืองขุขันธ์ กลุ่มนี้เป็นกบฏผู้มีบุญอีสานที่ใหญ่ที่สุด มีสมาชิกที่มาเข้าร่วมถึง 6,000 คน หัวหน้ากบฏชื่อบุญจัน เป็นบุตรเจ้าเมืองขุขันธ์คนก่อน และเป็นน้องชายของผู้ว่าราชการเมืองขุขันธ์ในขณะนั้น ไม่ถูกกับพี่ชาย ในเรื่องตำแหน่งเจ้าเมืองมากกว่าสาเหตุอื่น ได้ตั้งตัวเป็นผู้มีบุญซ่องสุมกำลังอยู่ที่ภูฝ้าย ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน
การเคลื่อนไหวของผีบุญ ขยายวงกว้าง รวดเร็ว เพราะมีการเชื่อมโยงระหว่างหมู่บ้าน และอาศัยระบบวัฒนธรรม แบบปากต่อปาก 🗣️
จุดแข็งของเครือข่ายนี้อยู่ที่ “ความศรัทธา” ไม่ใช่กำลังพล หรืออาวุธ
🔥 จุดระเบิด เมื่อภาษี 4 บาท กลายเป็นฟางเส้นสุดท้าย 💸 ภาษีส่วยที่ชาวอีสานรับไม่ไหว รัฐสยามในยุครัชกาลที่ 5 มีนโยบายปฏิรูปการปกครองแบบรวมศูนย์ ส่งคนมาเก็บภาษีตรงจากประชาชน โดยเฉพาะภาษี ชายฉกรรจ์ 4 บาท ต่อคน ต่อปี เทียบค่าเงินปัจจุบันราว 3,500-4,000 บาท
แต่ในยุคนั้น คนอีสานส่วนใหญ่ไม่ใช้เงิน และใช้ชีวิตพอเพียง เลี้ยงไก่ ปลูกข้าว ใช้ระบบแลกเปลี่ยน เงิน 4 บาท จึงเท่ากับความเดือดร้อนทั้งบ้าน 💔
☠️ “ฝูงไทยใจฮ้าย ตายสิ้นบ่หลอ” เสียงหมอลำตอกย้ำความเจ็บปวด ชี้ให้เห็นความไม่ยุติธรรม และปลุกใจชาวบ้าน
บางพื้นที่ ถึงกับมีคำปลุกระดมชัดเจน เช่น
“ไล่ไทยเอาดินคืนมา… ฆ่าไทยเสียให้หมด!”
👑 จากชายธรรมดาสู่ผู้นำกองทัพศรัทธา "องค์มั่น" หรืออ้ายมาน เป็นผู้นำผู้มีบุญที่โดดเด่นที่สุด ตั้งตนเป็น "พระยาธรรมิกราช" หรือ "องค์ปราสาททอง" ✨
👥 กลุ่มผู้ติดตามที่แข็งแกร่ง มีคนเข้าร่วมกว่า 2,500 คน ครอบคลุมพื้นที่ อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ, ลาวใต้ มีแกนนำร่วม เช่น องค์เขียว, องค์พระบาท, องค์เมตไตรย ฯลฯ
⚔️ ศึกโนนโพธิ์ ปืนใหญ่ที่ดับความหวัง วันศุกร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2444 ตรงกับวันนี้ครบ 124 ปี พอดี และเป็นวันศุกร์เหมือนกัน กองทัพจากเมืองอุบลฯ ภายใต้การนำของ "พันตรีหลวงสุรกิจพิศาล" ใช้ ปืนใหญ่ 2 กระบอก ซุ่มโจมตีที่ “บ้านสะพือใหญ่” หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “โนนโพธิ์”
🔥 ปืนใหญ่ยิงถล่มตรงกลางกลุ่มกบฏ
💀 เสียชีวิตทันที 200-300 คน
😭 บาดเจ็บกว่า 500 คน
องค์มั่นหนีไปได้ แต่ลูกน้อง 400 คนถูกจับ ศาลตัดสินประหาร “องค์” ทุกคน ✝️
🧵 จดหมายลูกโซ่ หมอลำ และพลัง Soft Power แห่งยุค การปลุกระดมของผู้มีบุญ ไม่ได้เกิดจากอาวุธ แต่เกิดจาก...
📜 จดหมายลูกโซ่ ที่คัดลอกคำพยากรณ์ต่อๆ กัน
🎤 หมอลำ ที่ลำเกี่ยวกับความทุกข์ โจมตีรัฐ และปลุกใจ
👄 การเล่าปากต่อปาก ที่ขยายความศรัทธาไปทั่วแผ่นดิน
ในยุคที่คนอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ "เสียง" คือพลังที่สุด!
🛕 การต่อสู้ของคนที่ “ไม่มีเจ้า” หนึ่งในข้อมูลจากเอกสารสอบสวนผู้มีบุญ ระบุว่า “ถ้ายึดเมืองต่างๆ ได้ จะไม่มีเจ้าไม่มีนาย ทุกคนจะเท่ากัน” นี่คือความฝัน ที่ชาวบ้านไม่เคยได้จากรัฐ ยุคพระศรีอาริย์ ที่ไม่มีการกดขี่ มีแต่ความอุดมสมบูรณ์
🏞️ พื้นที่ความทรงจำ ในวันนี้ โนนโพธิ์ไม่ได้เป็นสนามรบแล้ว แต่กลายเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบ้านเดินทางมาทำบุญ
มีการวางแผนสร้าง อนุสรณ์สถานศึกโนนโพธิ์ ให้ลูกหลานได้เรียนรู้
🎨 ภายในวัดมีภาพฝาผนังวาดเหตุการณ์
🪔 ชาวบ้านมาร่วมงานบุญ แจกข้าวให้ผู้ล่วงลับ
📖 เด็กนักเรียนเคยเก็บข้อมูล สัมภาษณ์คนเฒ่าคนแก่
🪦 มีหลุมศพกลางทุ่ง ที่ไถนาก็ยังเจอกระโหลก
🧑🏫 เมื่อรัฐหายไป ประวัติศาสตร์จึงถูกเล่าด้วยเสียงของชาวบ้าน “กบฏผีบุญ” คือคำที่รัฐใช้เรียก แต่ “ผู้มีบุญ” คือคำที่ชาวบ้านจดจำ และตอนนี้… คนรุ่นใหม่กำลังฟื้นเสียงนั้นกลับคืนมา
📌 “การทำอนุสรณ์สถานไม่ใช่การปลุกระดม แต่คือการคืนความทรงจำให้กับแผ่นดิน”
📌 จากเสียงหมอลำ สู่เสียงประวัติศาสตร์ที่ควรถูกฟัง “ผู้มีบุญ” = ผู้นำทางจิตวิญญาณของประชาชนที่สิ้นหวัง "องค์มั่น" เป็นผู้นำที่ชัดเจนที่สุด มีอิทธิพลมากที่สุด “ศึกโนนโพธิ์” คือตัวแทนของการปะทะระหว่าง รัฐรวมศูนย์ และ ชาวบ้านชายขอบ
ปัจจุบันโนนโพธิ์ เริ่มกลายเป็นพื้นที่เรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ ความหวังคือ... การพูดถึงอย่างเปิดเผย จะทำให้ประวัติศาสตร์ไม่เงียบอีกต่อไป
ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 041010 เม.ย. 2568
📌 #กบฏผีบุญ #124ปีศึกโนนโพธิ์ #องค์มั่น #ผู้มีบุญ #บ้านสะพือ #ประวัติศาสตร์อีสาน #ศรัทธาคืออาวุธ #อนุสรณ์สถานผีบุญ #เสียงจากชายขอบ #หมอลำคือพลัง
🎖️ 124 ปี อุบลฯ ปราบกบฏผีบุญองค์มั่น ศรัทธา คือ อาวุธ! ผีบุญขุขันธ์ ใหญ่สุดในอีสาน ไม่มีให้จดจำ ไม่ทำให้ลืมเลือน
“ความศรัทธา” เปลี่ยนเป็น “การลุกฮือ” เมื่อประชาชนหมดหวังในรัฐ ย้อนรอยประวัติศาสตร์ “ศึกโนนโพธิ์” กับคำถามที่ไม่ควรหายไปจากแผ่นดิน
🕰️ เสียงปืนใหญ่ที่โลกไม่เคยได้ยิน ย้อนกลับไปในวันศุกร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2444 เสียงปืนใหญ่ดังกึกก้องจากป่าบ้านสะพือ จังหวัดอุบลราชธานี ปืนของทหารสยาม ไม่ได้ยิงใส่ข้าศึกจากภายนอก… แต่มุ่งตรงไปยังกลุ่มชาวบ้าน ผู้มีศรัทธาในชายผู้ถูกเรียกว่า “องค์มั่น” ผู้นำแห่งขบวนการ “ผู้มีบุญ”
การปะทะในวันนั้น จบลงด้วยศพกว่า 300 ราย แต่อุดมการณ์ ยังดังก้องข้ามศตวรรษ 🕊️
🤔 ผู้มีบุญคือใคร? ก่อนจะไปถึงการสู้รบ... ต้องย้อนกลับมาที่คำว่า “ผู้มีบุญ” หรือที่รัฐไทยเรียกแบบดูหมิ่นว่า “ผีบุญ” 👻
ผู้มีบุญ = คนที่ชาวบ้านเชื่อว่าเป็น “ผู้วิเศษ” หรือ “พระศรีอริยเมตไตรย” ผู้จะมากู้โลกในยุคที่รัฐล้มเหลว ผู้มีบุญจึงไม่ใช่กบฏธรรมดา แต่คือ "ผู้นำจิตวิญญาณ" ของชาวบ้านที่สิ้นหวังในอำนาจรัฐกลาง ที่ดูห่างไกล เย็นชา และกดขี่
🧾 จากกบฏถึงความหวัง บันทึก 260 ปี "กบฏผีบุญอีสาน" ภาคอีสานถูกจารึกว่า เป็นพื้นที่ที่มีกบฏผีบุญมากที่สุดในประเทศ
2242 กบฏบุญกว้าง
2334 กบฏเชียงแก้ว
2360 กบฏสาเกียดโง้ง
2442-44 กบฏสามโบก
2444-45 กบฏผีบุญอีสาน ครั้งองค์มั่น 🟠
2467 กบฏหนองหมากแก้ว
2479 กบฏหมอลำน้อยชาดา
2483 กบฏหมอลำโสภา พลตรี
2502 กบฏศิลา วงศ์สิน
🎯 ครั้งปี 2444-2445 นั้นถือเป็น การลุกฮือใหญ่ที่สุด มีผู้มีบุญมากถึง 60 คน ครอบคลุม 13 จังหวัด ในอีสาน
"ผีบุญองค์มั่น" โด่งดังสุดในภาคอีสาน นอกจากองค์มั่นแล้ว ยังมีผู้นำรองๆ อีก 5 คน เป็นแกนนำ คือ องค์เขียว องค์ลิ้นก่าน องค์พระบาท องค์พระเมตไตร และองค์เหลือง ฝ่ายกบฏได้ปลุกระดมราษฎรทั้ง 2 ฝั่งโขง ในฝั่งขวา คือฝั่งอีสาน ได้กำลังจากอำเภอโขงเจียม อำเภอตระการพืชผล ในที่สุด ในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 กลุ่มผีบุญเข้ายึดเมืองเขมราฐ จับเจ้าเมืองไว้เป็นตัวประกัน และเป็นเครื่องมือแห่แหนให้คนเข้าเป็นพวก แต่ฆ่าท้าวกุลบุตร ท้าวโพธิสาร กรมการเมืองที่ไม่ยอมเข้ากับฝ่ายกบฏ
รวมถึงได้เผาเมืองเขมราฐ ปล่อยนักโทษจากคุก แล้วเคลื่อนกำลังมุ่งตรงมายังเมืองอุบลราชธานี มาตั้งทัพระดมพลอีกครั้งที่บ้านสะพือใหญ่ อำเภอตระการพืชผล มีคนมาเข้ากับองค์มั่น 2,500 คน แต่อาวุธไม่ทันสมัย มีปืนคาบศิลา ปืนแก๊ป มีดพร้า ฝ่ายกบฏได้สะสมเสบียงอาหารด้วย ฝ่ายกบฏได้ฆ่านายอำเภอพนานิคม ซึ่งไม่ยอมเข้ากับฝ่ายกบฏด้วย
แต่... "ผีบุญขุขันธ์" ใหญ่สุดในภาคอีสาน กบฏกลุ่มบุญจันเมืองขุขันธ์ กลุ่มนี้เป็นกบฏผู้มีบุญอีสานที่ใหญ่ที่สุด มีสมาชิกที่มาเข้าร่วมถึง 6,000 คน หัวหน้ากบฏชื่อบุญจัน เป็นบุตรเจ้าเมืองขุขันธ์คนก่อน และเป็นน้องชายของผู้ว่าราชการเมืองขุขันธ์ในขณะนั้น ไม่ถูกกับพี่ชาย ในเรื่องตำแหน่งเจ้าเมืองมากกว่าสาเหตุอื่น ได้ตั้งตัวเป็นผู้มีบุญซ่องสุมกำลังอยู่ที่ภูฝ้าย ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษในปัจจุบัน
การเคลื่อนไหวของผีบุญ ขยายวงกว้าง รวดเร็ว เพราะมีการเชื่อมโยงระหว่างหมู่บ้าน และอาศัยระบบวัฒนธรรม แบบปากต่อปาก 🗣️
จุดแข็งของเครือข่ายนี้อยู่ที่ “ความศรัทธา” ไม่ใช่กำลังพล หรืออาวุธ
🔥 จุดระเบิด เมื่อภาษี 4 บาท กลายเป็นฟางเส้นสุดท้าย 💸 ภาษีส่วยที่ชาวอีสานรับไม่ไหว รัฐสยามในยุครัชกาลที่ 5 มีนโยบายปฏิรูปการปกครองแบบรวมศูนย์ ส่งคนมาเก็บภาษีตรงจากประชาชน โดยเฉพาะภาษี ชายฉกรรจ์ 4 บาท ต่อคน ต่อปี เทียบค่าเงินปัจจุบันราว 3,500-4,000 บาท
แต่ในยุคนั้น คนอีสานส่วนใหญ่ไม่ใช้เงิน และใช้ชีวิตพอเพียง เลี้ยงไก่ ปลูกข้าว ใช้ระบบแลกเปลี่ยน เงิน 4 บาท จึงเท่ากับความเดือดร้อนทั้งบ้าน 💔
☠️ “ฝูงไทยใจฮ้าย ตายสิ้นบ่หลอ” เสียงหมอลำตอกย้ำความเจ็บปวด ชี้ให้เห็นความไม่ยุติธรรม และปลุกใจชาวบ้าน
บางพื้นที่ ถึงกับมีคำปลุกระดมชัดเจน เช่น
“ไล่ไทยเอาดินคืนมา… ฆ่าไทยเสียให้หมด!”
👑 จากชายธรรมดาสู่ผู้นำกองทัพศรัทธา "องค์มั่น" หรืออ้ายมาน เป็นผู้นำผู้มีบุญที่โดดเด่นที่สุด ตั้งตนเป็น "พระยาธรรมิกราช" หรือ "องค์ปราสาททอง" ✨
👥 กลุ่มผู้ติดตามที่แข็งแกร่ง มีคนเข้าร่วมกว่า 2,500 คน ครอบคลุมพื้นที่ อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ, ลาวใต้ มีแกนนำร่วม เช่น องค์เขียว, องค์พระบาท, องค์เมตไตรย ฯลฯ
⚔️ ศึกโนนโพธิ์ ปืนใหญ่ที่ดับความหวัง วันศุกร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2444 ตรงกับวันนี้ครบ 124 ปี พอดี และเป็นวันศุกร์เหมือนกัน กองทัพจากเมืองอุบลฯ ภายใต้การนำของ "พันตรีหลวงสุรกิจพิศาล" ใช้ ปืนใหญ่ 2 กระบอก ซุ่มโจมตีที่ “บ้านสะพือใหญ่” หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “โนนโพธิ์”
🔥 ปืนใหญ่ยิงถล่มตรงกลางกลุ่มกบฏ
💀 เสียชีวิตทันที 200-300 คน
😭 บาดเจ็บกว่า 500 คน
องค์มั่นหนีไปได้ แต่ลูกน้อง 400 คนถูกจับ ศาลตัดสินประหาร “องค์” ทุกคน ✝️
🧵 จดหมายลูกโซ่ หมอลำ และพลัง Soft Power แห่งยุค การปลุกระดมของผู้มีบุญ ไม่ได้เกิดจากอาวุธ แต่เกิดจาก...
📜 จดหมายลูกโซ่ ที่คัดลอกคำพยากรณ์ต่อๆ กัน
🎤 หมอลำ ที่ลำเกี่ยวกับความทุกข์ โจมตีรัฐ และปลุกใจ
👄 การเล่าปากต่อปาก ที่ขยายความศรัทธาไปทั่วแผ่นดิน
ในยุคที่คนอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ "เสียง" คือพลังที่สุด!
🛕 การต่อสู้ของคนที่ “ไม่มีเจ้า” หนึ่งในข้อมูลจากเอกสารสอบสวนผู้มีบุญ ระบุว่า “ถ้ายึดเมืองต่างๆ ได้ จะไม่มีเจ้าไม่มีนาย ทุกคนจะเท่ากัน” นี่คือความฝัน ที่ชาวบ้านไม่เคยได้จากรัฐ ยุคพระศรีอาริย์ ที่ไม่มีการกดขี่ มีแต่ความอุดมสมบูรณ์
🏞️ พื้นที่ความทรงจำ ในวันนี้ โนนโพธิ์ไม่ได้เป็นสนามรบแล้ว แต่กลายเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบ้านเดินทางมาทำบุญ
มีการวางแผนสร้าง อนุสรณ์สถานศึกโนนโพธิ์ ให้ลูกหลานได้เรียนรู้
🎨 ภายในวัดมีภาพฝาผนังวาดเหตุการณ์
🪔 ชาวบ้านมาร่วมงานบุญ แจกข้าวให้ผู้ล่วงลับ
📖 เด็กนักเรียนเคยเก็บข้อมูล สัมภาษณ์คนเฒ่าคนแก่
🪦 มีหลุมศพกลางทุ่ง ที่ไถนาก็ยังเจอกระโหลก
🧑🏫 เมื่อรัฐหายไป ประวัติศาสตร์จึงถูกเล่าด้วยเสียงของชาวบ้าน “กบฏผีบุญ” คือคำที่รัฐใช้เรียก แต่ “ผู้มีบุญ” คือคำที่ชาวบ้านจดจำ และตอนนี้… คนรุ่นใหม่กำลังฟื้นเสียงนั้นกลับคืนมา
📌 “การทำอนุสรณ์สถานไม่ใช่การปลุกระดม แต่คือการคืนความทรงจำให้กับแผ่นดิน”
📌 จากเสียงหมอลำ สู่เสียงประวัติศาสตร์ที่ควรถูกฟัง “ผู้มีบุญ” = ผู้นำทางจิตวิญญาณของประชาชนที่สิ้นหวัง "องค์มั่น" เป็นผู้นำที่ชัดเจนที่สุด มีอิทธิพลมากที่สุด “ศึกโนนโพธิ์” คือตัวแทนของการปะทะระหว่าง รัฐรวมศูนย์ และ ชาวบ้านชายขอบ
ปัจจุบันโนนโพธิ์ เริ่มกลายเป็นพื้นที่เรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ ความหวังคือ... การพูดถึงอย่างเปิดเผย จะทำให้ประวัติศาสตร์ไม่เงียบอีกต่อไป
ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 041010 เม.ย. 2568
📌 #กบฏผีบุญ #124ปีศึกโนนโพธิ์ #องค์มั่น #ผู้มีบุญ #บ้านสะพือ #ประวัติศาสตร์อีสาน #ศรัทธาคืออาวุธ #อนุสรณ์สถานผีบุญ #เสียงจากชายขอบ #หมอลำคือพลัง
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
66 มุมมอง
0 รีวิว