• วันพระบิดาแห่งฝนหลวง
    วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ของทุกปี
    🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏
    ******************************
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๙ พระบรมราชจักรีวงศ์
    กรุงรัตนโกสินทร์ ราชอาณาจักรไทย
    วันพระบิดาแห่งฝนหลวง วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ของทุกปี 🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏 ****************************** พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๙ พระบรมราชจักรีวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ ราชอาณาจักรไทย
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 77 มุมมอง 0 รีวิว
  • "มีเรื่องหนึ่งที่สะดุดใจผม .... นานแล้ว ที่อยุธยา วันนั้นมีพวกวุฒิสมาชิกอเมริกันไปหลายคน พวกวุฒิสมาชิกอเมริกันก็ถามพระเจ้าอยู่หัวว่า เห็นจีนเป็นยังไง สำคัญแค่ไหน ผมก็ถือว่าเป็นคำถามที่ตรงไปตรงมา แต่คำตอบของท่านนั้นถึงแม้ดูจะเหมือนไม่ตรง แต่มีน้ำหนักที่สุด
    "ท่านรับสั่งขึ้นมาว่า

    " วันนี้สิรินธร ลูกข้าพเจ้า ไปเยือนประเทศจีนเป็นครั้งที่ 7 (ในเวลานั้น) .... "
    - ม.ร.ว.เกษมสโมสร เกษมศรี 
    เอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง (พ.ศ.2518-2522) เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศจีน หลังสถาปนาความสัมพันธ์การทูตในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช.

    #พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช#สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา#ไทยจีน
    "มีเรื่องหนึ่งที่สะดุดใจผม .... นานแล้ว ที่อยุธยา วันนั้นมีพวกวุฒิสมาชิกอเมริกันไปหลายคน พวกวุฒิสมาชิกอเมริกันก็ถามพระเจ้าอยู่หัวว่า เห็นจีนเป็นยังไง สำคัญแค่ไหน ผมก็ถือว่าเป็นคำถามที่ตรงไปตรงมา แต่คำตอบของท่านนั้นถึงแม้ดูจะเหมือนไม่ตรง แต่มีน้ำหนักที่สุด "ท่านรับสั่งขึ้นมาว่า " วันนี้สิรินธร ลูกข้าพเจ้า ไปเยือนประเทศจีนเป็นครั้งที่ 7 (ในเวลานั้น) .... " - ม.ร.ว.เกษมสโมสร เกษมศรี  เอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง (พ.ศ.2518-2522) เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศจีน หลังสถาปนาความสัมพันธ์การทูตในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช. #พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช​ #สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา​ #ไทยจีน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 66 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระนาม​ "ภูมิพลอดุลเดช" ในรัชกาลที่9​ ได้รับพระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ขณะที่พระนาม​ "สิริกิติ์" ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ​นั้น สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่7​ พระราชทาน แสดงถึงพระชะตาทั้ง4พระองค์ที่ผูกพันกันมาแต่ไหน
    #พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว#สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี#พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช#สม้ด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
    พระนาม​ "ภูมิพลอดุลเดช" ในรัชกาลที่9​ ได้รับพระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะที่พระนาม​ "สิริกิติ์" ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ​นั้น สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่7​ พระราชทาน แสดงถึงพระชะตาทั้ง4พระองค์ที่ผูกพันกันมาแต่ไหน #พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว​ #สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี​ #พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช​ #สม้ด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 132 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1]


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 547 มุมมอง 91 0 รีวิว
  • ดอลลาร์สหรัฐจะเสื่อมค่าลง ถึงแม้จะพยายามก่อสงครามและโรคระบาดก็ตาม / ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    สถานการณ์ที่เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในปัญหาความไม่เชื่อมั่นต่อ ดอลลาร์สหรัฐ มี 2 เรื่องสำคัญ คือ 1.การพิมพ์แบงค์ก่อหนี้ไม่หยุดและไม่สามารถชำระหนี้ได้ และ 2. การยึดทุนสำรองระหว่างประเทศของรัสเซีย ทำให้ทั่วโลกกำลังหาสินทรัพย์อย่างอื่น

    อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงจุดที่ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถใช้นโยบายดอกเบี้ยสูงได้ต่อไป ก็ยิ่งทำให้เงินทั่วโลกเทขายพันธบัตรและเงินดอลลาร์หันไปลงทุนสินทรัพย์อย่างอื่น โดยเฉพาะตลาดหุ้นในเอเชีย (ซึ่งแปลงเป็นเงินสกุลอื่น) คริปโตเคอเรนซี่ และทองคำ ประเทศใดไม่ทันระวังตัว หลงเพลินกับดัชนีราคาหุ้นที่สูงขึ้น ก็อาจจะได้รับผลกระทบทำให้ทุนสำรองระหว่างประเทศเสื่อมค่าลงด้วยเพราะดอลลาร์ที่ท่วมในทุนสำรองระหว่างประเทศกำลังเสื่อมค่าลงเช่นกั

    ด้วยเหตุผลนี้ธนาคารกลางของหลายประเทศที่มีเงินทุนไหลเข้าจำนวนมาก ก็มีแนวโน้มจะซื้อทองคำมากขึ้น เพื่อรักษามูลค่าของทุนสำรองระหว่างประเทศให้มั่นคง กว่าการมีสินทรัพย์ที่มีเงินดอลลาร์มากเกินไป

    ด้วยเหตุผลนี้ทองคำมีแนวโน้มจะมีราคาสูงขึ้นต่อไปเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐอเมริกา

    ดังนั้นในรอบหลายปีที่ผ่านมา การระบาดของโรคโควิด-19 ได้ช่วยทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกได้รับความเสียหาย อีกทั้งต้องสั่งซื้อวัคซีนและยารักษาโรคในรูปของเงินดอลลาร์สหรัฐจากอเมริกา และยุโรป

    การก่อหนี้สาธารณอันมหาศาลเพื่อรับมือกับโรคโควิด-19 ในการหาซื้อยา วัคซีน เวชภัณฑ์ รวมถึงการเยียวยาความเสียหายทางเศรษฐกิจ ทำให้หลายประเทศต่อก่อหนี้เพิ่มมากขึ้น บางประเทศที่ขาดดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดอยู่แล้ว ก็ต้องกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF มากขึ้น

    และการที่ประเทศที่ได้รับความเสียหายจากสงครามหรือโรคระบาดที่ต้องกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศมากขึ้น ก็คือการรักษาความต้องการเงินดอลลาร์ให้ยังคงอยู่ต่อไป และต้องถูกแลกมาด้วยการสูบทรัพยากรจากประเทศลูกหนี้เหล่านั้นให้มาชดใช้หนี้ด้วยเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาและยุโรป

    และนี่คือเหตุผลสำคัญที่กระทรวงกลาโหมต้องออกมาปล่อยข่าวปลอมในการใส่ร้ายและทำลายวัคซีนจากจีน เพื่อต้องการสูบความมั่งคั่งจากทั่วโลกให้มาเพิ่งเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อไป

    อย่างไรก็ตาม เมื่อมาถึงจุดที่นโยบายดอกเบี้ยสูงของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถจะดำรงได้ต่อไป จึงถูกสถานการณ์ทางเศรษฐกิจบีบคั้นให้ลดอัตราดอกเบี้ยและมีแนวโน้มจะลดลงไปเรื่อยๆ โดยหวังว่าทำให้เศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาเดินหน้าต่อไป

    แต่การลดดอกเบี้ยธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา ก็แลกกลับมาด้วยเงินทุนไหลออกจากดอลลาร์สหรัฐอย่างรวดเร็ว ไปสู่สินทรัพย์อื่นที่ปลอดภัยมากกว่าอย่างรวดเร็ว ทั้งทองคำ เงินดิจิตอลคริปโตเคอเรนซี่ หุ้นในประเทศในเอเชีย

    ส่งผลทำให้ดัชนีเงินดอลลาร์สหรัฐมีแนวโน้มจะเสื่อมค่าลงเรื่อยๆ

    เมื่อนโยบายอัตราดอกเบี้ยสูงของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถจะถูกใช้เป็นเครื่องมือในการรักษาดอลลาร์อย่างสันติวิธีได้ ประชาคมโลกจึงมีความเสี่ยงที่จะได้เห็นปรากฏการณ์เร่งทำสงครามให้บานปลายมากขึ้น หรืออาจมีความเสี่ยงการก่อโรคระบาดใหม่ได้มากขึ้น

    เพราะการก่อสงครามของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ไม่ได้ทำให้สหรัฐอเมริกาต้องเผชิญความเสี่ยงในการสูญเสียในสมรภูมิสงครามโดยตรง ทำให้หลายประเทศต้องซื้ออาวุธสงครามด้วยเงินดอลลาร์สหรัฐมากขึ้น

    และการปฏิบัติการด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ต่อสู้กันนั้น ก็ย่อมทำให้ต้องการใช้น้ำมันมากขึ้น ดังนั้นน้ำมันที่เพิ่มมูลค่ามากขึ้น ย่อมทำให้สหรัฐอเมริกาได้รับประโยชน์ทำกำไรมากขึ้น และรักษาเงินดอลลาร์ได้มากขึ้นเช่นกัน เพราะทำให้สหรัฐอเมริการมีรายได้มาช่วยชำระหนี้มากขึ้น

    ยังไม่นับความเสี่ยงประเทศคู่กรณีกับสหรัฐอเมริกา ก็อาจจะถูกประเทศสหรัฐอเมริกาชักดาบ ไม่ต้องชำระหนี้พันธบัตรสหรัฐ และยึดทุนสำรองระหว่างประเทศมาชดใช้หนี้ให้สหรัฐอเมริการหรือให้มาซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์ของสหรัฐอเมริกาได้ด้วย

    กรณีศึกษาที่ชัดเจนว่าฝ่ายรักษาเงินดอลลาร์ที่ได้ทำลายการขนส่งก๊าซของรัสเซียในยุโรปก็ดี การมีเป้าหมายทำลายบ่อน้ำมันหรือโรงกลั่นน้ำมันของอิหร่านก็ดี มีเป้าหมายชัดเจนว่าต้องการทำลายปิโตรเลียมของชาติอื่นๆ ที่จะไม่ใช้เงินดอลลาร์สหรัฐในการซื้อขายน้ำมัน(ปิโตรดอลลาร์) เพื่อหวังจะทำให้ปิโตรเลียมที่ค้าขายด้วยดอลลาร์สหรัฐเท่านั้นที่จะครองสัดส่วนหลักของโลกได้ต่อไป ซึ่งเป็นวิธีดิ้นเฮือกสุดท้ายที่มีความเสี่ยงสูง เป็นการเดิมพันเพื่อรักษาเงินดอลลาร์เอาไว้ให้ได้

    นั่นหมายความว่า “ราคาน้ำมัน” มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นต่อไปด้วย

    ดังนั้นลักษณะสงครามโลก หรือหากจะมีสงครามโรคเพื่อรักษาเงินดอลลาร์สหรัฐนั้น มีแนวโน้มที่จะเป็นไปในลักษณะ “จำกัดพื้นที่” และ “ยืดเยื้อ”ไม่ให้เป็นสงครามที่มีผลกระทบต่อแผ่นดินของสหรัฐอเมริกา

    แต่ก็ใช่ว่าแนวทางรักษาเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาที่ไม่ใช่แนวทางสันติวิธีแบบนี้จะทำได้ตามอำเภอใจ เพราะประเทศคู่กรณีอย่างจีน รัสเซีย ที่มีสมาชิก BRICS เข้าร่วมมากขึ้นเรื่อยๆ ที่กำลังลดการถือครองเงินดอลลาร์สหรัฐให้ลดน้อยลง

    จีน รัสเซีย เกาหลีเหนือ อิหร่าน อินเดีย ซึ่งกำลังทยอยลดการถือครองสินทรัพย์ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ต่างมีอาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยี ที่ไม่เพียงจะไม่แพ้สหรัฐอเมริกาและยุโรปเท่านั้น แต่ยังอาจจะเหนือกว่าสหรัฐอเมริกาแล้วด้วย

    ดังนั้นการทำสงครามแบบ “จำกัดพื้นที่” และ “ยืดเยื้อ” อาจถูกโต้กลับด้วยแสนยานุภาพทำให้สงครามสิ้นสุดลงได้เช่นกัน

    ในขณะที่การทำสงครามโรคระบาดก็อาจจะไม่ง่ายอีกเช่นกัน เพราะหลังจากการเกิดโรคระบาดโควิด-19 เริ่มทำให้หลายประเทศได้ตระหนักถึงความเสียหายรอบด้าน และมีการเตรียมความพร้อมมากขึ้น ทั้งยารักษาโรค การพึ่งพาตัวเองได้สมุนไพร การเร่งรัดงานวิจัย หรือแม้กระทั่งการผลิตวัคซีน

    โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีนได้ถ่วงอำนาจทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก ด้วยการปล่อยกู้และลงทุนอันมหาศาลให้กับหลายประเทศที่ติดหนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศ อีกทั้งยังขยายบทบาทการพึ่งพาทางเศรษฐกิจให้กับหลายประเทศทั่วโลกมากกว่าสหรัฐอเมริกา และทำให้ความจำเป็นในการพึ่งพาดอลลาร์สหรัฐอเมริกาลดลงไปด้วย และยังลงทุนก่อสร้างไปในธุรกิจพลังงาน และเหมืองแร่ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นสินทรัพย์ที่เป็นตัวเปลี่ยนเทคโนโลยีของจีน ที่เหนือกว่าการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐ

    จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น แนวโน้มดอลลาร์สหรัฐจะไม่สามารถรักษามูลค่าต่อไปได้ ต่อให้ปั่นกระแสข่าวการทำสงคราม การขึ้นภาษีกีดกันทางการค้า ต่างก็มีข้อจำกัดด้วยแสนยานุภาพของประเทศมหาอำนาจคู่กรณี

    ในสถานการณ์เช่นนี้ประเทศไทยจะต้องคำนึงถึงเรื่องดังต่อไปนี้

    1.ความมั่นคงในทุนสำรองระหว่างประเทศที่จะต้องปรับเปลี่ยนสัดส่วนของสินทรัพย์ให้ทันพลวัตต่อเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

    2.ต้องมีการบริหารจัดการรักษา “เสถียรภาพ” ค่าเงินบาทไม่ให้เกิดการ “ผันผวน” ผิดปกติเมื่อเทียบกับประเทศในกลุ่มเดียวกัน ควบคู่ไปกับการพิจารณาเรื่องเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ กับความสามารถในการแข่งขันในเวทีการส่งออกและการนำเข้าระหว่างประเทศ

    3.ต้องบริหารจัดการให้เกิดความมั่นคงทางพลังงานเพื่อการพึ่งพาตัวเอง ในภาวะสงครามทั่วโลก โดยเฉพาะการส่งเสริมโซลาร์เซลล์ และรถไฟฟ้าทั่วไทยอย่างจริงจัง

    4.ต้องเร่งสร้างความมั่นคงทางอาหารให้พึ่งพาตัวเองได้ ในภาวะสงครามทั่วโลก

    5.ต้องเร่งสร้างความมั่นคงทางยาด้านสมุนไพรเพื่อการพึ่งพาตัวเอง ในภาวะสงครามทั่วโลก

    แต่จนถึงวันนี้ก็ยังไม่เห็นรัฐบาลได้ตระหนักหรือมีวิสัยทัศน์กับปัญหาเหล่านี้เลย

    คงเหลือแต่ประชาชนเท่านั้นที่ได้อ่านบทความนี้ต้องเริ่มแสวงหาแนวทางการพึ่งพาตัวเองให้มากขึ้น ทั้งการพึ่งพาตัวเองด้านพลังงาน อาหาร และสมุนไพร หรือปรัชญาพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9

    ด้วยความปรารถนาดี
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    10 ตุลาคม 2567
    ดอลลาร์สหรัฐจะเสื่อมค่าลง ถึงแม้จะพยายามก่อสงครามและโรคระบาดก็ตาม / ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ สถานการณ์ที่เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในปัญหาความไม่เชื่อมั่นต่อ ดอลลาร์สหรัฐ มี 2 เรื่องสำคัญ คือ 1.การพิมพ์แบงค์ก่อหนี้ไม่หยุดและไม่สามารถชำระหนี้ได้ และ 2. การยึดทุนสำรองระหว่างประเทศของรัสเซีย ทำให้ทั่วโลกกำลังหาสินทรัพย์อย่างอื่น อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงจุดที่ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถใช้นโยบายดอกเบี้ยสูงได้ต่อไป ก็ยิ่งทำให้เงินทั่วโลกเทขายพันธบัตรและเงินดอลลาร์หันไปลงทุนสินทรัพย์อย่างอื่น โดยเฉพาะตลาดหุ้นในเอเชีย (ซึ่งแปลงเป็นเงินสกุลอื่น) คริปโตเคอเรนซี่ และทองคำ ประเทศใดไม่ทันระวังตัว หลงเพลินกับดัชนีราคาหุ้นที่สูงขึ้น ก็อาจจะได้รับผลกระทบทำให้ทุนสำรองระหว่างประเทศเสื่อมค่าลงด้วยเพราะดอลลาร์ที่ท่วมในทุนสำรองระหว่างประเทศกำลังเสื่อมค่าลงเช่นกั ด้วยเหตุผลนี้ธนาคารกลางของหลายประเทศที่มีเงินทุนไหลเข้าจำนวนมาก ก็มีแนวโน้มจะซื้อทองคำมากขึ้น เพื่อรักษามูลค่าของทุนสำรองระหว่างประเทศให้มั่นคง กว่าการมีสินทรัพย์ที่มีเงินดอลลาร์มากเกินไป ด้วยเหตุผลนี้ทองคำมีแนวโน้มจะมีราคาสูงขึ้นต่อไปเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ดังนั้นในรอบหลายปีที่ผ่านมา การระบาดของโรคโควิด-19 ได้ช่วยทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกได้รับความเสียหาย อีกทั้งต้องสั่งซื้อวัคซีนและยารักษาโรคในรูปของเงินดอลลาร์สหรัฐจากอเมริกา และยุโรป การก่อหนี้สาธารณอันมหาศาลเพื่อรับมือกับโรคโควิด-19 ในการหาซื้อยา วัคซีน เวชภัณฑ์ รวมถึงการเยียวยาความเสียหายทางเศรษฐกิจ ทำให้หลายประเทศต่อก่อหนี้เพิ่มมากขึ้น บางประเทศที่ขาดดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดอยู่แล้ว ก็ต้องกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF มากขึ้น และการที่ประเทศที่ได้รับความเสียหายจากสงครามหรือโรคระบาดที่ต้องกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศมากขึ้น ก็คือการรักษาความต้องการเงินดอลลาร์ให้ยังคงอยู่ต่อไป และต้องถูกแลกมาด้วยการสูบทรัพยากรจากประเทศลูกหนี้เหล่านั้นให้มาชดใช้หนี้ด้วยเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาและยุโรป และนี่คือเหตุผลสำคัญที่กระทรวงกลาโหมต้องออกมาปล่อยข่าวปลอมในการใส่ร้ายและทำลายวัคซีนจากจีน เพื่อต้องการสูบความมั่งคั่งจากทั่วโลกให้มาเพิ่งเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อไป อย่างไรก็ตาม เมื่อมาถึงจุดที่นโยบายดอกเบี้ยสูงของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถจะดำรงได้ต่อไป จึงถูกสถานการณ์ทางเศรษฐกิจบีบคั้นให้ลดอัตราดอกเบี้ยและมีแนวโน้มจะลดลงไปเรื่อยๆ โดยหวังว่าทำให้เศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาเดินหน้าต่อไป แต่การลดดอกเบี้ยธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา ก็แลกกลับมาด้วยเงินทุนไหลออกจากดอลลาร์สหรัฐอย่างรวดเร็ว ไปสู่สินทรัพย์อื่นที่ปลอดภัยมากกว่าอย่างรวดเร็ว ทั้งทองคำ เงินดิจิตอลคริปโตเคอเรนซี่ หุ้นในประเทศในเอเชีย ส่งผลทำให้ดัชนีเงินดอลลาร์สหรัฐมีแนวโน้มจะเสื่อมค่าลงเรื่อยๆ เมื่อนโยบายอัตราดอกเบี้ยสูงของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไม่สามารถจะถูกใช้เป็นเครื่องมือในการรักษาดอลลาร์อย่างสันติวิธีได้ ประชาคมโลกจึงมีความเสี่ยงที่จะได้เห็นปรากฏการณ์เร่งทำสงครามให้บานปลายมากขึ้น หรืออาจมีความเสี่ยงการก่อโรคระบาดใหม่ได้มากขึ้น เพราะการก่อสงครามของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ไม่ได้ทำให้สหรัฐอเมริกาต้องเผชิญความเสี่ยงในการสูญเสียในสมรภูมิสงครามโดยตรง ทำให้หลายประเทศต้องซื้ออาวุธสงครามด้วยเงินดอลลาร์สหรัฐมากขึ้น และการปฏิบัติการด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ต่อสู้กันนั้น ก็ย่อมทำให้ต้องการใช้น้ำมันมากขึ้น ดังนั้นน้ำมันที่เพิ่มมูลค่ามากขึ้น ย่อมทำให้สหรัฐอเมริกาได้รับประโยชน์ทำกำไรมากขึ้น และรักษาเงินดอลลาร์ได้มากขึ้นเช่นกัน เพราะทำให้สหรัฐอเมริการมีรายได้มาช่วยชำระหนี้มากขึ้น ยังไม่นับความเสี่ยงประเทศคู่กรณีกับสหรัฐอเมริกา ก็อาจจะถูกประเทศสหรัฐอเมริกาชักดาบ ไม่ต้องชำระหนี้พันธบัตรสหรัฐ และยึดทุนสำรองระหว่างประเทศมาชดใช้หนี้ให้สหรัฐอเมริการหรือให้มาซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์ของสหรัฐอเมริกาได้ด้วย กรณีศึกษาที่ชัดเจนว่าฝ่ายรักษาเงินดอลลาร์ที่ได้ทำลายการขนส่งก๊าซของรัสเซียในยุโรปก็ดี การมีเป้าหมายทำลายบ่อน้ำมันหรือโรงกลั่นน้ำมันของอิหร่านก็ดี มีเป้าหมายชัดเจนว่าต้องการทำลายปิโตรเลียมของชาติอื่นๆ ที่จะไม่ใช้เงินดอลลาร์สหรัฐในการซื้อขายน้ำมัน(ปิโตรดอลลาร์) เพื่อหวังจะทำให้ปิโตรเลียมที่ค้าขายด้วยดอลลาร์สหรัฐเท่านั้นที่จะครองสัดส่วนหลักของโลกได้ต่อไป ซึ่งเป็นวิธีดิ้นเฮือกสุดท้ายที่มีความเสี่ยงสูง เป็นการเดิมพันเพื่อรักษาเงินดอลลาร์เอาไว้ให้ได้ นั่นหมายความว่า “ราคาน้ำมัน” มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นต่อไปด้วย ดังนั้นลักษณะสงครามโลก หรือหากจะมีสงครามโรคเพื่อรักษาเงินดอลลาร์สหรัฐนั้น มีแนวโน้มที่จะเป็นไปในลักษณะ “จำกัดพื้นที่” และ “ยืดเยื้อ”ไม่ให้เป็นสงครามที่มีผลกระทบต่อแผ่นดินของสหรัฐอเมริกา แต่ก็ใช่ว่าแนวทางรักษาเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาที่ไม่ใช่แนวทางสันติวิธีแบบนี้จะทำได้ตามอำเภอใจ เพราะประเทศคู่กรณีอย่างจีน รัสเซีย ที่มีสมาชิก BRICS เข้าร่วมมากขึ้นเรื่อยๆ ที่กำลังลดการถือครองเงินดอลลาร์สหรัฐให้ลดน้อยลง จีน รัสเซีย เกาหลีเหนือ อิหร่าน อินเดีย ซึ่งกำลังทยอยลดการถือครองสินทรัพย์ที่เป็นเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ต่างมีอาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยี ที่ไม่เพียงจะไม่แพ้สหรัฐอเมริกาและยุโรปเท่านั้น แต่ยังอาจจะเหนือกว่าสหรัฐอเมริกาแล้วด้วย ดังนั้นการทำสงครามแบบ “จำกัดพื้นที่” และ “ยืดเยื้อ” อาจถูกโต้กลับด้วยแสนยานุภาพทำให้สงครามสิ้นสุดลงได้เช่นกัน ในขณะที่การทำสงครามโรคระบาดก็อาจจะไม่ง่ายอีกเช่นกัน เพราะหลังจากการเกิดโรคระบาดโควิด-19 เริ่มทำให้หลายประเทศได้ตระหนักถึงความเสียหายรอบด้าน และมีการเตรียมความพร้อมมากขึ้น ทั้งยารักษาโรค การพึ่งพาตัวเองได้สมุนไพร การเร่งรัดงานวิจัย หรือแม้กระทั่งการผลิตวัคซีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีนได้ถ่วงอำนาจทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก ด้วยการปล่อยกู้และลงทุนอันมหาศาลให้กับหลายประเทศที่ติดหนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศ อีกทั้งยังขยายบทบาทการพึ่งพาทางเศรษฐกิจให้กับหลายประเทศทั่วโลกมากกว่าสหรัฐอเมริกา และทำให้ความจำเป็นในการพึ่งพาดอลลาร์สหรัฐอเมริกาลดลงไปด้วย และยังลงทุนก่อสร้างไปในธุรกิจพลังงาน และเหมืองแร่ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นสินทรัพย์ที่เป็นตัวเปลี่ยนเทคโนโลยีของจีน ที่เหนือกว่าการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น แนวโน้มดอลลาร์สหรัฐจะไม่สามารถรักษามูลค่าต่อไปได้ ต่อให้ปั่นกระแสข่าวการทำสงคราม การขึ้นภาษีกีดกันทางการค้า ต่างก็มีข้อจำกัดด้วยแสนยานุภาพของประเทศมหาอำนาจคู่กรณี ในสถานการณ์เช่นนี้ประเทศไทยจะต้องคำนึงถึงเรื่องดังต่อไปนี้ 1.ความมั่นคงในทุนสำรองระหว่างประเทศที่จะต้องปรับเปลี่ยนสัดส่วนของสินทรัพย์ให้ทันพลวัตต่อเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 2.ต้องมีการบริหารจัดการรักษา “เสถียรภาพ” ค่าเงินบาทไม่ให้เกิดการ “ผันผวน” ผิดปกติเมื่อเทียบกับประเทศในกลุ่มเดียวกัน ควบคู่ไปกับการพิจารณาเรื่องเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ กับความสามารถในการแข่งขันในเวทีการส่งออกและการนำเข้าระหว่างประเทศ 3.ต้องบริหารจัดการให้เกิดความมั่นคงทางพลังงานเพื่อการพึ่งพาตัวเอง ในภาวะสงครามทั่วโลก โดยเฉพาะการส่งเสริมโซลาร์เซลล์ และรถไฟฟ้าทั่วไทยอย่างจริงจัง 4.ต้องเร่งสร้างความมั่นคงทางอาหารให้พึ่งพาตัวเองได้ ในภาวะสงครามทั่วโลก 5.ต้องเร่งสร้างความมั่นคงทางยาด้านสมุนไพรเพื่อการพึ่งพาตัวเอง ในภาวะสงครามทั่วโลก แต่จนถึงวันนี้ก็ยังไม่เห็นรัฐบาลได้ตระหนักหรือมีวิสัยทัศน์กับปัญหาเหล่านี้เลย คงเหลือแต่ประชาชนเท่านั้นที่ได้อ่านบทความนี้ต้องเริ่มแสวงหาแนวทางการพึ่งพาตัวเองให้มากขึ้น ทั้งการพึ่งพาตัวเองด้านพลังงาน อาหาร และสมุนไพร หรือปรัชญาพระราชทานเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ด้วยความปรารถนาดี ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 10 ตุลาคม 2567
    Like
    Love
    Yay
    Sad
    108
    4 ความคิดเห็น 9 การแบ่งปัน 1980 มุมมอง 5 รีวิว