• เหรียญเนื้อเงิน มวลสารเสก 9 ปี รวยเงิน หลวงพ่อจำเนียร วัดถ้ำเสือ จ.กระบี่
    เหรียญเนื้อเงิน มวลสารเสก 9 ปี รวยเงิน (หลังฝังพลอยเสก+เกศา) หลวงพ่อจำเนียร วัดถ้ำเสือ จ.กระบี่ ปี2542 // พระดีพิธีขลัง !! ปลุกเสก 9 ปี เข้มขลัง ศักดิ์สิทธิ์ // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ พระหายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณ โภคทรัพย์ เมตตามหานิยม โชคลาภ และเสี่ยงโชค ช่วยให้ค้าขายดี มีโชค ช่วยให้ทรัพย์ที่ได้มางอกเงยและรักษาทรัพย์ได้นาน เจริญรุ่งเรือง ไม่ฝืดเคืองขัดสน ค้าขาย ร่ำรวย เรียกทรัพย์หนุนดวง อุดมสมบูรณ์ ทำมาหากินคล่อง เจริญในหน้าที่การงานคุ้มครองป้องกันภัยอันตรายทั้งปวง >>

    ** เหรียญหลวงพ่อจำเนียร สีลเสฏโฐ รุ่นรวยเงิน มวลสารปลุดเสก9ปี จัดสร้างปี 2542 หลังเหรียญติดมวลสารที่หลวงพ่อเสก เกศา+พลอยสี และ มวลสารต่างๆอีกมาก เหรียญสวยเดิมๆเลียมเดิมมาจากวัด

    ** พระอาจารย์จำเนียร ท่านเป็นพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบองค์หนึ่งประจําภาคใต้ ปฏิปทาในองค์ท่านงดงามนุ่มนวล ถือ เคร่งครัดในการปฏิบัติพระธรรม วินัยมากที่สุด เป็นพระเกจิอาจารย์อีกรูปหนึ่งที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศ และแถบประเทศเพื่อนบ้านของเรา เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ อินเดีย ฮ่องกง เป็นต้น ด้วยเหตุที่วัตรปฎิบัติบัตรอันงดงาม และความศักดิ์สิทธิ์ของตัวหลวงพ่อจำเนียรเอง >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญเนื้อเงิน มวลสารเสก 9 ปี รวยเงิน หลวงพ่อจำเนียร วัดถ้ำเสือ จ.กระบี่ เหรียญเนื้อเงิน มวลสารเสก 9 ปี รวยเงิน (หลังฝังพลอยเสก+เกศา) หลวงพ่อจำเนียร วัดถ้ำเสือ จ.กระบี่ ปี2542 // พระดีพิธีขลัง !! ปลุกเสก 9 ปี เข้มขลัง ศักดิ์สิทธิ์ // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ พระหายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณ โภคทรัพย์ เมตตามหานิยม โชคลาภ และเสี่ยงโชค ช่วยให้ค้าขายดี มีโชค ช่วยให้ทรัพย์ที่ได้มางอกเงยและรักษาทรัพย์ได้นาน เจริญรุ่งเรือง ไม่ฝืดเคืองขัดสน ค้าขาย ร่ำรวย เรียกทรัพย์หนุนดวง อุดมสมบูรณ์ ทำมาหากินคล่อง เจริญในหน้าที่การงานคุ้มครองป้องกันภัยอันตรายทั้งปวง >> ** เหรียญหลวงพ่อจำเนียร สีลเสฏโฐ รุ่นรวยเงิน มวลสารปลุดเสก9ปี จัดสร้างปี 2542 หลังเหรียญติดมวลสารที่หลวงพ่อเสก เกศา+พลอยสี และ มวลสารต่างๆอีกมาก เหรียญสวยเดิมๆเลียมเดิมมาจากวัด ** พระอาจารย์จำเนียร ท่านเป็นพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบองค์หนึ่งประจําภาคใต้ ปฏิปทาในองค์ท่านงดงามนุ่มนวล ถือ เคร่งครัดในการปฏิบัติพระธรรม วินัยมากที่สุด เป็นพระเกจิอาจารย์อีกรูปหนึ่งที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศ และแถบประเทศเพื่อนบ้านของเรา เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ อินเดีย ฮ่องกง เป็นต้น ด้วยเหตุที่วัตรปฎิบัติบัตรอันงดงาม และความศักดิ์สิทธิ์ของตัวหลวงพ่อจำเนียรเอง >> ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 35 Views 0 Reviews
  • เข้าพรรษา เข้าหาพระธรรม 🪷 วันพระ ศุกร์ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๘ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ปีมะโรง
    เข้าพรรษา เข้าหาพระธรรม 🪷 วันพระ ศุกร์ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๘ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ปีมะโรง
    Love
    1
    1 Comments 0 Shares 37 Views 0 0 Reviews
  • "การเข้าพรรษา" นั้นปรากฏในพระไตรปิฎกเถรวาท ซึ่งพระสงฆ์ในนิกายเถรวาททุกประเทศจะถือการปฏิบัติการเข้าจำพรรษาเหมือนกัน (แต่อาจมีความแตกต่างกันบ้างในการให้ความสำคัญและรายละเอียดประเพณีปฏิบัติของแต่ละท้องถิ่น)
    ในอดีต การเข้าพรรษามีประโยชน์แก่พระสงฆ์ในด้านการศึกษาพระธรรมวินัย โดยการที่พระสงฆ์จากที่ต่าง ๆ มาอยู่จำพรรษารวมกันในที่ใดที่หนึ่ง พระสงฆ์เหล่านั้นก็จะมีการแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายองค์ความรู้ตามพระธรรมวินัยให้แก่กัน
    มาในปัจจุบัน การศึกษาพระธรรมวินัยในช่วงเข้าพรรษาในประเทศไทยก็ยังจัดเป็นกิจสำคัญของพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ที่อุปสมบททุกรูป แม้จะอุปสมบทเพียงเพื่อชั่วเข้าพรรษาสามเดือน ก็จะต้องศึกษาพระธรรมวินัยเพิ่มเติม ปัจจุบันพระธรรมวินัยถูกจัดเป็นหลักสูตรของคณะสงฆ์
    "การเข้าพรรษา" นั้นปรากฏในพระไตรปิฎกเถรวาท ซึ่งพระสงฆ์ในนิกายเถรวาททุกประเทศจะถือการปฏิบัติการเข้าจำพรรษาเหมือนกัน (แต่อาจมีความแตกต่างกันบ้างในการให้ความสำคัญและรายละเอียดประเพณีปฏิบัติของแต่ละท้องถิ่น) ในอดีต การเข้าพรรษามีประโยชน์แก่พระสงฆ์ในด้านการศึกษาพระธรรมวินัย โดยการที่พระสงฆ์จากที่ต่าง ๆ มาอยู่จำพรรษารวมกันในที่ใดที่หนึ่ง พระสงฆ์เหล่านั้นก็จะมีการแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายองค์ความรู้ตามพระธรรมวินัยให้แก่กัน มาในปัจจุบัน การศึกษาพระธรรมวินัยในช่วงเข้าพรรษาในประเทศไทยก็ยังจัดเป็นกิจสำคัญของพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ที่อุปสมบททุกรูป แม้จะอุปสมบทเพียงเพื่อชั่วเข้าพรรษาสามเดือน ก็จะต้องศึกษาพระธรรมวินัยเพิ่มเติม ปัจจุบันพระธรรมวินัยถูกจัดเป็นหลักสูตรของคณะสงฆ์
    0 Comments 0 Shares 22 Views 0 Reviews
  • วันศุกร์ ที่ 11 กรกฎาคม 2568 วันเข้าพรรษา
    วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนาพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย

    สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย
    วันศุกร์ ที่ 11 กรกฎาคม 2568 วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนาพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย
    0 Comments 0 Shares 56 Views 0 Reviews
  • สำนักพุทธฯ เพิ่งตื่น! สะกิดเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ ตั้งกก.สอบพระทุกรูปพัวพันสีกากอล์ฟ
    https://www.thai-tai.tv/news/20188/
    .
    #สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ #ข่าวพระ #วงการสงฆ์ #สีกา #พระธรรมวินัย #มหาเถรสมาคม #ตรวจสอบข้อเท็จจริง #พระพุทธศาสนา #ประเทศไทย
    สำนักพุทธฯ เพิ่งตื่น! สะกิดเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ ตั้งกก.สอบพระทุกรูปพัวพันสีกากอล์ฟ https://www.thai-tai.tv/news/20188/ . #สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ #ข่าวพระ #วงการสงฆ์ #สีกา #พระธรรมวินัย #มหาเถรสมาคม #ตรวจสอบข้อเท็จจริง #พระพุทธศาสนา #ประเทศไทย
    0 Comments 0 Shares 54 Views 0 Reviews
  • วันปาฏิโมกข์(วันพระใหญ่) ขึ้น ๑๕ เดือน ๘ ปีมะเส็ง เป็นวันอาสาฬหบูชา พระภิกษุสงฆ์ทำการสวดพระปาฏิโมกข์และนำพาประชาชนเวียนเทียนฯลฯ

    วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญ (วันขึ้น 15 ค่ำ) เดือน 8 เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ระลึกถึงวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา (ธรรมเทศนากัณฑ์แรก) โปรดพระปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี. การแสดงธรรมครั้งนี้ถือเป็นการประกาศพระพุทธศาสนาอย่างเป็นทางการ และยังเป็นวันที่เกิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3 เป็นครั้งแรก คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์.
    เหตุการณ์สำคัญในวันอาสาฬหบูชา:
    การแสดงปฐมเทศนา:
    พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมที่ตรัสรู้เป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ (กลุ่มพระภิกษุ 5 รูป) ชื่อว่า "ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร".
    การเกิดพระสงฆ์รูปแรก:
    หลังจากการแสดงธรรม พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมและขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา.
    การเกิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3:
    ด้วยเหตุการณ์ที่พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมและขอบวช ทำให้พระรัตนตรัย (พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์) ครบถ้วนบริบูรณ์เป็นครั้งแรก.
    ความสำคัญของวันอาสาฬหบูชา:
    เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ชาวพุทธทั่วโลกให้ความสำคัญ.
    เป็นวันที่ชาวพุทธจะเข้าวัดทำบุญ ฟังธรรม รักษาศีล และเวียนเทียน เพื่อระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย.
    เป็นวันที่ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในการประกาศพระพุทธศาสนา และการเกิดของพระรัตนตรัย.
    วันปาฏิโมกข์(วันพระใหญ่) ขึ้น ๑๕ เดือน ๘ ปีมะเส็ง เป็นวันอาสาฬหบูชา พระภิกษุสงฆ์ทำการสวดพระปาฏิโมกข์และนำพาประชาชนเวียนเทียนฯลฯ วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญ (วันขึ้น 15 ค่ำ) เดือน 8 เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ระลึกถึงวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา (ธรรมเทศนากัณฑ์แรก) โปรดพระปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี. การแสดงธรรมครั้งนี้ถือเป็นการประกาศพระพุทธศาสนาอย่างเป็นทางการ และยังเป็นวันที่เกิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3 เป็นครั้งแรก คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์. เหตุการณ์สำคัญในวันอาสาฬหบูชา: การแสดงปฐมเทศนา: พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมที่ตรัสรู้เป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ (กลุ่มพระภิกษุ 5 รูป) ชื่อว่า "ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร". การเกิดพระสงฆ์รูปแรก: หลังจากการแสดงธรรม พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมและขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา. การเกิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3: ด้วยเหตุการณ์ที่พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมและขอบวช ทำให้พระรัตนตรัย (พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์) ครบถ้วนบริบูรณ์เป็นครั้งแรก. ความสำคัญของวันอาสาฬหบูชา: เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ชาวพุทธทั่วโลกให้ความสำคัญ. เป็นวันที่ชาวพุทธจะเข้าวัดทำบุญ ฟังธรรม รักษาศีล และเวียนเทียน เพื่อระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย. เป็นวันที่ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในการประกาศพระพุทธศาสนา และการเกิดของพระรัตนตรัย.
    0 Comments 0 Shares 29 Views 0 Reviews
  • ตามหลักพุทธศาสนา การกระทำของผู้บริหารบ้านเมืองที่ "ขายชาติ" (นำผลประโยชน์ของชาติไปให้ต่างชาติโดยมิชอบ) และ "โกงแผ่นดิน" (คอร์รัปชั่น, ฉ้อราษฎร์บังหลวง) ถือเป็น **อกุศลกรรมหนัก** ที่ส่งผลทั้งในชาตินี้และชาติหน้า ดังนี้

    ### ผลกรรมตามหลักกรรม (กฎแห่งเหตุและผล)
    1. **วิบากกรรมในปัจจุบัน (ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม):**
    - สูญเสียความน่าเชื่อถือ ถูกสังคมประณาม ต้องเผชิญการฟ้องร้องทางกฎหมาย
    - ขาดมิตรแท้ อยู่ในความหวาดระแวง ครอบครัวแตกแยก
    - นำไปสู่การล่มสลายทางการเมือง เช่น ถูกปลดออกจากตำแหน่ง ต้องโทษจำคุก
    - สร้างความเสื่อมโทรมให้ประเทศ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ/สังคมที่ประชาชนรับผลกระทบ

    2. **วิบากกรรมในภพใหม่ (อุปปัชชเวทนียกรรม):**
    - เกิดในอบายภูมิ (นรก เปรต อสุรกาย) เนื่องจากทำลาย "สังคหวัตถุ" (หลักการสงเคราะห์สังคม)
    - หากได้เกิดเป็นมนุษย์ มักเกิดในตระกูลต่ำ ขาดโอกาส ถูกกดขี่ หรือมีชีวิตเต็มไปด้วยอุปสรรค
    - พลาดโอกาสในการศึกษาพระธรรม เพราะกรรมหนักปิดกั้นปัญญา

    3. **วิบากกรรมสืบเนื่อง (อปราปริยเวทนียกรรม):**
    - แม้พ้นจากอบายภูมิแล้ว วิบากยังสืบเนื่อง เช่น มีสุขภาพย่ำแย่ ทรัพย์สินสูญหายง่าย ถูกหลอกลวงเป็นนิสัย

    ### อกุศลกรรมหลักที่ก่อ
    - **อทินนาทาน (ลักทรัพย์):** การคอร์รัปชันคือการลักทรัพย์ส่วนรวม
    - **มุสาวาท (พูดเท็จ):** การปกปิดการทุจริต ใช้วาทศิลป์หลอกลวงประชาชน
    - **มิจฉาชีพ (การงานผิด):** ใช้อำนาจในทางมิชอบ
    - **ทำลายหลัก "ธรรมาธิปไตย":** ซึ่งพุทธศาสนาส่งเสริมการปกครองด้วยธรรม

    ### ผลต่อสังคมตามหลักพุทธ
    การกระทำดังกล่าว **ทำลาย "ธรรมิกราชธรรม" (หลักการปกครองที่ดี)** โดยเฉพาะ:
    - **ขาดเมตตาธรรม:** ไม่เกื้อกูลประชาชน
    - **ขาดสัจจะ:** ไม่รักษาคำมั่นสัญญาต่อชาติ
    - **ขาดทมะ:** ไม่รู้จักควบคุมความโลภ

    ### สรุป
    พุทธศาสนามองว่ากรรมนี้ **"หนัก"** เพราะส่งผลร้ายต่อมหาชน ("กรรมที่มีเวรเป็นผล") ผู้ก่อย่อมได้รับผลกรรมทั้งทางตรง (การลงโทษทางโลก) และทางอ้อม (วิบากในสังสาระ) แม้ผลกรรมอาจไม่ปรากฏทันที แต่ย่อมตามสนองอย่างแน่นอนตามกฎแห่งกรรม

    > "ผู้ปกครองที่ดีต้องมี **หิริ-โอตตัปปะ** (ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป) เป็นพื้นฐาน หากขาดธรรมนี้ ย่อมนำความวิบัติมาสู่ตนเองและแผ่นดิน" — อ้างตามพระไตรปิฎกและอรรถกถา
    ตามหลักพุทธศาสนา การกระทำของผู้บริหารบ้านเมืองที่ "ขายชาติ" (นำผลประโยชน์ของชาติไปให้ต่างชาติโดยมิชอบ) และ "โกงแผ่นดิน" (คอร์รัปชั่น, ฉ้อราษฎร์บังหลวง) ถือเป็น **อกุศลกรรมหนัก** ที่ส่งผลทั้งในชาตินี้และชาติหน้า ดังนี้ ### ผลกรรมตามหลักกรรม (กฎแห่งเหตุและผล) 1. **วิบากกรรมในปัจจุบัน (ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม):** - สูญเสียความน่าเชื่อถือ ถูกสังคมประณาม ต้องเผชิญการฟ้องร้องทางกฎหมาย - ขาดมิตรแท้ อยู่ในความหวาดระแวง ครอบครัวแตกแยก - นำไปสู่การล่มสลายทางการเมือง เช่น ถูกปลดออกจากตำแหน่ง ต้องโทษจำคุก - สร้างความเสื่อมโทรมให้ประเทศ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ/สังคมที่ประชาชนรับผลกระทบ 2. **วิบากกรรมในภพใหม่ (อุปปัชชเวทนียกรรม):** - เกิดในอบายภูมิ (นรก เปรต อสุรกาย) เนื่องจากทำลาย "สังคหวัตถุ" (หลักการสงเคราะห์สังคม) - หากได้เกิดเป็นมนุษย์ มักเกิดในตระกูลต่ำ ขาดโอกาส ถูกกดขี่ หรือมีชีวิตเต็มไปด้วยอุปสรรค - พลาดโอกาสในการศึกษาพระธรรม เพราะกรรมหนักปิดกั้นปัญญา 3. **วิบากกรรมสืบเนื่อง (อปราปริยเวทนียกรรม):** - แม้พ้นจากอบายภูมิแล้ว วิบากยังสืบเนื่อง เช่น มีสุขภาพย่ำแย่ ทรัพย์สินสูญหายง่าย ถูกหลอกลวงเป็นนิสัย ### อกุศลกรรมหลักที่ก่อ - **อทินนาทาน (ลักทรัพย์):** การคอร์รัปชันคือการลักทรัพย์ส่วนรวม - **มุสาวาท (พูดเท็จ):** การปกปิดการทุจริต ใช้วาทศิลป์หลอกลวงประชาชน - **มิจฉาชีพ (การงานผิด):** ใช้อำนาจในทางมิชอบ - **ทำลายหลัก "ธรรมาธิปไตย":** ซึ่งพุทธศาสนาส่งเสริมการปกครองด้วยธรรม ### ผลต่อสังคมตามหลักพุทธ การกระทำดังกล่าว **ทำลาย "ธรรมิกราชธรรม" (หลักการปกครองที่ดี)** โดยเฉพาะ: - **ขาดเมตตาธรรม:** ไม่เกื้อกูลประชาชน - **ขาดสัจจะ:** ไม่รักษาคำมั่นสัญญาต่อชาติ - **ขาดทมะ:** ไม่รู้จักควบคุมความโลภ ### สรุป พุทธศาสนามองว่ากรรมนี้ **"หนัก"** เพราะส่งผลร้ายต่อมหาชน ("กรรมที่มีเวรเป็นผล") ผู้ก่อย่อมได้รับผลกรรมทั้งทางตรง (การลงโทษทางโลก) และทางอ้อม (วิบากในสังสาระ) แม้ผลกรรมอาจไม่ปรากฏทันที แต่ย่อมตามสนองอย่างแน่นอนตามกฎแห่งกรรม > "ผู้ปกครองที่ดีต้องมี **หิริ-โอตตัปปะ** (ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป) เป็นพื้นฐาน หากขาดธรรมนี้ ย่อมนำความวิบัติมาสู่ตนเองและแผ่นดิน" — อ้างตามพระไตรปิฎกและอรรถกถา
    0 Comments 0 Shares 107 Views 0 Reviews
  • พรุ่งนี้วันอาสาฬหบูชา - วันพระ

    ลุงพุฒิ(ท่านพยายมราช)

    ท่านบอกว่าให้ทุกคนทำตามนี้ว่า ถึงเวลาที่จะนอน

    ถ้ามีกำลังใจสูงนะ กำลังเข้มข้นก็ไม่ต้องใช้น้ำมนต์ นึกถึงภาพยันต์นั้นอยู่ตรงกระหม่อม แล้วว่าอิติปิโส ๗ จบ (อิติปิโส ๓ ห้อง คือ อิติปิโสฯ, สวากขาโตฯ, สุปฏิปันโนฯ นับรวม ๑ จบ ต้องว่า ๗ จบ) แล้วก็ นะ มะ พะ ทะ ๑๕ จบ ว่าอย่างอื่นเสียก่อนนะ บูชาพระเสียก่อน แล้วก็สวด อิติปิโส ๗ จบ นึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และ พระอริยะสงฆ์ แล้วก็ว่า นะมะพะธะ ๑๕ จบ

    อย่างนี้ท่านว่าจะคลายกฏของกรรมไปมาก ค่อยๆ คลายกฏของกรรมนะ กฏของกรรมนี้ความจริงทำลายไม่ได้ แต่อำนาจกฏของกรรมจะค่อยๆ คลายตัว ถ้าทำทุกวันต่อไปจักเหลือนิดเดียว อย่างโทษปาณาติบาต ต้องป่วยไข้ไม่สบาย หรือทุพพลภาพทางกายจะคลายตัวเหลือเล็กน้อย

    ถ้าบุคคลใดกำลังใจไม่เข้มแข็ง ก็ให้นึกถึงน้ำมนต์แล้วว่า อิติปิโส ๗ จบ แล้วก็สวด นะมะพะธะ เอาน้ำมนต์มาพรมที่ศีรษะเล็กน้อยอย่างนี้ทุกวัน ทำทุกวันกฏของกรรมจะคลายตัวอันนี้ดีมากกฏของกรรมเราหาทางแก้ไม่ได้อยู่แล้วนะ ท่านบอกจะคลายเรื่อยๆ ไป จนกระทั่งสิ้นกำลัง แต่ไม่สิ้นเลยเหลือนิดหน่อยดีมาก อย่างคนถูกหวยยาก จะถูกหวยง่าย"

    เมื่อจะทำน้ำมนต์ ให้เอาเหรียญทำน้ำมนต์ใส่ก้นขัน แล้วเอาใส่น้ำ หลังจากนั้นชุมนุมเทวดา ตั้งใจอาราธนาพระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม และพระอริยะสงฆ์ทั้งหลาย มีพระคุณหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้,พระคุณหลวงปู่ปาน วัดบางนมโค, พระคุณหลวงพ่อฤๅษีฯ วัดท่าซุง เป็นที่สุด มีพระคุณหลวงปู่พระสารีบุตรเป็นประธานได้โปรดเมตตาสงเคราะห์ หลังจากนั้นให้ลืมตาดูยันต์หลังเหรียญทำน้ำมนต์ให้จำได้ จำภาพน้ำในขันด้วย ตั้ง นะโมฯ ๓ จบ เสกด้วย อิติปิโส ๗ จบ,นะมะพะธะ ๑๕ จบ เป็นเสร็จพิธี น้ำมนต์นี้รักษาอะไรได้บ้างไม่ขออธิบายสุดแต่จะอาราธนา จะมีผลเฉพาะผู้ที่มีความเคารพในคุณพระรัตนตรัยเท่านั้น
    คัดรวมเสียงธรรม ธรรมะโดนใจ

    เทศน์ธรรมมาสน์ :วันสงกรานต์ วันมาฆะบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา
    💦 พรุ่งนี้วันอาสาฬหบูชา - วันพระ 💦 💦🌿🌾ลุงพุฒิ(ท่านพยายมราช) 🌾🌿💦 🌿ท่านบอกว่าให้ทุกคนทำตามนี้ว่า ถึงเวลาที่จะนอน 🌿ถ้ามีกำลังใจสูงนะ กำลังเข้มข้นก็ไม่ต้องใช้น้ำมนต์ นึกถึงภาพยันต์นั้นอยู่ตรงกระหม่อม แล้วว่าอิติปิโส ๗ จบ (อิติปิโส ๓ ห้อง คือ อิติปิโสฯ, สวากขาโตฯ, สุปฏิปันโนฯ นับรวม ๑ จบ ต้องว่า ๗ จบ) แล้วก็ นะ มะ พะ ทะ ๑๕ จบ ว่าอย่างอื่นเสียก่อนนะ บูชาพระเสียก่อน แล้วก็สวด อิติปิโส ๗ จบ นึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และ พระอริยะสงฆ์ แล้วก็ว่า นะมะพะธะ ๑๕ จบ 🌿อย่างนี้ท่านว่าจะคลายกฏของกรรมไปมาก ค่อยๆ คลายกฏของกรรมนะ กฏของกรรมนี้ความจริงทำลายไม่ได้ แต่อำนาจกฏของกรรมจะค่อยๆ คลายตัว ถ้าทำทุกวันต่อไปจักเหลือนิดเดียว อย่างโทษปาณาติบาต ต้องป่วยไข้ไม่สบาย หรือทุพพลภาพทางกายจะคลายตัวเหลือเล็กน้อย 🌿ถ้าบุคคลใดกำลังใจไม่เข้มแข็ง ก็ให้นึกถึงน้ำมนต์แล้วว่า อิติปิโส ๗ จบ แล้วก็สวด นะมะพะธะ เอาน้ำมนต์มาพรมที่ศีรษะเล็กน้อยอย่างนี้ทุกวัน ทำทุกวันกฏของกรรมจะคลายตัวอันนี้ดีมากกฏของกรรมเราหาทางแก้ไม่ได้อยู่แล้วนะ ท่านบอกจะคลายเรื่อยๆ ไป จนกระทั่งสิ้นกำลัง แต่ไม่สิ้นเลยเหลือนิดหน่อยดีมาก อย่างคนถูกหวยยาก จะถูกหวยง่าย" 🌿เมื่อจะทำน้ำมนต์ ให้เอาเหรียญทำน้ำมนต์ใส่ก้นขัน แล้วเอาใส่น้ำ หลังจากนั้นชุมนุมเทวดา ตั้งใจอาราธนาพระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม และพระอริยะสงฆ์ทั้งหลาย มีพระคุณหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้,พระคุณหลวงปู่ปาน วัดบางนมโค, พระคุณหลวงพ่อฤๅษีฯ วัดท่าซุง เป็นที่สุด มีพระคุณหลวงปู่พระสารีบุตรเป็นประธานได้โปรดเมตตาสงเคราะห์ หลังจากนั้นให้ลืมตาดูยันต์หลังเหรียญทำน้ำมนต์ให้จำได้ จำภาพน้ำในขันด้วย ตั้ง นะโมฯ ๓ จบ เสกด้วย อิติปิโส ๗ จบ,นะมะพะธะ ๑๕ จบ เป็นเสร็จพิธี น้ำมนต์นี้รักษาอะไรได้บ้างไม่ขออธิบายสุดแต่จะอาราธนา จะมีผลเฉพาะผู้ที่มีความเคารพในคุณพระรัตนตรัยเท่านั้น คัดรวมเสียงธรรม ธรรมะโดนใจ เทศน์ธรรมมาสน์ :วันสงกรานต์ วันมาฆะบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา
    0 Comments 0 Shares 59 Views 0 Reviews
  • วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม 2568 วันอาสาฬหบูชา
    วันอาสาฬหบูชาได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 คือวันอาสาฬหปุรณมีดิถี หรือวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ[2] ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นกาสี อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาคือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรแก่ปัญจวัคคีย์[3]

    การแสดงธรรมครั้งนั้นทำให้พราหมณ์โกณฑัญญะ 1 ในปัญจวัคคีย์ ประกอบด้วย โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ เกิดความเลื่อมใสในพระธรรมของพระพุทธเจ้า จนได้ดวงตาเห็นธรรมหรือบรรลุเป็นพระอริยบุคคลระดับโสดาบัน ท่านจึงขออุปสมบทในพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา พระอัญญาโกณฑัญญะจึงกลายเป็นพระสาวกและภิกษุองค์แรกในโลก และทำให้ในวันนั้นมีพระรัตนตรัยครบองค์สามบริบูรณ์เป็นครั้งแรกในโลก คือ มีทั้งพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้วันนี้ถูกเรียกว่า "วันพระธรรม" หรือ วันพระธรรมจักร อันได้แก่วันที่ล้อแห่งพระธรรมของพระพุทธเจ้าได้หมุนไปเป็นครั้งแรก และ "วันพระสงฆ์" คือวันที่มีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก และจัดว่าเป็น"วันพระรัตนตรัย" อีกด้วย

    เดิมนั้นไม่มีการประกอบพิธีการบูชาในเดือน 8 หรือวันอาสาฬหบูชาในประเทศพุทธเถรวาทมาก่อน จนมาในปี พ.ศ. 2501 การบูชาในเดือน 8 หรือวันอาสาฬหบูชาจึงได้เริ่มมีขึ้นในประเทศไทย ตามที่คณะสังฆมนตรี ได้กำหนดให้วันนี้เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของประเทศไทยอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2501 โดยคณะสังฆมนตรีได้มีมติให้เพิ่มวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธในประเทศไทย
    วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม 2568 วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชาได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 คือวันอาสาฬหปุรณมีดิถี หรือวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ[2] ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นกาสี อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาคือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรแก่ปัญจวัคคีย์[3] การแสดงธรรมครั้งนั้นทำให้พราหมณ์โกณฑัญญะ 1 ในปัญจวัคคีย์ ประกอบด้วย โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ เกิดความเลื่อมใสในพระธรรมของพระพุทธเจ้า จนได้ดวงตาเห็นธรรมหรือบรรลุเป็นพระอริยบุคคลระดับโสดาบัน ท่านจึงขออุปสมบทในพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา พระอัญญาโกณฑัญญะจึงกลายเป็นพระสาวกและภิกษุองค์แรกในโลก และทำให้ในวันนั้นมีพระรัตนตรัยครบองค์สามบริบูรณ์เป็นครั้งแรกในโลก คือ มีทั้งพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้วันนี้ถูกเรียกว่า "วันพระธรรม" หรือ วันพระธรรมจักร อันได้แก่วันที่ล้อแห่งพระธรรมของพระพุทธเจ้าได้หมุนไปเป็นครั้งแรก และ "วันพระสงฆ์" คือวันที่มีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก และจัดว่าเป็น"วันพระรัตนตรัย" อีกด้วย เดิมนั้นไม่มีการประกอบพิธีการบูชาในเดือน 8 หรือวันอาสาฬหบูชาในประเทศพุทธเถรวาทมาก่อน จนมาในปี พ.ศ. 2501 การบูชาในเดือน 8 หรือวันอาสาฬหบูชาจึงได้เริ่มมีขึ้นในประเทศไทย ตามที่คณะสังฆมนตรี ได้กำหนดให้วันนี้เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของประเทศไทยอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2501 โดยคณะสังฆมนตรีได้มีมติให้เพิ่มวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธในประเทศไทย
    0 Comments 0 Shares 34 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    สัทธรรมลำดับที่ : 1046
    ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้
    แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน
    กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น
    แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ
    ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก.
    พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น
    พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !”
    --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย,
    ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ.

    (ก. ฝ่ายอกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,”
    ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !”
    --มีโทษหรือไม่มีโทษ ?
    “มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !”

    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย”
    ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.

    ( ข. ฝ่ายกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !”
    มี โทษหรือไม่มีโทษ ?
    “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล
    ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้
    กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’
    ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด”
    ดังนี้
    ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.
    ----
    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้
    ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า

    +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ;

    +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้
    มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า
    “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี.
    ฐานะที่จะมีได้ก็คือ
    เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย
    เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี,
    เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ
    ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ,
    ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ
    ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้,
    ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้
    มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก
    “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น.
    ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น.
    ”(ชาวกาลามเหล่านั้น
    รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง,
    แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).-

    (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า
    การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น
    จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด
    เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า
    ทุกข์เป็นอย่างไร
    เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร
    ความดับทุกข์เป็นอย่างไร
    มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร
    โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา
    หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก
    หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก
    หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ
    หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ.
    เป็นอัน กล่าวได้ว่า
    ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้
    ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส
    อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร สัทธรรมลำดับที่ : 1046 ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 เนื้อความทั้งหมด :- --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” --มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ---- --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น. ”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).- (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า ทุกข์เป็นอย่างไร เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร ความดับทุกข์เป็นอย่างไร มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ. เป็นอัน กล่าวได้ว่า ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้ ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505. http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    -การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคมนี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยา ผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า มีจิตสหรคตด้วยเมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยกรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอัน ใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยมุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; มีจิตสหรคตด้วยอุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลกมี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลกไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหนดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่ เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น . . . .”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).
    0 Comments 0 Shares 121 Views 0 Reviews
  • จะมาพูดคุยประเด็น การรับเงินและทอง

    ของพระภิกษุสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา ตามพระธรรมวินัย ที่พระศาสดา ทรงบัญญัติไว้ 

    มีเรื่องเล่ามาเล่าให้ฟัง ดังต่อไปนี้ โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่

    ณ พระเวฬุวัน ครั้งนั้น ท่านพระอุปนันทศากยบุตรเป็นกุลุปกะของสกุลหนึ่ง รับภัตตาหารอยู่เป็นประจำ ของเคี้ยวของฉันอันใดที่เกิดขึ้นในสกุลนั้น.

    เขาย่อมแบ่งส่วนไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เย็นวันหนึ่งในสกุลนั้นมีเนื้อเกิดขึ้น เขาจึง

    แบ่งส่วนเนื้อนั้นไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เด็กของสกุลนั้นตื่นขึ้นในเวลาเช้ามืด ร้อง

    อ้อนวอนว่า จงให้เนื้อแก่ข้าพเจ้า. บุรุษสามีจึงสั่งภรรยาว่า จงให้ส่วนของพระแก่เด็ก เราจักซื้อของอื่นถวายท่าน. ครั้นแล้วเวลาเช้าท่านอุปนันทศากยบุตร

    สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/2025/07/07/%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%a2-%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a0%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%a9%e0%b8%b8%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%86%e0%b9%8c/
    จะมาพูดคุยประเด็น การรับเงินและทอง ของพระภิกษุสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา ตามพระธรรมวินัย ที่พระศาสดา ทรงบัญญัติไว้  มีเรื่องเล่ามาเล่าให้ฟัง ดังต่อไปนี้ โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเวฬุวัน ครั้งนั้น ท่านพระอุปนันทศากยบุตรเป็นกุลุปกะของสกุลหนึ่ง รับภัตตาหารอยู่เป็นประจำ ของเคี้ยวของฉันอันใดที่เกิดขึ้นในสกุลนั้น. เขาย่อมแบ่งส่วนไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เย็นวันหนึ่งในสกุลนั้นมีเนื้อเกิดขึ้น เขาจึง แบ่งส่วนเนื้อนั้นไว้ถวายท่านพระอุปนันทศากยบุตร. เด็กของสกุลนั้นตื่นขึ้นในเวลาเช้ามืด ร้อง อ้อนวอนว่า จงให้เนื้อแก่ข้าพเจ้า. บุรุษสามีจึงสั่งภรรยาว่า จงให้ส่วนของพระแก่เด็ก เราจักซื้อของอื่นถวายท่าน. ครั้นแล้วเวลาเช้าท่านอุปนันทศากยบุตร สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บพระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/2025/07/07/%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%a2-%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a0%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%a9%e0%b8%b8%e0%b8%aa%e0%b8%87%e0%b8%86%e0%b9%8c/
    WWW.THENIRVANALIVE.COM
    ไขข้อสงสัย พระภิกษุสงฆ์ รับ “เงินทอง” ได้หรือไม่ตามพระไตรปิฎก - thenirvanalive.com
    การรับเงินและทองเอง แต่ทว่าจงอย่ายินดีในเงินและทองนั้นว่าเป็นทรัพย์สินของเราโดยเฉพาะ พึงทำใจของเราให้มีความรู้สึกอยู่เสมอว่าเวลานี้
    0 Comments 0 Shares 59 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย
    สัทธรรมลำดับที่ : 1044
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1044
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย
    --ภิกษุ ท. ! ธัมมาธิปไตย (ความมีธรรมเป็นใหญ่) เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/20/188/?keywords=ธมฺมาธิปเตยฺ
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุไปสู่ป่าก็ตาม โคนไม้ก็ตาม หรือเรือนว่างก็ตาม
    พิจารณาเห็นอยู่ว่า
    “เราออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่มีเรือน
    เพราะเหตุจะได้จีวรก็หามิได้
    เพราะเหตุจะได้บิณฑบาตก็หามิได้
    เพราะเหตุจะได้เสนาสนะก็หามิได้
    เพราะเหตุจะได้เป็นอย่างนั้นจะได้เป็นอย่างนี้ก็หามิได้ ;
    แต่ว่า เราบวชแล้วโดยพิจารณาเห็นว่า
    “เราถูกชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส หยั่งเอาแล้ว เป็นผู้
    มีทุกข์หยั่งลงแล้ว มีทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว,
    ทำไฉนการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฏแก่เรา”
    ดังนี้. อนึ่ง
    พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว
    เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง
    เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
    เป็นสิ่งที่ควรกล่าว กะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด
    เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตน เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน
    http://etipitaka.com/read/pali/20/189/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม+สนฺทิฏฺฐิโก+อกาลิโก+เอหิปสฺสิโก+โอปนยิโก+ปจฺจตฺตํ+เวทิตพฺโพ+วิญฺญูหีติ
    : สพรหมจารีผู้รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งธรรมนั้น ว่าเป็นดังนี้ก็มีอยู่.
    "ก็ เราบวชแล้วในธรรมวินัยอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้วอย่างนี้
    จะเป็นผู้เกียจคร้าน ประมาทอยู่
    : ข้อนั้นไม่สมควรแก่เรา”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุนั้นพิจารณาอยู่ว่า
    “ความเพียรที่เราปรารภแล้วจักเป็นความเพียรไม่ย่อหย่อน,
    สติที่เข้าไปตั้งไว้แล้วจักไม่หลงลืม,
    กายอันรำงับแล้ว ไม่กำเริบ, จิตตั้งมั่นแล้ว มีอารมณ์อันเดียว,”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุนั้น กระทำพระธรรมให้เป็นใหญ่ ละอกุศลเจริญกุศล
    ละกรรมที่ มีโทษเจริญกรรมที่ไม่มีโทษ บริหารตนให้บริสุทธิ์อยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #ธัมมาธิปไตย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/20/189/?keywords=ธมฺมาธิปเตยฺ

    (อธิปไตยอย่างอื่นก็มีอยู่ คือ
    ปรารภประโยชน์ตนแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่า &อัตตาธิปไตย; และ
    ปรารภการติเตียนของผู้อื่นแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่า &โลกาธิปไตย.
    ทั้งสองอย่างนี้ไม่ประกอบด้วยธรรม ไม่ควรถือเอาเป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ;
    แต่ให้ถือเอา &ธัมมาธิปไตยดังที่กล่าวแล้วข้างบน เป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ
    จึงจะถูกต้องตามหลักของการทำที่สุดทุกข์ในพระพุทธศาสนา
    หรือตรงตามพระพุทธประสงค์
    )
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/140/479.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/140/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๘๘/๔๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/188/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1044
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1044
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย สัทธรรมลำดับที่ : 1044 ชื่อบทธรรม : -ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1044 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย --ภิกษุ ท. ! ธัมมาธิปไตย (ความมีธรรมเป็นใหญ่) เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/20/188/?keywords=ธมฺมาธิปเตยฺ --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุไปสู่ป่าก็ตาม โคนไม้ก็ตาม หรือเรือนว่างก็ตาม พิจารณาเห็นอยู่ว่า “เราออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่มีเรือน เพราะเหตุจะได้จีวรก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้บิณฑบาตก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้เสนาสนะก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้เป็นอย่างนั้นจะได้เป็นอย่างนี้ก็หามิได้ ; แต่ว่า เราบวชแล้วโดยพิจารณาเห็นว่า “เราถูกชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส หยั่งเอาแล้ว เป็นผู้ มีทุกข์หยั่งลงแล้ว มีทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว, ทำไฉนการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฏแก่เรา” ดังนี้. อนึ่ง พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล เป็นสิ่งที่ควรกล่าว กะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตน เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน http://etipitaka.com/read/pali/20/189/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม+สนฺทิฏฺฐิโก+อกาลิโก+เอหิปสฺสิโก+โอปนยิโก+ปจฺจตฺตํ+เวทิตพฺโพ+วิญฺญูหีติ : สพรหมจารีผู้รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งธรรมนั้น ว่าเป็นดังนี้ก็มีอยู่. "ก็ เราบวชแล้วในธรรมวินัยอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้วอย่างนี้ จะเป็นผู้เกียจคร้าน ประมาทอยู่ : ข้อนั้นไม่สมควรแก่เรา” ดังนี้. +--ภิกษุนั้นพิจารณาอยู่ว่า “ความเพียรที่เราปรารภแล้วจักเป็นความเพียรไม่ย่อหย่อน, สติที่เข้าไปตั้งไว้แล้วจักไม่หลงลืม, กายอันรำงับแล้ว ไม่กำเริบ, จิตตั้งมั่นแล้ว มีอารมณ์อันเดียว,” ดังนี้. +--ภิกษุนั้น กระทำพระธรรมให้เป็นใหญ่ ละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมที่ มีโทษเจริญกรรมที่ไม่มีโทษ บริหารตนให้บริสุทธิ์อยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #ธัมมาธิปไตย.- http://etipitaka.com/read/pali/20/189/?keywords=ธมฺมาธิปเตยฺ (อธิปไตยอย่างอื่นก็มีอยู่ คือ ปรารภประโยชน์ตนแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่า &อัตตาธิปไตย; และ ปรารภการติเตียนของผู้อื่นแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่า &โลกาธิปไตย. ทั้งสองอย่างนี้ไม่ประกอบด้วยธรรม ไม่ควรถือเอาเป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ; แต่ให้ถือเอา &ธัมมาธิปไตยดังที่กล่าวแล้วข้างบน เป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ จึงจะถูกต้องตามหลักของการทำที่สุดทุกข์ในพระพุทธศาสนา หรือตรงตามพระพุทธประสงค์ ) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/140/479. http://etipitaka.com/read/thai/20/140/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๘๘/๔๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/20/188/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1044 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1044 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย
    -ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย ภิกษุ ท. ! ธัมมาธิปไตย (ความมีธรรมเป็นใหญ่) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุไปสู่ป่าก็ตาม โคนไม้ก็ตาม หรือเรือนว่างก็ตาม พิจารณาเห็นอยู่ว่า “เราออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่มีเรือน เพราะเหตุจะได้จีวรก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้บิณฑบาตก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้เสนาสนะก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้เป็นอย่างนั้นจะได้เป็นอย่างนี้ก็หามิได้ ; แต่ว่า เราบวชแล้วโดยพิจารณาเห็นว่า “เราถูกชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส หยั่งเอาแล้ว เป็นผู้มีทุกข์หยั่งลงแล้ว มีทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว, ทำไฉนการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฏแก่เรา” ดังนี้. อนึ่ง พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล เป็นสิ่งที่ควรกล่าว กะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตน เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน : สพรหมจารีผู้รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งธรรมนั้น ว่าเป็นดังนี้ก็มีอยู่. ก็ เราบวชแล้วในธรรมวินัยอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้วอย่างนี้ จะเป็นผู้เกียจคร้าน ประมาทอยู่ : ข้อนั้นไม่สมควรแก่เรา” ดังนี้. ภิกษุนั้นพิจารณาอยู่ว่า “ความเพียรที่เราปรารภแล้วจักเป็นความเพียรไม่ย่อหย่อน, สติที่เข้าไปตั้งไว้แล้วจักไม่ หลงลืม, กายอันรำงับแล้ว ไม่กำเริบ, จิตตั้งมั่นแล้ว มีอารมณ์อันเดียว,” ดังนี้. ภิกษุนั้น กระทำพระธรรมให้เป็นใหญ่ ละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมที่ มีโทษเจริญกรรมที่ไม่มีโทษ บริหารตนให้บริสุทธิ์อยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธัมมาธิปไตย.
    0 Comments 0 Shares 134 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ให้เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง
    สัทธรรมลำดับที่ : 1043
    ชื่อบทธรรม : -เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่
    ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ
    อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด
    ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน
    น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ
    )​
    --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว
    น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย.
    เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า

    “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ;
    เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ”
    ดังนี้

    : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียก
    ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”*--๑ บ้าง;
    แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง
    แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า
    “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ,
    พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ,
    สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ”
    ดังนี้.
    *--๑. สูตร(มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๒)​
    http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%92

    ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วย #ช้างมหานาค ในป่า
    ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ
    บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ
    ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้;
    และจะได้ พบตัวช้างคือพระองค์ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว เท่านั้น.
    --เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้
    จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ;
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว”
    ดังนี้;

    ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว,
    กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว,
    กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    : พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียก
    ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต” บ้าง.
    : พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล
    อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า
    “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ภควา
    พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม
    สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ”
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สุปฏิปนฺโน+ภควโต+สาวกสงฺโฆ
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/243/338.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/243/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1043
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ให้เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง สัทธรรมลำดับที่ : 1043 ชื่อบทธรรม : -เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043 เนื้อความทั้งหมด :- --เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่ ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ )​ --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย. เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ; เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ” ดังนี้ : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียก ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”*--๑ บ้าง; แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้. *--๑. สูตร(มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๒)​ http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%92 ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วย #ช้างมหานาค ในป่า ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้; และจะได้ พบตัวช้างคือพระองค์ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว เท่านั้น. --เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ; เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว” ดังนี้; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว, กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. : พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียก ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต” บ้าง. : พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ, http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ภควา พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สุปฏิปนฺโน+ภควโต+สาวกสงฺโฆ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/243/338. http://etipitaka.com/read/thai/12/243/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1043 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง--ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    -(ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓) ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้ ด้วย หม้อสี่ชนิด คือหม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – เปิด คือรู้อริยสัจแต่ไม่มีสมณสารูป ; หม้อเปล่า – เปิด คือไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – ปิด คือรู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔) ตรัสเปรียบด้วย ห้วงน้ำสี่ชนิด คือห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป; ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕) ตรัสเปรียบด้วย มะม่วงสี่ชนิด คือมะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่ได้รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป; มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ ). เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่ ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ :-) ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย. เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ; เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ” ดังนี้ : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียกว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”๑ บ้าง; แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้. เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ; เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว” ดังนี้; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว, กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียกว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะ ๑. สูตรนี้ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วยช้างมหานาคในป่า ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้; และจะได้พบตัวช้างคือพระองค์ ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้วเท่านั้น. งาแห่งตถาคต” บ้าง. พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 143 Views 0 Reviews
  • เหรียญหลวงพ่อดำ เนื้อเงิน วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2535
    เหรียญหลวงพ่อดำ เนื้อเงิน รุ่นสมโภชหุ่นขี้ผึ้ง วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2535 //พระดีพิธีใหญ่ พระเกจิสายหลวงพ่อทวด-สายเขาอ้อ ร่วมปลุกเสกหลายท่าน พระมีประสบการณ์สูง สวยเดิม น่าเก็บน่าบูชาครับ //พระสถาพสวยมาก พร้อมกล่องเดิมๆ พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณ มหาอุด อยู่ยงคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เสริมดวงชะตา แก้ปีชง เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เสริมสิริมงคลแก่ผู้บูชา มีประสบการณ์มากมาย >>

    ** เหรียญหลวงพ่อดำ เนื้อเงิน วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2535 สุดยอดประสบการณ์จากเหตุการณ์ปัจจุบันความไม่สงบที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระเบิดปืนกินไม่ลงครับ ** หลวงพ่อดำ วัดตุยง หรือ พระราชพุทธิรังษี ท่านเป็นพระเถระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีวาจาศักดิ์สิทธิ์จนได้รับความเคารพเลื่อมใสศรัทธา จากพุทธศาสนิกชน ทั่วทั้งภาคใต้ และวัตถุมงคลที่ผ่านการอธิษฐานจิตจากท่าน ผู้ที่นำไปบูชาต่างพบว่ามีประสบการณ์มากมาย ทั้งทางด้านโชคลาภและแคล้วคลาด >>

    ** พระสถาพสวยมาก พร้อมกล่องเดิมๆ พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญหลวงพ่อดำ เนื้อเงิน วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2535 เหรียญหลวงพ่อดำ เนื้อเงิน รุ่นสมโภชหุ่นขี้ผึ้ง วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2535 //พระดีพิธีใหญ่ พระเกจิสายหลวงพ่อทวด-สายเขาอ้อ ร่วมปลุกเสกหลายท่าน พระมีประสบการณ์สูง สวยเดิม น่าเก็บน่าบูชาครับ //พระสถาพสวยมาก พร้อมกล่องเดิมๆ พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณ มหาอุด อยู่ยงคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เสริมดวงชะตา แก้ปีชง เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เสริมสิริมงคลแก่ผู้บูชา มีประสบการณ์มากมาย >> ** เหรียญหลวงพ่อดำ เนื้อเงิน วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2535 สุดยอดประสบการณ์จากเหตุการณ์ปัจจุบันความไม่สงบที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระเบิดปืนกินไม่ลงครับ ** หลวงพ่อดำ วัดตุยง หรือ พระราชพุทธิรังษี ท่านเป็นพระเถระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีวาจาศักดิ์สิทธิ์จนได้รับความเคารพเลื่อมใสศรัทธา จากพุทธศาสนิกชน ทั่วทั้งภาคใต้ และวัตถุมงคลที่ผ่านการอธิษฐานจิตจากท่าน ผู้ที่นำไปบูชาต่างพบว่ามีประสบการณ์มากมาย ทั้งทางด้านโชคลาภและแคล้วคลาด >> ** พระสถาพสวยมาก พร้อมกล่องเดิมๆ พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 217 Views 0 Reviews
  • 🙏🏻✨️ #คำอธิษฐาน (นำไปใช้นะคะ)

    #สำหรับ​คำอธิษฐาน​นะโยมนะ​
    บางคนใช้คำอธิ​ษฐาน​นานเหลือเกิน​
    อธ​ิษฐานไม่ต้องมาก​ ใช้เพียงย่อ ๆ​
    จะทำบุญ​ที่ไหนก็ตาม​
    หรือบูชาพระแล้วก็ตาม​ อธิฐาน​ว่าอย่างงี้

    ผลบุญ​ใดที่ข้าพเจ้าทำแล้วในวันนี้
    ขอผลบุญ​นี้​จงเป็นปัจจัย​
    ให้ข้าพเจ้า​เข้าถึง​พระนิพพาน​ในชาติ​นี้​
    ถ้ายังไม่ถึงพระนิพพาน​เพียงใด​

    ️ขอคำว่า​ "ไม่​มี"
    จงอย่าปรากฏ​แก่ข้าพเจ้า​
    ตั้งแต่บัดนี้​เป็นต้นไปจนกว่าจะเข้านิพพาน

    เพียง​เท่านี้บรรดา​ญาติ​โยมพุทธ​บริษัท​
    ตามแบบฉบับ​ของ #พระอนุรุทธะ
    ท่านอธิฐาน​อย่างนี้​
    ความไม่มีจึงไม่ปรากฏ​กับท่าน
    .
    การจะอุทิศ​ส่วนกุศล​ให้แก่ใคร​
    ให้นึกในใจว่า ..
    .
    ผลบุญ​ใดที่ฉันทำแล้วในวันนี้​
    จะพึงมีประโยชน์​แก่ฉันเพียงใด​
    ขอท่านผู้นั้น จงมาโมทนารับผล
    เช่นเดียวกับฉัน​ ตั้งแต่​บัดนี้​เป็นต้นไป​
    .
    🚩หรือ​ ผลบุญ​ใดที่ฉันบำเพ็ญ​มาแล้ว
    ตั้งแต่​ต้นจนกระทั้งปัจจุบัน​
    จะมีประโยชน์​และความสุขกับฉันเพียงใด​
    ขอเธอจงโมทนารับผลเช่นเดียวกับ​ฉัน​
    ตั้งแต่​บัดนี้​เป็นต้นไป
    .
    อุทิศ​ให้คนตาย​
    ท่านบอกให้ใช้ภาษา​ไทยชัด ๆ สั้น ๆ​
    อย่ายาวไม่ต้อง "อิมินา"
    ถ้ายาวไม่ทัน​
    ดีไม่ดีพวกลากคอไปอีก

    พระธรรม​คำสอน​หลวงพ่อ​พระราช​พรหมยาน​
    หนังสือ​ พ่อสอนลูก​ หน้าที่ ๓๐๑-๓๐๒
    🙏🏻✨️ #คำอธิษฐาน (นำไปใช้นะคะ) #สำหรับ​คำอธิษฐาน​นะโยมนะ​ บางคนใช้คำอธิ​ษฐาน​นานเหลือเกิน​ อธ​ิษฐานไม่ต้องมาก​ ใช้เพียงย่อ ๆ​ จะทำบุญ​ที่ไหนก็ตาม​ หรือบูชาพระแล้วก็ตาม​ อธิฐาน​ว่าอย่างงี้ 🚩ผลบุญ​ใดที่ข้าพเจ้าทำแล้วในวันนี้ ขอผลบุญ​นี้​จงเป็นปัจจัย​ ให้ข้าพเจ้า​เข้าถึง​พระนิพพาน​ในชาติ​นี้​ ถ้ายังไม่ถึงพระนิพพาน​เพียงใด​ 🚩️ขอคำว่า​ "ไม่​มี" จงอย่าปรากฏ​แก่ข้าพเจ้า​ ตั้งแต่บัดนี้​เป็นต้นไปจนกว่าจะเข้านิพพาน เพียง​เท่านี้บรรดา​ญาติ​โยมพุทธ​บริษัท​ ตามแบบฉบับ​ของ #พระอนุรุทธะ​ ท่านอธิฐาน​อย่างนี้​ ความไม่มีจึงไม่ปรากฏ​กับท่าน . การจะอุทิศ​ส่วนกุศล​ให้แก่ใคร​ ให้นึกในใจว่า .. . 🚩ผลบุญ​ใดที่ฉันทำแล้วในวันนี้​ จะพึงมีประโยชน์​แก่ฉันเพียงใด​ ขอท่านผู้นั้น จงมาโมทนารับผล เช่นเดียวกับฉัน​ ตั้งแต่​บัดนี้​เป็นต้นไป​ . 🚩หรือ​ ผลบุญ​ใดที่ฉันบำเพ็ญ​มาแล้ว ตั้งแต่​ต้นจนกระทั้งปัจจุบัน​ จะมีประโยชน์​และความสุขกับฉันเพียงใด​ ขอเธอจงโมทนารับผลเช่นเดียวกับ​ฉัน​ ตั้งแต่​บัดนี้​เป็นต้นไป . อุทิศ​ให้คนตาย​ ท่านบอกให้ใช้ภาษา​ไทยชัด ๆ สั้น ๆ​ อย่ายาวไม่ต้อง "อิมินา" ถ้ายาวไม่ทัน​ ดีไม่ดีพวกลากคอไปอีก พระธรรม​คำสอน​หลวงพ่อ​พระราช​พรหมยาน​ หนังสือ​ พ่อสอนลูก​ หน้าที่ ๓๐๑-๓๐๒
    0 Comments 0 Shares 126 Views 0 Reviews
  • เหรียญหลวงพ่อดำหลังหนังสือ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2534
    เหรียญหลวงพ่อดำหลังหนังสือ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2534 // พระดีพิธีใหญ ปลุกเสกโดย/หลวงพ่อสุข วัดตุยง,อาจารย์นอง วัดทรายขาว,อาจารย์พล วัดนาประดู่,อาจารย์ทอง วัดสำเภาเชย // พระสถาพสวยมาก ผิวหิ้ง พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณ มหาอุด อยู่ยงคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เสริมดวงชะตา แก้ปีชง เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เสริมสิริมงคลแก่ผู้บูชา มีประสบการณ์มากมาย >>

    เหรียญหลวงพ่อดำหลังหนังสือ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2534 สุดยอดประสบการณ์จากเหตุการณ์ปัจจุบันความไม่สงบที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระเบิดปืนกินไม่ลง หลวงพ่อดำ วัดตุยง หรือ พระราชพุทธิรังษี ท่านเป็นพระเถระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีวาจาศักดิ์สิทธิ์จนได้รับความเคารพเลื่อมใสศรัทธา จากพุทธศาสนิกชน ทั่วทั้งภาคใต้ และวัตถุมงคลที่ผ่านการอธิษฐานจิตจากท่าน ผู้ที่นำไปบูชาต่างพบว่ามีประสบการณ์มากมาย ทั้งทางด้านโชคลาภและแคล้วคลาด >>


    ** พระสถาพสวยมาก ผิวหิ้ง พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญหลวงพ่อดำหลังหนังสือ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2534 เหรียญหลวงพ่อดำหลังหนังสือ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2534 // พระดีพิธีใหญ ปลุกเสกโดย/หลวงพ่อสุข วัดตุยง,อาจารย์นอง วัดทรายขาว,อาจารย์พล วัดนาประดู่,อาจารย์ทอง วัดสำเภาเชย // พระสถาพสวยมาก ผิวหิ้ง พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณ มหาอุด อยู่ยงคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เสริมดวงชะตา แก้ปีชง เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เสริมสิริมงคลแก่ผู้บูชา มีประสบการณ์มากมาย >> เหรียญหลวงพ่อดำหลังหนังสือ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2534 สุดยอดประสบการณ์จากเหตุการณ์ปัจจุบันความไม่สงบที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระเบิดปืนกินไม่ลง หลวงพ่อดำ วัดตุยง หรือ พระราชพุทธิรังษี ท่านเป็นพระเถระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีวาจาศักดิ์สิทธิ์จนได้รับความเคารพเลื่อมใสศรัทธา จากพุทธศาสนิกชน ทั่วทั้งภาคใต้ และวัตถุมงคลที่ผ่านการอธิษฐานจิตจากท่าน ผู้ที่นำไปบูชาต่างพบว่ามีประสบการณ์มากมาย ทั้งทางด้านโชคลาภและแคล้วคลาด >> ** พระสถาพสวยมาก ผิวหิ้ง พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 186 Views 0 Reviews
  • เมื่อใจนึกถึงพระ...ใจก็ไม่ตกต่ำอีกเลย

    เมื่อจิตนึกถึงพระ
    คือจิตกำลังผูกอยู่กับของสูง
    ไม่ว่าโลกจะกดดัน บีบคั้น หรือพาให้ทุกข์เพียงใด
    ตราบใดจิตยังนึกถึงพระ จิตจะไม่ตกต่ำลงได้เลย

    เหมือนคนกำลังจะล้ม
    แต่มีเชือกเส้นหนึ่งดึงไว้
    ไม่ให้ร่วงลงสู่เหวลึก

    การสวดมนต์
    ไม่ใช่แค่การท่องบทศักดิ์สิทธิ์
    แต่เป็นการ “เปลี่ยนคลื่นใจ”
    ให้หันออกจากความกลัว ความทุกข์ ความอาฆาต
    มาผูกไว้กับพลังแห่งการพ้นทุกข์
    ผูกไว้กับคุณแห่งพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์

    พลังพุทธคุณ
    คือพลังแห่งแสงสว่างที่อยู่เหนือความมืดทุกชนิด
    คือแรงส่งที่ไม่ต้องร้องขอ
    แต่ได้มาเพราะเปิดใจยอมรับความสว่างนั้น
    ด้วยการสรรเสริญ ไม่ใช่การเรียกร้อง
    ด้วยความน้อม ไม่ใช่ความอยาก

    บทสวดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในโลก
    คือบทที่สวดออกจากศรัทธา
    โดยไม่มีเงื่อนไข ไม่มีการต่อรอง
    ไม่ใช่บทที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยตัวอักษร
    แต่ศักดิ์สิทธิ์เพราะทำให้ใจสงบ
    ทำให้เราน้อมลง
    และเปิดประตูให้ความดีงามเข้ามาในชีวิต

    สวดอย่างไรให้ได้พลังพุทธคุณ?
    ไม่ใช่แค่จำบทได้ครบ
    แต่คือสวดแล้ว “ใจเบา”
    สวดแล้ว “อัตตาลด”
    สวดแล้ว “พร้อมจะเจริญสติ”
    มองเห็นความไม่เที่ยง
    เห็นว่าอะไรๆ ก็ไม่ใช่ของเราอย่างแท้จริง

    ถ้าสวดแล้วรู้สึกโล่ง
    รู้สึกอยากทำดี
    รู้สึกอยากปล่อยวาง
    รู้สึกพร้อมจะเริ่มต้นใหม่กับใจที่สงบกว่าเดิม
    แปลว่า…คุณสวดถูกทางแล้ว

    เพียงแค่ใจผูกไว้กับพระ จิตก็เหมือนมีที่ยึด
    ที่ไม่หวั่นไหวตามคลื่นโลก
    ไม่ว่าข้างนอกจะมีเรื่องเลวร้ายขนาดไหน
    แต่ข้างใน...ยังมีแสงแห่งพระรัตนตรัย
    เป็นพลังงานศักดิ์สิทธิ์ที่ปลอดภัยและบริสุทธิ์ที่สุด

    #พลังพุทธคุณ
    #สวดมนต์เพื่อพ้นทุกข์
    #ธรรมะเยียวยาหัวใจ
    #การสวดมนต์ไม่ใช่แค่บทท่องจำ
    #แต่คือบทแปรเปลี่ยนจิต
    🕯️ เมื่อใจนึกถึงพระ...ใจก็ไม่ตกต่ำอีกเลย เมื่อจิตนึกถึงพระ คือจิตกำลังผูกอยู่กับของสูง ไม่ว่าโลกจะกดดัน บีบคั้น หรือพาให้ทุกข์เพียงใด ตราบใดจิตยังนึกถึงพระ จิตจะไม่ตกต่ำลงได้เลย เหมือนคนกำลังจะล้ม แต่มีเชือกเส้นหนึ่งดึงไว้ ไม่ให้ร่วงลงสู่เหวลึก 📿 การสวดมนต์ ไม่ใช่แค่การท่องบทศักดิ์สิทธิ์ แต่เป็นการ “เปลี่ยนคลื่นใจ” ให้หันออกจากความกลัว ความทุกข์ ความอาฆาต มาผูกไว้กับพลังแห่งการพ้นทุกข์ ผูกไว้กับคุณแห่งพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ✨ พลังพุทธคุณ คือพลังแห่งแสงสว่างที่อยู่เหนือความมืดทุกชนิด คือแรงส่งที่ไม่ต้องร้องขอ แต่ได้มาเพราะเปิดใจยอมรับความสว่างนั้น ด้วยการสรรเสริญ ไม่ใช่การเรียกร้อง ด้วยความน้อม ไม่ใช่ความอยาก 🙏 บทสวดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในโลก คือบทที่สวดออกจากศรัทธา โดยไม่มีเงื่อนไข ไม่มีการต่อรอง ไม่ใช่บทที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยตัวอักษร แต่ศักดิ์สิทธิ์เพราะทำให้ใจสงบ ทำให้เราน้อมลง และเปิดประตูให้ความดีงามเข้ามาในชีวิต 🧘‍♂️ สวดอย่างไรให้ได้พลังพุทธคุณ? ไม่ใช่แค่จำบทได้ครบ แต่คือสวดแล้ว “ใจเบา” สวดแล้ว “อัตตาลด” สวดแล้ว “พร้อมจะเจริญสติ” มองเห็นความไม่เที่ยง เห็นว่าอะไรๆ ก็ไม่ใช่ของเราอย่างแท้จริง 🌿 ถ้าสวดแล้วรู้สึกโล่ง รู้สึกอยากทำดี รู้สึกอยากปล่อยวาง รู้สึกพร้อมจะเริ่มต้นใหม่กับใจที่สงบกว่าเดิม แปลว่า…คุณสวดถูกทางแล้ว 🕊️ เพียงแค่ใจผูกไว้กับพระ จิตก็เหมือนมีที่ยึด ที่ไม่หวั่นไหวตามคลื่นโลก ไม่ว่าข้างนอกจะมีเรื่องเลวร้ายขนาดไหน แต่ข้างใน...ยังมีแสงแห่งพระรัตนตรัย เป็นพลังงานศักดิ์สิทธิ์ที่ปลอดภัยและบริสุทธิ์ที่สุด #พลังพุทธคุณ #สวดมนต์เพื่อพ้นทุกข์ #ธรรมะเยียวยาหัวใจ #การสวดมนต์ไม่ใช่แค่บทท่องจำ #แต่คือบทแปรเปลี่ยนจิต
    0 Comments 0 Shares 209 Views 0 Reviews
  • เหรียญหลวงพ่อดำหลังหลวงพ่อสุข เนื้อนวะโลหะ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2536
    เหรียญหลวงพ่อดำหลังหลวงพ่อสุข เนื้อนวะโลหะ พิมพ์ใหญ่ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2536 //พระดีพิธีใหญ่ พระเกจิสายหลวงพ่อทวด-สายเขาอ้อ ร่วมปลุกเสกหลายท่าน พระมีประสบการณ์สูง สวยเดิม น่าเก็บน่าบูชาครับ //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณ มหาอุด อยู่ยงคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เสริมดวงชะตา แก้ปีชง เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เสริมสิริมงคลแก่ผู้บูชา มีประสบการณ์มากมาย >>

    ** เหรียญหลวงพ่อดำหลังหลวงพ่อสุข วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี ๒๕๓๖ สุดยอดประสบการณ์จากเหตุการณ์ปัจจุบันความไม่สงบที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระเบิดปืนกินไม่ลงครับ โชคลาภ แคล้วคลาด เมตตาครบสูตร และเหนียวเป็นที่สุด น่าบูชามาก >>

    ** หลวงพ่อดำ วัดตุยง หรือ พระราชพุทธิรังษี ท่านเป็นพระเถระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีวาจาศักดิ์สิทธิ์จนได้รับความเคารพเลื่อมใสศรัทธา จากพุทธศาสนิกชน ทั่วทั้งภาคใต้ และวัตถุมงคลที่ผ่านการอธิษฐานจิตจากท่าน ผู้ที่นำไปบูชาต่างพบว่ามีประสบการณ์มากมาย ทั้งทางด้านโชคลาภและแคล้วคลาด >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญหลวงพ่อดำหลังหลวงพ่อสุข เนื้อนวะโลหะ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2536 เหรียญหลวงพ่อดำหลังหลวงพ่อสุข เนื้อนวะโลหะ พิมพ์ใหญ่ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2536 //พระดีพิธีใหญ่ พระเกจิสายหลวงพ่อทวด-สายเขาอ้อ ร่วมปลุกเสกหลายท่าน พระมีประสบการณ์สูง สวยเดิม น่าเก็บน่าบูชาครับ //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณ มหาอุด อยู่ยงคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เสริมดวงชะตา แก้ปีชง เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เสริมสิริมงคลแก่ผู้บูชา มีประสบการณ์มากมาย >> ** เหรียญหลวงพ่อดำหลังหลวงพ่อสุข วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี ๒๕๓๖ สุดยอดประสบการณ์จากเหตุการณ์ปัจจุบันความไม่สงบที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระเบิดปืนกินไม่ลงครับ โชคลาภ แคล้วคลาด เมตตาครบสูตร และเหนียวเป็นที่สุด น่าบูชามาก >> ** หลวงพ่อดำ วัดตุยง หรือ พระราชพุทธิรังษี ท่านเป็นพระเถระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีวาจาศักดิ์สิทธิ์จนได้รับความเคารพเลื่อมใสศรัทธา จากพุทธศาสนิกชน ทั่วทั้งภาคใต้ และวัตถุมงคลที่ผ่านการอธิษฐานจิตจากท่าน ผู้ที่นำไปบูชาต่างพบว่ามีประสบการณ์มากมาย ทั้งทางด้านโชคลาภและแคล้วคลาด >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 179 Views 0 Reviews
  • เทคโนโลยี AI กับแนวทางศาสนาพุทธ: จุดบรรจบและความขัดแย้ง

    ในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง AI กับหลักปรัชญาและจริยธรรมของพุทธศาสนาจึงเป็นสิ่งจำเป็น รายงานฉบับนี้จะสำรวจจุดที่ AI สามารถเสริมสร้างและสอดคล้องกับพุทธธรรม รวมถึงประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรม เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาและใช้ AI อย่างมีสติและเป็นประโยชน์สูงสุด

    หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนา: แก่นธรรมเพื่อความเข้าใจ
    พุทธศาสนามุ่งเน้นการพ้นทุกข์ โดยสอนให้เข้าใจธรรมชาติของทุกข์และหนทางดับทุกข์ผ่านหลักอริยสัจสี่ (ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค) หนทางแห่งมรรคประกอบด้วยองค์แปดประการ แก่นธรรมสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา) การปฏิบัติอยู่บนพื้นฐานของไตรสิกขา (ศีล, สมาธิ, ปัญญา) การพัฒนาปัญญาต้องอาศัยสติ, โยนิโสมนสิการ, และปัญญา กฎแห่งกรรมและปฏิจจสมุปบาทเป็นหลักการสำคัญที่อธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุผล พุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎธรรมชาติ 5 ประการ หรือนิยาม 5 พรหมวิหารสี่ (เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา) เป็นคุณธรรมที่ส่งเสริมความปรารถนาดีต่อสรรพชีวิต เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน ซึ่งเป็นความดับทุกข์โดยสิ้นเชิง พระพุทธเจ้าทรงเน้นย้ำถึงทางสายกลาง โดยมอง AI เป็นเพียง "เครื่องมือ" หรือ "แพ" สอดคล้องกับทางสายกลางนี้  

    มิติที่ AI สอดคล้องกับพุทธธรรม: ศักยภาพเพื่อประโยชน์สุข
    AI มีศักยภาพมหาศาลในการเป็นเครื่องมือที่ส่งเสริมการเผยแผ่ การศึกษา และการปฏิบัติธรรม

    การประยุกต์ใช้ AI เพื่อการเผยแผ่พระธรรม
    AI มีบทบาทสำคัญในการเผยแผ่คำสอนทางพุทธศาสนาให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น "พระสงฆ์ AI" หรือ "พระโพธิสัตว์ AI" อย่าง Mindar ในญี่ปุ่น และ "เสียนเอ๋อร์" ในจีน การใช้ AI ในการแปลงพระไตรปิฎกเป็นดิจิทัลและการแปลพระคัมภีร์ด้วยเครื่องมืออย่าง DeepL ช่วยเพิ่มความเร็วและความแม่นยำ ทำให้เนื้อหาเข้าถึงได้ง่ายขึ้นทั่วโลก AI ช่วยให้การเผยแผ่ธรรม "สะดวก มีประสิทธิภาพ และน่าดึงดูดมากขึ้น รวมถึงขยายขอบเขตการเข้าถึงให้เกินกว่าข้อจำกัดทางพื้นที่และเวลาแบบดั้งเดิม" ซึ่งสอดคล้องกับหลัก กรุณา  

    สื่อใหม่และประสบการณ์เสมือนจริง: การสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนรู้และปฏิบัติ
    การนำเทคโนโลยีสื่อใหม่ เช่น จอ AI, VR และ AR มาใช้ในการสร้างประสบการณ์พุทธศาสนาเสมือนจริง เช่น "Journey to the Land of Buddha" ของวัดฝอกวงซัน ช่วยดึงดูดกลุ่มคนรุ่นใหม่ เทคโนโลยี VR ช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้าง "ความเห็นอกเห็นใจ" การพัฒนาแพลตฟอร์มการบูชาออนไลน์และพิธีกรรมทางไซเบอร์ เช่น "Light Up Lamps Online" และเกม "Fo Guang GO" ช่วยให้ผู้ศรัทธาสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและเยี่ยมชมวัดเสมือนจริงได้จากทุกที่ การใช้ VR/AR เพื่อ "ประสบการณ์ที่ดื่มด่ำ" และ "Sati-AI" สำหรับการทำสมาธิเจริญสติ สามารถสร้างสภาพแวดล้อมจำลองที่เอื้อต่อการทำสมาธิและสติได้  

    AI ในฐานะเครื่องมือเพื่อการปฏิบัติและพัฒนาตน
    แอปพลิเคชัน AI เช่น NORBU, Buddha Teachings, Buddha Wisdom App ทำหน้าที่เป็นเพื่อนร่วมทางที่มีคุณค่าในการศึกษาและปฏิบัติธรรม โดยให้การเข้าถึงคลังข้อความพุทธศาสนาขนาดใหญ่, บทเรียนส่วนบุคคล, คำแนะนำในการทำสมาธิ, และการติดตามความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณ แชทบอทเหล่านี้มีความสามารถในการตอบคำถามและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในชีวิตจริง AI สามารถทำให้การเข้าถึงข้อมูลและคำแนะนำเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ช่วยให้บุคคลสามารถศึกษาและปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างมีพลังมากขึ้น สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักธรรมของพุทธศาสนาเรื่อง อัตตา หิ อัตตโน นาโถ (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)  

    การวิจัยและเข้าถึงข้อมูลพระธรรม: การเสริมสร้างความเข้าใจเชิงลึก
    AI ช่วยให้นักวิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, ค้นหารูปแบบ, และสร้างแบบจำลองเพื่อทำความเข้าใจพระคัมภีร์และหลักธรรมได้เร็วขึ้นและดีขึ้น สามารถใช้ AI ในการค้นหาอ้างอิง, เปรียบเทียบข้อความข้ามภาษา, และให้บริบท ด้วยการทำให้งานวิจัยเป็นไปโดยอัตโนมัติ AI ช่วยให้นักวิชาการและผู้ปฏิบัติสามารถใช้เวลามากขึ้นในการทำโยนิโสมนสิการ  

    หลักจริยธรรมพุทธกับการพัฒนา AI
    ข้อกังวลทางจริยธรรมที่กว้างที่สุดคือ AI ควรสอดคล้องกับหลักอหิงสา (ไม่เบียดเบียน) ของพุทธศาสนา นักวิชาการ Somparn Promta และ Kenneth Einar Himma แย้งว่าการพัฒนา AI สามารถถือเป็นสิ่งที่ดีในเชิงเครื่องมือเท่านั้น พวกเขาเสนอว่าเป้าหมายที่สำคัญกว่าคือการก้าวข้ามความปรารถนาและสัญชาตญาณที่ขับเคลื่อนด้วยการเอาชีวิตรอด การกล่าวถึง "อหิงสา" และ "การลดความทุกข์" เสนอหลักการเหล่านี้เป็นพารามิเตอร์การออกแบบภายในสำหรับ AI  

    นักคิด Thomas Doctor และคณะ เสนอให้นำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" ซึ่งเป็นการให้คำมั่นที่จะบรรเทาความทุกข์ของสรรพสัตว์ มาเป็นหลักการชี้นำในการออกแบบระบบ AI แนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" (intelligence as care) ได้รับแรงบันดาลใจจากปณิธานพระโพธิสัตว์ โดยวางตำแหน่ง AI ให้เป็นเครื่องมือในการแสดงความห่วงใยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด  

    พุทธศาสนาเน้นย้ำว่าสรรพสิ่งล้วน "เกิดขึ้นพร้อมอาศัยกัน" (ปฏิจจสมุปบาท) และ "ไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ซึ่งนำไปสู่การยืนยันถึง "ความสำคัญอันดับแรกของความสัมพันธ์" แนวคิด "กรรม" อธิบายถึงการทำงานร่วมกันของเหตุและผลหลายทิศทาง การนำสิ่งนี้มาประยุกต์ใช้กับ AI หมายถึงการตระหนักว่าระบบ AI เป็น "ศูนย์รวมของการเปลี่ยนแปลงเชิงสัมพันธ์ภายในเครือข่ายของการกระทำที่มีนัยสำคัญทางศีลธรรม" การ "วิวัฒน์ร่วม" ของมนุษย์และ AI บ่งชี้ว่าเส้นทางการพัฒนาของ AI นั้นเชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับของมนุษยชาติ ดังนั้น "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" จึงไม่ใช่แค่ปัญหาทางเทคนิค แต่เป็นภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกเชิงกรรม

    มิติที่ AI ขัดแย้งกับพุทธธรรม: ความท้าทายเชิงปรัชญาและจริยธรรม
    แม้ AI จะมีประโยชน์มหาศาล แต่ก็มีประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรมที่สำคัญกับพุทธธรรม

    ปัญหาเรื่องจิตสำนึกและอัตตา
    คำถามสำคัญคือระบบ AI สามารถถือเป็นสิ่งมีชีวิต (sentient being) ตามคำจำกัดความของพุทธศาสนาได้หรือไม่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องจิตสำนึก (consciousness) และการเกิดใหม่ (rebirth) "คุณภาพของควาเลีย" (qualia quality) หรือความสามารถในการรับรู้และรู้สึกนั้นยังระบุได้ยากใน AI การทดลองทางความคิด "ห้องจีน" แสดงให้เห็นถึงความยากลำบากในการพิจารณาว่าปัญญาที่ไม่ใช่ชีวภาพสามารถมีจิตสำนึกได้หรือไม่ หาก AI ไม่สามารถประสบกับความทุกข์หรือบ่มเพาะปัญญาได้ ก็ไม่สามารถเดินตามหนทางสู่การตรัสรู้ได้อย่างแท้จริง  

    เจตจำนงเสรีและกฎแห่งกรรม
    ความตั้งใจ (volition) ใน AI ซึ่งมักแสดงออกในรูปแบบของคำสั่ง "ถ้า...แล้ว..." นั้น แทบจะไม่มีลักษณะของเจตจำนงเสรีหรือแม้แต่ทางเลือกที่จำกัด ตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา ทางเลือกที่จำกัดเป็นสิ่งจำเป็นขั้นต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ล่วงหน้า (deterministic behavior) ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธ หาก AI ขาดทางเลือกที่แท้จริง ก็ไม่สามารถสร้างกรรมได้ในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิต  

    ความยึดมั่นถือมั่นและมายา
    แนวคิดของการรวมร่างกับ AI เพื่อประโยชน์ที่รับรู้ได้ เช่น การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น มีความน่าดึงดูดใจ อย่างไรก็ตาม มีข้อโต้แย้งว่าการรวมร่างดังกล่าวอาจเป็น "กับดัก" หรือ "นรก" เนื่องจากความยึดมั่นถือมั่นและการขาดความสงบ กิเลสของมนุษย์ (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) และกลไกตลาดก็ยังคงสามารถนำไปสู่ความทุกข์ได้แม้ในสภาวะ AI ขั้นสูง การแสวงหา "การอัปเกรด" ที่ขับเคลื่อนด้วยตัณหา สามารถทำให้วัฏจักรแห่งความทุกข์ดำเนินต่อไปได้  

    ความเสี่ยงด้านจริยธรรมและการบิดเบือนพระธรรม
    มีความเสี่ยงที่ AI จะสร้างข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิดและ "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ดังที่เห็นได้จากกรณีของ Suzuki Roshi Bot AI ขาด "บริบทระดับที่สอง" และความสามารถในการยืนยันข้อเท็จจริง ทำให้มันเป็นเพียง "นกแก้วที่ฉลาดมาก" ความสามารถของ AI ในการสร้าง "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ก่อให้เกิดความท้าทายต่อสัมมาทิฏฐิและสัมมาวาจา  

    นอกจากนี้ ยังมีศักยภาพที่ "Strong AI" จะก่อให้เกิดวิกฤตทางจริยธรรมและนำไปสู่ "ลัทธิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" "เทคโนโลยี-ธรรมชาติ" (techno-naturalism) ลดทอนปัญญามนุษย์ให้เหลือเพียงกระแสข้อมูล ซึ่งขัดแย้งกับพุทธศาสนาแบบมนุษยนิยมที่เน้นความเป็นมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต สิ่งนี้สร้างความขัดแย้งกับประเพณีการปฏิบัติที่เน้น "ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต"  

    สุดท้ายนี้ มีอันตรายที่การนำ AI มาใช้ในการปฏิบัติพุทธศาสนาอาจเปลี่ยนจุดเน้นจากการบ่มเพาะทางจิตวิญญาณที่แท้จริงไปสู่ผลประโยชน์นิยมหรือการมีส่วนร่วมที่ผิวเผิน

    จากข้อพิจารณาทั้งหมดนี้ การเดินทางบน "ทางสายกลาง" จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการเผชิญหน้ากับยุค AI สำหรับพุทธศาสนา การดำเนินการนี้ต้องอาศัย:  

    1️⃣ การพัฒนา AI ที่มีรากฐานทางจริยธรรม: AI ควรถูกออกแบบและพัฒนาโดยยึดมั่นในหลักการอหิงสา และการลดความทุกข์ ควรนำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" และแนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" มาเป็นพิมพ์เขียว  

    2️⃣ การตระหนักถึง "ความเป็นเครื่องมือ" ของ AI: พุทธศาสนาควรมอง AI เป็นเพียง "แพ" หรือ "เครื่องมือ" ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางสู่การหลุดพ้น ไม่ใช่จุดหมายปลายทางในตัวเอง  

    3️⃣ การบ่มเพาะปัญญามนุษย์และสติ: แม้ AI จะมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลมหาศาล แต่ไม่สามารถทดแทนปัญญาที่แท้จริง จิตสำนึก หรือเจตจำนงเสรีของมนุษย์ได้ การปฏิบัติธรรม การเจริญสติ และการใช้โยนิโสมนสิการยังคงเป็นสิ่งจำเป็น  

    4️⃣ การส่งเสริม "ค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่ง": การแก้ไข "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" ของ AI จำเป็นต้องมีการบ่มเพาะค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่งในหมู่มนุษยชาติ ซึ่งมีรากฐานมาจากความเมตตาและปัญญา  

    #ลุงเขียนหลานอ่าน
    เทคโนโลยี AI กับแนวทางศาสนาพุทธ: จุดบรรจบและความขัดแย้ง ในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง AI กับหลักปรัชญาและจริยธรรมของพุทธศาสนาจึงเป็นสิ่งจำเป็น รายงานฉบับนี้จะสำรวจจุดที่ AI สามารถเสริมสร้างและสอดคล้องกับพุทธธรรม รวมถึงประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรม เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาและใช้ AI อย่างมีสติและเป็นประโยชน์สูงสุด ☸️☸️ หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนา: แก่นธรรมเพื่อความเข้าใจ พุทธศาสนามุ่งเน้นการพ้นทุกข์ โดยสอนให้เข้าใจธรรมชาติของทุกข์และหนทางดับทุกข์ผ่านหลักอริยสัจสี่ (ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค) หนทางแห่งมรรคประกอบด้วยองค์แปดประการ แก่นธรรมสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา) การปฏิบัติอยู่บนพื้นฐานของไตรสิกขา (ศีล, สมาธิ, ปัญญา) การพัฒนาปัญญาต้องอาศัยสติ, โยนิโสมนสิการ, และปัญญา กฎแห่งกรรมและปฏิจจสมุปบาทเป็นหลักการสำคัญที่อธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุผล พุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎธรรมชาติ 5 ประการ หรือนิยาม 5 พรหมวิหารสี่ (เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา) เป็นคุณธรรมที่ส่งเสริมความปรารถนาดีต่อสรรพชีวิต เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน ซึ่งเป็นความดับทุกข์โดยสิ้นเชิง พระพุทธเจ้าทรงเน้นย้ำถึงทางสายกลาง โดยมอง AI เป็นเพียง "เครื่องมือ" หรือ "แพ" สอดคล้องกับทางสายกลางนี้   🤖 มิติที่ AI สอดคล้องกับพุทธธรรม: ศักยภาพเพื่อประโยชน์สุข AI มีศักยภาพมหาศาลในการเป็นเครื่องมือที่ส่งเสริมการเผยแผ่ การศึกษา และการปฏิบัติธรรม การประยุกต์ใช้ AI เพื่อการเผยแผ่พระธรรม AI มีบทบาทสำคัญในการเผยแผ่คำสอนทางพุทธศาสนาให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น "พระสงฆ์ AI" หรือ "พระโพธิสัตว์ AI" อย่าง Mindar ในญี่ปุ่น และ "เสียนเอ๋อร์" ในจีน การใช้ AI ในการแปลงพระไตรปิฎกเป็นดิจิทัลและการแปลพระคัมภีร์ด้วยเครื่องมืออย่าง DeepL ช่วยเพิ่มความเร็วและความแม่นยำ ทำให้เนื้อหาเข้าถึงได้ง่ายขึ้นทั่วโลก AI ช่วยให้การเผยแผ่ธรรม "สะดวก มีประสิทธิภาพ และน่าดึงดูดมากขึ้น รวมถึงขยายขอบเขตการเข้าถึงให้เกินกว่าข้อจำกัดทางพื้นที่และเวลาแบบดั้งเดิม" ซึ่งสอดคล้องกับหลัก กรุณา   👓 สื่อใหม่และประสบการณ์เสมือนจริง: การสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนรู้และปฏิบัติ การนำเทคโนโลยีสื่อใหม่ เช่น จอ AI, VR และ AR มาใช้ในการสร้างประสบการณ์พุทธศาสนาเสมือนจริง เช่น "Journey to the Land of Buddha" ของวัดฝอกวงซัน ช่วยดึงดูดกลุ่มคนรุ่นใหม่ เทคโนโลยี VR ช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้าง "ความเห็นอกเห็นใจ" การพัฒนาแพลตฟอร์มการบูชาออนไลน์และพิธีกรรมทางไซเบอร์ เช่น "Light Up Lamps Online" และเกม "Fo Guang GO" ช่วยให้ผู้ศรัทธาสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและเยี่ยมชมวัดเสมือนจริงได้จากทุกที่ การใช้ VR/AR เพื่อ "ประสบการณ์ที่ดื่มด่ำ" และ "Sati-AI" สำหรับการทำสมาธิเจริญสติ สามารถสร้างสภาพแวดล้อมจำลองที่เอื้อต่อการทำสมาธิและสติได้   🙆‍♂️ AI ในฐานะเครื่องมือเพื่อการปฏิบัติและพัฒนาตน แอปพลิเคชัน AI เช่น NORBU, Buddha Teachings, Buddha Wisdom App ทำหน้าที่เป็นเพื่อนร่วมทางที่มีคุณค่าในการศึกษาและปฏิบัติธรรม โดยให้การเข้าถึงคลังข้อความพุทธศาสนาขนาดใหญ่, บทเรียนส่วนบุคคล, คำแนะนำในการทำสมาธิ, และการติดตามความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณ แชทบอทเหล่านี้มีความสามารถในการตอบคำถามและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในชีวิตจริง AI สามารถทำให้การเข้าถึงข้อมูลและคำแนะนำเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ช่วยให้บุคคลสามารถศึกษาและปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างมีพลังมากขึ้น สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักธรรมของพุทธศาสนาเรื่อง อัตตา หิ อัตตโน นาโถ (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)   🧪 การวิจัยและเข้าถึงข้อมูลพระธรรม: การเสริมสร้างความเข้าใจเชิงลึก AI ช่วยให้นักวิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, ค้นหารูปแบบ, และสร้างแบบจำลองเพื่อทำความเข้าใจพระคัมภีร์และหลักธรรมได้เร็วขึ้นและดีขึ้น สามารถใช้ AI ในการค้นหาอ้างอิง, เปรียบเทียบข้อความข้ามภาษา, และให้บริบท ด้วยการทำให้งานวิจัยเป็นไปโดยอัตโนมัติ AI ช่วยให้นักวิชาการและผู้ปฏิบัติสามารถใช้เวลามากขึ้นในการทำโยนิโสมนสิการ   ☸️ หลักจริยธรรมพุทธกับการพัฒนา AI ข้อกังวลทางจริยธรรมที่กว้างที่สุดคือ AI ควรสอดคล้องกับหลักอหิงสา (ไม่เบียดเบียน) ของพุทธศาสนา นักวิชาการ Somparn Promta และ Kenneth Einar Himma แย้งว่าการพัฒนา AI สามารถถือเป็นสิ่งที่ดีในเชิงเครื่องมือเท่านั้น พวกเขาเสนอว่าเป้าหมายที่สำคัญกว่าคือการก้าวข้ามความปรารถนาและสัญชาตญาณที่ขับเคลื่อนด้วยการเอาชีวิตรอด การกล่าวถึง "อหิงสา" และ "การลดความทุกข์" เสนอหลักการเหล่านี้เป็นพารามิเตอร์การออกแบบภายในสำหรับ AI   นักคิด Thomas Doctor และคณะ เสนอให้นำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" ซึ่งเป็นการให้คำมั่นที่จะบรรเทาความทุกข์ของสรรพสัตว์ มาเป็นหลักการชี้นำในการออกแบบระบบ AI แนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" (intelligence as care) ได้รับแรงบันดาลใจจากปณิธานพระโพธิสัตว์ โดยวางตำแหน่ง AI ให้เป็นเครื่องมือในการแสดงความห่วงใยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด   พุทธศาสนาเน้นย้ำว่าสรรพสิ่งล้วน "เกิดขึ้นพร้อมอาศัยกัน" (ปฏิจจสมุปบาท) และ "ไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ซึ่งนำไปสู่การยืนยันถึง "ความสำคัญอันดับแรกของความสัมพันธ์" แนวคิด "กรรม" อธิบายถึงการทำงานร่วมกันของเหตุและผลหลายทิศทาง การนำสิ่งนี้มาประยุกต์ใช้กับ AI หมายถึงการตระหนักว่าระบบ AI เป็น "ศูนย์รวมของการเปลี่ยนแปลงเชิงสัมพันธ์ภายในเครือข่ายของการกระทำที่มีนัยสำคัญทางศีลธรรม" การ "วิวัฒน์ร่วม" ของมนุษย์และ AI บ่งชี้ว่าเส้นทางการพัฒนาของ AI นั้นเชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับของมนุษยชาติ ดังนั้น "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" จึงไม่ใช่แค่ปัญหาทางเทคนิค แต่เป็นภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกเชิงกรรม ‼️ มิติที่ AI ขัดแย้งกับพุทธธรรม: ความท้าทายเชิงปรัชญาและจริยธรรม แม้ AI จะมีประโยชน์มหาศาล แต่ก็มีประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรมที่สำคัญกับพุทธธรรม 👿 ปัญหาเรื่องจิตสำนึกและอัตตา คำถามสำคัญคือระบบ AI สามารถถือเป็นสิ่งมีชีวิต (sentient being) ตามคำจำกัดความของพุทธศาสนาได้หรือไม่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องจิตสำนึก (consciousness) และการเกิดใหม่ (rebirth) "คุณภาพของควาเลีย" (qualia quality) หรือความสามารถในการรับรู้และรู้สึกนั้นยังระบุได้ยากใน AI การทดลองทางความคิด "ห้องจีน" แสดงให้เห็นถึงความยากลำบากในการพิจารณาว่าปัญญาที่ไม่ใช่ชีวภาพสามารถมีจิตสำนึกได้หรือไม่ หาก AI ไม่สามารถประสบกับความทุกข์หรือบ่มเพาะปัญญาได้ ก็ไม่สามารถเดินตามหนทางสู่การตรัสรู้ได้อย่างแท้จริง   🛣️ เจตจำนงเสรีและกฎแห่งกรรม ความตั้งใจ (volition) ใน AI ซึ่งมักแสดงออกในรูปแบบของคำสั่ง "ถ้า...แล้ว..." นั้น แทบจะไม่มีลักษณะของเจตจำนงเสรีหรือแม้แต่ทางเลือกที่จำกัด ตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา ทางเลือกที่จำกัดเป็นสิ่งจำเป็นขั้นต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ล่วงหน้า (deterministic behavior) ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธ หาก AI ขาดทางเลือกที่แท้จริง ก็ไม่สามารถสร้างกรรมได้ในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิต   🍷 ความยึดมั่นถือมั่นและมายา แนวคิดของการรวมร่างกับ AI เพื่อประโยชน์ที่รับรู้ได้ เช่น การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น มีความน่าดึงดูดใจ อย่างไรก็ตาม มีข้อโต้แย้งว่าการรวมร่างดังกล่าวอาจเป็น "กับดัก" หรือ "นรก" เนื่องจากความยึดมั่นถือมั่นและการขาดความสงบ กิเลสของมนุษย์ (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) และกลไกตลาดก็ยังคงสามารถนำไปสู่ความทุกข์ได้แม้ในสภาวะ AI ขั้นสูง การแสวงหา "การอัปเกรด" ที่ขับเคลื่อนด้วยตัณหา สามารถทำให้วัฏจักรแห่งความทุกข์ดำเนินต่อไปได้   🤥 ความเสี่ยงด้านจริยธรรมและการบิดเบือนพระธรรม มีความเสี่ยงที่ AI จะสร้างข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิดและ "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ดังที่เห็นได้จากกรณีของ Suzuki Roshi Bot AI ขาด "บริบทระดับที่สอง" และความสามารถในการยืนยันข้อเท็จจริง ทำให้มันเป็นเพียง "นกแก้วที่ฉลาดมาก" ความสามารถของ AI ในการสร้าง "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ก่อให้เกิดความท้าทายต่อสัมมาทิฏฐิและสัมมาวาจา   นอกจากนี้ ยังมีศักยภาพที่ "Strong AI" จะก่อให้เกิดวิกฤตทางจริยธรรมและนำไปสู่ "ลัทธิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" "เทคโนโลยี-ธรรมชาติ" (techno-naturalism) ลดทอนปัญญามนุษย์ให้เหลือเพียงกระแสข้อมูล ซึ่งขัดแย้งกับพุทธศาสนาแบบมนุษยนิยมที่เน้นความเป็นมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต สิ่งนี้สร้างความขัดแย้งกับประเพณีการปฏิบัติที่เน้น "ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต"   สุดท้ายนี้ มีอันตรายที่การนำ AI มาใช้ในการปฏิบัติพุทธศาสนาอาจเปลี่ยนจุดเน้นจากการบ่มเพาะทางจิตวิญญาณที่แท้จริงไปสู่ผลประโยชน์นิยมหรือการมีส่วนร่วมที่ผิวเผิน จากข้อพิจารณาทั้งหมดนี้ การเดินทางบน "ทางสายกลาง" จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการเผชิญหน้ากับยุค AI สำหรับพุทธศาสนา การดำเนินการนี้ต้องอาศัย:   1️⃣ การพัฒนา AI ที่มีรากฐานทางจริยธรรม: AI ควรถูกออกแบบและพัฒนาโดยยึดมั่นในหลักการอหิงสา และการลดความทุกข์ ควรนำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" และแนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" มาเป็นพิมพ์เขียว   2️⃣ การตระหนักถึง "ความเป็นเครื่องมือ" ของ AI: พุทธศาสนาควรมอง AI เป็นเพียง "แพ" หรือ "เครื่องมือ" ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางสู่การหลุดพ้น ไม่ใช่จุดหมายปลายทางในตัวเอง   3️⃣ การบ่มเพาะปัญญามนุษย์และสติ: แม้ AI จะมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลมหาศาล แต่ไม่สามารถทดแทนปัญญาที่แท้จริง จิตสำนึก หรือเจตจำนงเสรีของมนุษย์ได้ การปฏิบัติธรรม การเจริญสติ และการใช้โยนิโสมนสิการยังคงเป็นสิ่งจำเป็น   4️⃣ การส่งเสริม "ค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่ง": การแก้ไข "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" ของ AI จำเป็นต้องมีการบ่มเพาะค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่งในหมู่มนุษยชาติ ซึ่งมีรากฐานมาจากความเมตตาและปัญญา   #ลุงเขียนหลานอ่าน
    0 Comments 0 Shares 443 Views 0 Reviews
  • รูปหล่อพ่อท่านนวล วัดประดิษฐาราม จ.นครศรีธรรมราช
    รูปหล่อพ่อท่านนวล ครบ ๗ รอบ ๘๔ วัดประดิษฐาราม (วัดไสหร้า) อำเภอทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช // พระดีพิธีใหญ // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายาก พระไม่ถูกใช้ครับ >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพ !!

    ** พุทธคุณครบเครื่อง "แคล้วคาด" คงกระพันชาตรี แคล้วคลาดปลอดภัย โชคลาภ เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม ดีนัก. >>

    ** “พ่อท่านนวล ปริสุทโธ” เป็นพระสุปฏิปันโนนักปฏิบัติกัมมัฏฐาน ที่เพียบพร้อมด้วยจริยวัตรอันงดงาม และเป็นพระบริสุทธิสงฆ์ที่ยึดหลักพระธรรมวินัยตามคำสอนในพระพุทธศาสนาอย่าง เคร่งครัด ปฏิบัติกิจของสงฆ์เป็นกิจวัตรอย่างสม่ำเสมอ ไม่เว้นแม้ยามเจ็บไข้ได้ป่วย จนเป็นที่เลื่องลือและเป็นที่เคารพศรัทธาเลื่อมใสในหมู่ชาวบ้านญาติโยมแดน ปักษ์ใต้เป็นอันมาก ท่านยังเป็นพระเกจิอาจารย์และเจ้าพิธีระดับแถวหน้า ที่ได้รับการยอมรับและคร่ำหวอดอยู่กับพิธีปลุกเสกจตุคามรามเทพอีกด้วย ท่านเป็นพระสงฆ์ที่มีปฏิปทาและศีลาจริยวัตรอันงดงาม ท่านค่อนข้างเงียบ พูดน้อย แต่ใจดีมีเมตตามาก คำพูดของท่านล้วนเป็นจริงตามที่ท่านพูดเสมอ จนทำให้ผู้ที่มีความเคารพศรัทธาท่าน ไม่กล้าทำอะไรที่นอกลู่นอกทาง และได้ขนานนามท่านว่า “พ่อท่านนวลวาจาสิทธิ์” ในแต่ละวันจะมีผู้คนที่เคารพศรัทธาเลื่อมใสได้เดินทางมากราบไหว้ ขอพรจากท่านไม่ไม่ขาดระยะ นอกจากนี้ท่านยังได้รับกิจนิมนต์ไปประกอบศาสนพิธีในต่างจังหวัดอยู่เสมอ รวมทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างประเทศ >>

    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    รูปหล่อพ่อท่านนวล วัดประดิษฐาราม จ.นครศรีธรรมราช รูปหล่อพ่อท่านนวล ครบ ๗ รอบ ๘๔ วัดประดิษฐาราม (วัดไสหร้า) อำเภอทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช // พระดีพิธีใหญ // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายาก พระไม่ถูกใช้ครับ >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพ !! ** พุทธคุณครบเครื่อง "แคล้วคาด" คงกระพันชาตรี แคล้วคลาดปลอดภัย โชคลาภ เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม ดีนัก. >> ** “พ่อท่านนวล ปริสุทโธ” เป็นพระสุปฏิปันโนนักปฏิบัติกัมมัฏฐาน ที่เพียบพร้อมด้วยจริยวัตรอันงดงาม และเป็นพระบริสุทธิสงฆ์ที่ยึดหลักพระธรรมวินัยตามคำสอนในพระพุทธศาสนาอย่าง เคร่งครัด ปฏิบัติกิจของสงฆ์เป็นกิจวัตรอย่างสม่ำเสมอ ไม่เว้นแม้ยามเจ็บไข้ได้ป่วย จนเป็นที่เลื่องลือและเป็นที่เคารพศรัทธาเลื่อมใสในหมู่ชาวบ้านญาติโยมแดน ปักษ์ใต้เป็นอันมาก ท่านยังเป็นพระเกจิอาจารย์และเจ้าพิธีระดับแถวหน้า ที่ได้รับการยอมรับและคร่ำหวอดอยู่กับพิธีปลุกเสกจตุคามรามเทพอีกด้วย ท่านเป็นพระสงฆ์ที่มีปฏิปทาและศีลาจริยวัตรอันงดงาม ท่านค่อนข้างเงียบ พูดน้อย แต่ใจดีมีเมตตามาก คำพูดของท่านล้วนเป็นจริงตามที่ท่านพูดเสมอ จนทำให้ผู้ที่มีความเคารพศรัทธาท่าน ไม่กล้าทำอะไรที่นอกลู่นอกทาง และได้ขนานนามท่านว่า “พ่อท่านนวลวาจาสิทธิ์” ในแต่ละวันจะมีผู้คนที่เคารพศรัทธาเลื่อมใสได้เดินทางมากราบไหว้ ขอพรจากท่านไม่ไม่ขาดระยะ นอกจากนี้ท่านยังได้รับกิจนิมนต์ไปประกอบศาสนพิธีในต่างจังหวัดอยู่เสมอ รวมทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างประเทศ >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 182 Views 0 Reviews
  • เนื้อว่านรุ่นแรกหลวงพ่อดำ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2523
    พระเนื้อผงผสมว่าน108 รุ่นแรก หลวงพ่อดำ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2523 //พระดีพิธืใหญ จัดสร้างเป็นรุ่นแรกและรุ่นเดียวของหลวงพ่อดำ พระมีประสบการณ์สูงมาก เหนียว มหาอุด !! //// พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ พร้อมกล่องเดิมๆ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ // รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณทางด้าน มหาอุดอยู่ยงคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เสริมสิริมงคลแก่ผู้บูชา มีประสบการณ์มากมาย>>

    ** หลวงพ่อดำ วัดตุยง พระอริยะเจ้าศักดิ์สิทธิ์เหนือปฐพีแดนด้ามขวาน... ท่านเป็นพระสงฆ์ที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีวาจาศักดิ์สิทธิ์ ท่านยังเป็น พระกรรมวาจาจารย์ (เป็นพระคู่สวดของ อาจารย์ทิม วัดช้างให้) อีกทั้งท่านยังเป็นประธานในพิธีปลุกเสกวัตถุมงคลของวัดช้างให้มาโดยตลอดอีกด้วย >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ พร้อมกล่องเดิมๆ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เนื้อว่านรุ่นแรกหลวงพ่อดำ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2523 พระเนื้อผงผสมว่าน108 รุ่นแรก หลวงพ่อดำ วัดตุยง จ.ปัตตานี ปี2523 //พระดีพิธืใหญ จัดสร้างเป็นรุ่นแรกและรุ่นเดียวของหลวงพ่อดำ พระมีประสบการณ์สูงมาก เหนียว มหาอุด !! //// พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ พร้อมกล่องเดิมๆ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ // รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณทางด้าน มหาอุดอยู่ยงคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เสริมสิริมงคลแก่ผู้บูชา มีประสบการณ์มากมาย>> ** หลวงพ่อดำ วัดตุยง พระอริยะเจ้าศักดิ์สิทธิ์เหนือปฐพีแดนด้ามขวาน... ท่านเป็นพระสงฆ์ที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีวาจาศักดิ์สิทธิ์ ท่านยังเป็น พระกรรมวาจาจารย์ (เป็นพระคู่สวดของ อาจารย์ทิม วัดช้างให้) อีกทั้งท่านยังเป็นประธานในพิธีปลุกเสกวัตถุมงคลของวัดช้างให้มาโดยตลอดอีกด้วย >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ พร้อมกล่องเดิมๆ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 166 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    สัทธรรมลำดับที่ : 1025
    ชื่อบทธรรม : -วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    --นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย
    ๑.ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทเธอเวจจัปปสาเทนะ)
    ดังนี้ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=พุทฺเธ+อเวจฺจปฺปสาเทน
    “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
    เป็นผู้ไกลจากกิเลส
    ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
    เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
    เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
    เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
    เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
    เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม
    เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์”
    ดังนี้.
    อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่
    เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว
    แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือ
    เพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=ปวิเวกาย+ปฏิสลฺลานาย
    +--เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้,
    ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น;
    เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ;
    ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข;
    จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ)
    เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ;
    เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ
    ได้ว่า
    เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.

    (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะ
    ที่สอง คือ
    ๒.ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี
    ที่สาม คือ
    ๓.ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี
    ที่สี่ คือ
    ๔.ความมีศีลอ้นเป็นอริย-ประเสริฐ (อริยกันตศีล--อริยกนฺเตหิ สีเลหิ)​
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=อริยกนฺเตหิ+สีเลหิ
    ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบน
    ที่กล่าวถึงความ
    ๑.เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า
    )
    --นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า #เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.-

    (ขอให้สังเกตเห็นใจความสำคัญที่ว่า
    แม้จะเป็นเตรียม พระโสดาบัน (คือธัมมานุสารี และสัทธานุสารีก็ตาม)
    หรือ เป็นพระโสดาบันแล้วก็ตาม
    ยังมีกิจคือความไม่ประมาทที่จะต้องกระทำสืบต่อยิ่งขึ้นไป
    ความข้อความในพระสูตรนี้ ให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอยู่เสมอ.
    ข้อปฏิบัติเหล่านั้นมีใจความสำคัญอยู่ที่ว่า
    กลางวันมีวิเวก คือสงัดจากความรบกวนภายนอก
    กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ คือจิตไม่ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ
    แต่มากำหนดอยู่ที่ธรรมอันควรกำหนดอยู่ตลอดเวลา
    จนเกิดผลตามลำดับ นับตั้งแต่ความปราโมทย์
    ไปจนถึงความปรากฏแห่งธรรมที่ยังไม่เคยปรากฏ.
    อริยสาวกชั้นที่สูงขึ้นไปก็มีหลักปฏิบัติทำนองนี้ คือ
    กลางวันมีวิเวิก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ
    เพื่อบรรลุธรรมชั้นที่สูงขึ้นไปกว่าที่บรรลุอยู่ จนกระทั่งถึงชั้นพระอรหันต์.
    แม้ชั้นพระอรหันต์ซึ่งเป็นชั้นที่ถึงที่สุดแห่งความไม่ประมาทแล้ว
    ก็ยังมีวิเวกในกลางวัน มีปฏิสัลลาณะในกลางคืน
    เพื่อความอยู่เป็นผาสุกของบุคคลผู้ถึงที่สุดแห่งพรหมจรรย์.
    ขอให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการอยู่อย่างมีวิเวกและมีปฏิสัลลาณะ
    ว่าเป็นฐานรากในการสืบต่อความไม่ประมาทให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปในตัวเอง
    โดยไม่ต้องลำบากมากมายนัก
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/359/1602
    http://etipitaka.com/read/thai/19/395/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๐๑/๑๖๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1025
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก สัทธรรมลำดับที่ : 1025 ชื่อบทธรรม : -วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025 เนื้อความทั้งหมด :- --วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก --นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? --นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย ๑.ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทเธอเวจจัปปสาเทนะ) ดังนี้ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=พุทฺเธ+อเวจฺจปฺปสาเทน “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์” ดังนี้. อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่ เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือ เพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน. http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=ปวิเวกาย+ปฏิสลฺลานาย +--เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้, ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ; ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข; จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ; เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ ได้ว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะ ที่สอง คือ ๒.ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สาม คือ ๓.ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สี่ คือ ๔.ความมีศีลอ้นเป็นอริย-ประเสริฐ (อริยกันตศีล--อริยกนฺเตหิ สีเลหิ)​ http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=อริยกนฺเตหิ+สีเลหิ ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบน ที่กล่าวถึงความ ๑.เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ) --นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า #เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.- (ขอให้สังเกตเห็นใจความสำคัญที่ว่า แม้จะเป็นเตรียม พระโสดาบัน (คือธัมมานุสารี และสัทธานุสารีก็ตาม) หรือ เป็นพระโสดาบันแล้วก็ตาม ยังมีกิจคือความไม่ประมาทที่จะต้องกระทำสืบต่อยิ่งขึ้นไป ความข้อความในพระสูตรนี้ ให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอยู่เสมอ. ข้อปฏิบัติเหล่านั้นมีใจความสำคัญอยู่ที่ว่า กลางวันมีวิเวก คือสงัดจากความรบกวนภายนอก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ คือจิตไม่ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ แต่มากำหนดอยู่ที่ธรรมอันควรกำหนดอยู่ตลอดเวลา จนเกิดผลตามลำดับ นับตั้งแต่ความปราโมทย์ ไปจนถึงความปรากฏแห่งธรรมที่ยังไม่เคยปรากฏ. อริยสาวกชั้นที่สูงขึ้นไปก็มีหลักปฏิบัติทำนองนี้ คือ กลางวันมีวิเวิก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ เพื่อบรรลุธรรมชั้นที่สูงขึ้นไปกว่าที่บรรลุอยู่ จนกระทั่งถึงชั้นพระอรหันต์. แม้ชั้นพระอรหันต์ซึ่งเป็นชั้นที่ถึงที่สุดแห่งความไม่ประมาทแล้ว ก็ยังมีวิเวกในกลางวัน มีปฏิสัลลาณะในกลางคืน เพื่อความอยู่เป็นผาสุกของบุคคลผู้ถึงที่สุดแห่งพรหมจรรย์. ขอให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการอยู่อย่างมีวิเวกและมีปฏิสัลลาณะ ว่าเป็นฐานรากในการสืบต่อความไม่ประมาทให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปในตัวเอง โดยไม่ต้องลำบากมากมายนัก ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/359/1602 http://etipitaka.com/read/thai/19/395/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๐๑/๑๖๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1025 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    -(ผู้ยึดการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคเป็นหลัก พึงมองให้เห็นความสำคัญที่สุดแห่งพระบาลีนี้ ที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าปฏิบัติในชั้นลึกคือการรู้เห็นอย่างถูกต้องเกี่ยวกับอายตนะอันเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาอุปทานแล้ว ย่อมเป็นเคล็ดลับในการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคอย่างครบถ้วน ขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ไม่เสียเวลามากเหมือนผู้ปฏิบัติชนิดแจกแจงเป็นองค์ๆ และองค์ละหลายๆ อย่าง ซึ่งโดยมากปฏิบัติจนตายหรือเกือบตายก็ไม่เคยประสบความสำเร็จ จึงขอเน้นความสำคัญอย่างยิ่งแห่งพระบาลีนี้ แก่ผู้ปฏิบัติทุกคน. ข้อความที่ยกมานี้ ยกมาแต่ข้อความที่แสดงด้วยเรื่องของจักษุ ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงเอาเองออกไปถึงเรื่องของ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมโน แต่ละอย่างๆ ออกเป็นห้าประเด็น เหมือนอย่างที่แสดงไว้ในกรณีแห่งจักษุข้างต้นนั้น, ก็จะได้อายตนะนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่าง; รวมเป็น ๓๐ อย่าง โดยบริบูรณ์). วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทธอเวจจัปปสาทะ) ดังนี้ว่า “แม้เพราะ เหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์” ดังนี้. อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่ เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือเพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน. เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้, ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ; ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข; จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ; เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ ได้ว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะที่สอง คือ ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สามคือ ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สี่คือ ความมีศีลที่พระอริยเจ้าพอใจ (อริยกันตศีล) ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบนที่กล่าวถึงความ เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ) นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.
    0 Comments 0 Shares 249 Views 0 Reviews
  • เหรียญหลวงพ่อทวด รุ่นพุทธรังษีบารมีโพธิสัตว์ รักชาติรัก รักแผ่นดิน คนวังหน้า
    เหรียญหลวงพ่อทวด (ตอกโค๊ดตรงสังฆาฏิ) รุ่นพุทธรังษีบารมีโพธิสัตว์ รักชาติรัก รักแผ่นดิน คนวังหน้า //พระดีพิธีใหญ่ สร้างแจก ทหาร-ตำรวจ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 7000 เหรียญ ไม่ได้เปิดจอง ออกให้บูชา // พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณ เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด ประสบการณ์มากมาย ทั้งระเบิดด้าน รถคว่ำ กันภูตผี และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >>

    ** เหรียญรุ่นนี้เข้าพิธีอธิษฐานจิตตามตำรับเดิมของการสร้างหลวงพ่อทวดเเละรูปลักษณ์ด้านหน้าจะเป็นหลวงพ่อทวดครึ่งองค์ด้านหลังจะบรรจุพระคาถาหลวงพ่อทวดเเละคาถายูงทองที่หลวงปู่มั่นใช้เขียนเป็นหลอดยันต์สมัยสงครามเเละพระยันต์จินดามณีหรือพระยันต์สารพัดนึก

    ** พระเกจิอาจารย์ที่ร่วมพิธีนี้ พ่อท่านเขียว วัดห้วยเงาะ พ่อท่านหวาน วัดสะบ้าย้อย พ่อท่านฉิ้น วัดเมืองยะลา
    พ่อท่านเเก้ว วัดสะพานไม้เเก่น พ่อท่านวัดต้นเลียบ วัดที่ฝังรกหลวงพ่อทวด พ่อท่านวัดดีหลวง วัดที่หลวงพ่อทวดบรรพชาเป็นสามเณร พ่อท่านวัดสีหยัง วัดที่หลวงพ่อทวดเรียนพระธรรม พ่อท่านเเสง วัดศิลาลอย ท่านเคยร่วมพิธีปี 2497 พ่อท่านนวล วาจาสิทธิ์ วัดไสหร้า พ่อท่านเจ้าคุณผัน วัดทรายขาว พ่อท่านท้วม วัดศรีสุวรรณ พ่อท่านจ่าง วัดน้ำรอบ พ่อท่านชม นิ้วเพชร ปากละเเม พ่อท่านเนื่อง วัดสวนจันทร์ >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญหลวงพ่อทวด รุ่นพุทธรังษีบารมีโพธิสัตว์ รักชาติรัก รักแผ่นดิน คนวังหน้า เหรียญหลวงพ่อทวด (ตอกโค๊ดตรงสังฆาฏิ) รุ่นพุทธรังษีบารมีโพธิสัตว์ รักชาติรัก รักแผ่นดิน คนวังหน้า //พระดีพิธีใหญ่ สร้างแจก ทหาร-ตำรวจ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 7000 เหรียญ ไม่ได้เปิดจอง ออกให้บูชา // พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณ เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด ประสบการณ์มากมาย ทั้งระเบิดด้าน รถคว่ำ กันภูตผี และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >> ** เหรียญรุ่นนี้เข้าพิธีอธิษฐานจิตตามตำรับเดิมของการสร้างหลวงพ่อทวดเเละรูปลักษณ์ด้านหน้าจะเป็นหลวงพ่อทวดครึ่งองค์ด้านหลังจะบรรจุพระคาถาหลวงพ่อทวดเเละคาถายูงทองที่หลวงปู่มั่นใช้เขียนเป็นหลอดยันต์สมัยสงครามเเละพระยันต์จินดามณีหรือพระยันต์สารพัดนึก ** พระเกจิอาจารย์ที่ร่วมพิธีนี้ พ่อท่านเขียว วัดห้วยเงาะ พ่อท่านหวาน วัดสะบ้าย้อย พ่อท่านฉิ้น วัดเมืองยะลา พ่อท่านเเก้ว วัดสะพานไม้เเก่น พ่อท่านวัดต้นเลียบ วัดที่ฝังรกหลวงพ่อทวด พ่อท่านวัดดีหลวง วัดที่หลวงพ่อทวดบรรพชาเป็นสามเณร พ่อท่านวัดสีหยัง วัดที่หลวงพ่อทวดเรียนพระธรรม พ่อท่านเเสง วัดศิลาลอย ท่านเคยร่วมพิธีปี 2497 พ่อท่านนวล วาจาสิทธิ์ วัดไสหร้า พ่อท่านเจ้าคุณผัน วัดทรายขาว พ่อท่านท้วม วัดศรีสุวรรณ พ่อท่านจ่าง วัดน้ำรอบ พ่อท่านชม นิ้วเพชร ปากละเเม พ่อท่านเนื่อง วัดสวนจันทร์ >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 171 Views 0 Reviews
  • เหรียญรุ่น1 หลวงปู่สุ่ย วัดหนองขาม จ.มหาสารคาม
    เหรียญรุ่น1 หลวงปู่สุ่ย เนื้อกะไหล่ทอง นิยม วัดหนองขาม ต.ก้ามปู อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม // พระดีพิธีใหญ่ // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณป้องกันภัยอันตรายทั้งปวง คงกระพันชาตรี มหาอุตม์ หนุนดวง ค้าขายดี และเสริมสิริมงคลให้กับตัวเอง เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ อุดมสมบูรณ์ ทำมาหากินคล่อง เจริญในหน้าที่การงานคุ้มครอง >>

    ** หลวงปู่สุ่ย ถิรธัมโม วัดหนองขาม เป็นทายาทธรรม หลวงปู่สาธุ์ ได้ชื่อว่าเป็นทายาทธรรมที่รับใช้ใกล้ชิดมากที่สุด เป็นศิษย์รุ่นสุดท้ายที่เฝ้าปรนนิบัติรับใช้ จนถึงวาระสุดท้ายของหลวงปู่สาธุ์ ในปี พ.ศ.2515 หลวงปู่สุ่ย เป็นพระเคร่งครัดในพระธรรมวินัย วัตรปฏิบัติจำเริญรอยตามหลวงปู่สาธุ์ ผู้เป็นพระอาจารย์ ทำให้ชื่อเสียงโด่งดังขจรขจายจนได้รับการยกย่องว่าเป็นพระกัมมัฏฐานรูปหนึ่งที่พุทธศาสนิกชนกราบไหว้ได้อย่างสนิทใจ ในแต่ละวันจึงมีญาติโยมจากทั่วสารทิศ เดินทางมากราบนมัสการ รับฟังธรรม ประพรมน้ำพุทธมนต์ รวมทั้งขอวัตถุมงคล ที่มากประสบการณ์เข้มขลังจากหลวงปู่สุ่ย อย่างล้นหลาม >>

    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญรุ่น1 หลวงปู่สุ่ย วัดหนองขาม จ.มหาสารคาม เหรียญรุ่น1 หลวงปู่สุ่ย เนื้อกะไหล่ทอง นิยม วัดหนองขาม ต.ก้ามปู อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม // พระดีพิธีใหญ่ // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณป้องกันภัยอันตรายทั้งปวง คงกระพันชาตรี มหาอุตม์ หนุนดวง ค้าขายดี และเสริมสิริมงคลให้กับตัวเอง เมตตามหานิยม เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ อุดมสมบูรณ์ ทำมาหากินคล่อง เจริญในหน้าที่การงานคุ้มครอง >> ** หลวงปู่สุ่ย ถิรธัมโม วัดหนองขาม เป็นทายาทธรรม หลวงปู่สาธุ์ ได้ชื่อว่าเป็นทายาทธรรมที่รับใช้ใกล้ชิดมากที่สุด เป็นศิษย์รุ่นสุดท้ายที่เฝ้าปรนนิบัติรับใช้ จนถึงวาระสุดท้ายของหลวงปู่สาธุ์ ในปี พ.ศ.2515 หลวงปู่สุ่ย เป็นพระเคร่งครัดในพระธรรมวินัย วัตรปฏิบัติจำเริญรอยตามหลวงปู่สาธุ์ ผู้เป็นพระอาจารย์ ทำให้ชื่อเสียงโด่งดังขจรขจายจนได้รับการยกย่องว่าเป็นพระกัมมัฏฐานรูปหนึ่งที่พุทธศาสนิกชนกราบไหว้ได้อย่างสนิทใจ ในแต่ละวันจึงมีญาติโยมจากทั่วสารทิศ เดินทางมากราบนมัสการ รับฟังธรรม ประพรมน้ำพุทธมนต์ รวมทั้งขอวัตถุมงคล ที่มากประสบการณ์เข้มขลังจากหลวงปู่สุ่ย อย่างล้นหลาม >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 233 Views 0 Reviews
  • วันอังคารที่ 10 มิถุนายน 2568. ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนเจ็ด(๗) ปีมะเส็ง วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ

    "ไม่มีใครเล่าความชั่วของตัวเองให้คนอื่นฟัง
    ดังนั้น...เราจึงไม่ควรฟังความข้างเดียว"

    ธรรมะสอนใจ
    พระธรรมโกศาจารย์ "พุทธทาสภิกขุ"
    วันอังคารที่ 10 มิถุนายน 2568. ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนเจ็ด(๗) ปีมะเส็ง วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ "ไม่มีใครเล่าความชั่วของตัวเองให้คนอื่นฟัง ดังนั้น...เราจึงไม่ควรฟังความข้างเดียว" ธรรมะสอนใจ พระธรรมโกศาจารย์ "พุทธทาสภิกขุ"
    0 Comments 0 Shares 84 Views 0 Reviews
More Results