• สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงฉลองพระองค์ไทยอมรินทร์ ผ้าไหมพื้นเรียบ
    พระภูษาผ้าไหมยกดอก ลายเครือเถาราชพฤกษ์พิกุลใหญ่ ถมเกสรทองเชิงกนก
    ลายเครือเถา เป็นลายพื้นฐานอีกแบบหนึ่งที่สำคัญของลายไทย นอกเหนือจากลายกระจัง ลายกระหนก ลายประจำยาม ลายประเภทนี้จะเขียนในลักษณะคดโค้งหลายแนว แตะหรือสอดสลับกัน คล้ายการเกี่ยวพันของเถาวัลย์ โดยมีกระหนกออกจากกาบหุ้มเถาไว้ลายเครือเถาแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๓ ประเภทคือ ลายเครือเถาหางโต ลายเครือเถาใบเทศ
    ลายเครือเถาเปลว สามารถพบเห็นลายเครือเถา บริเวณหน้าบัน บานประตู หน้าต่าง หรือตู้ลายรดน้ำ หรือประดับมุก รวมถึง ลายในผ้าทอ และลายปักไหม
    วัดราชบพิธฯ พบงานวิจิตรศิลปกรรมกระเบื้องเคลือบเบญจรงค์ ประดับตกแต่งในสถาปัตยกรรม อาทิ พระมหาเจดีย์ เจดีย์ทรงระฆัง ถ่ายแบบมาจากเจดีย์ทรงระฆังอยุธยาตอนกลาง จัดเป็นทรงระฆังแบบอยุธยาแท้ที่มีลักษณะเฉพาะ คือการใช้ “มาลัยเครือเถา” กระเบื้องเบญจรงค์ลายดอกไม้ในกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ประดับส่วนฐานพระเจดีย์เต็มพื้นที่โดยรอบ องค์พระมหาเจดีย์ทั้งหมดตั้งแต่ฐานไพทีไปจนกระทั่งถึงยอด ประดับด้วย กระเบื้องเคลือบ ทั้งองค์ เป็นกระเบื้องแบบเบญจรงค์ แต่ละส่วนตกแต่งด้วยลวดลายหลายประเภท โดยรวมเรียก ลายแผลง หรือ ‘ลายแผง’ เป็นลวดลายในกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน สี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ลายกลีบบัว ลายเทพพนม ลายดอกไม้-ใบไม้ทั้งแบบไทยประเพณี แบบตะวันตก และแบบผสมผสานกัน
    กล่าวคือ โดยรอบตั้งแต่ฐานถึงชั้นประทักษิณ เป็นลายดอกไม้ประเภท ลายก้านแย่ง (ลายดอกไม้-ใบไม้) พื้นสีเหลืองทอง ลวดลายในชุดแบบเบญจรงค์ ส่วนองค์ระฆังและส่วนยอดประดับ กระเบื้องเคลือบสีเหลือง ไม่ประดับลวดลาย ถือเป็นพัฒนาการอย่างใหม่ของงานช่างในการสร้างเจดีย์ เพราะสมัยก่อนใช้การ ‘ลงรักปิดทอง’ หรือทาสี ‘น้ำปูน’ ที่เป็นสีขาวเท่านั้น จนมาถึงรัชกาลที่ ๕ จึงเปลี่ยนมาเป็นกระเบื้องเคลือบ ซึ่งมั่นคงแข็งแรงและงดงามยิ่ง
    -----
    HER ROYAL ATTIRE IN THAI AMARIN
    WITH LAMPHUN BROCADE SILK RATCHAPHRUEK PIKUN WITH GOLD-THREAD
    .
    The vine pattern is another important basic type of Thai pattern. In addition to the Krajang pattern, Kranok pattern, Prachayam pattern, this type of pattern is written in many curved lines. Tapping or inserting alternately similar to the intertwining of vines The vine pattern is divided into 3 main types: the large-tailed vine pattern, the Indian leaf vine pattern, and the flame vine pattern. The vine pattern can be found on the pediment, door panels, windows, or cabinets in gold leaf or decorated with pearls, as well as patterns in woven fabrics and silk embroidery.
    .
    Wat Ratchabophit found exquisite works of art of Benjarong glazed tiles as architectural decorations, such as the Great Stupa, a bell-shaped stupa copied from the bell-shaped stupa of the central Ayutthaya period. It is considered a bell-shaped Ayutthaya style with a unique characteristic, which is the use of “Malai Kreua Thao”, Benjarong tiles with floral patterns in a square frame, decorating the base of the stupa covering the entire area around it. The entire Great Stupa, from the base to the top, is decorated with glazed tiles throughout the entire body, which are Benjarong tiles. Each part is decorated with various types of patterns, collectively called “Lai Plaeng” or “Lai Phaeng”, which are patterns in a diamond-shaped, square frame, such as lotus petal patterns, thep Phanom pattern, and flower-leaf patterns in both traditional Thai, Western, and mixed styles.
    .
    All around from the base to the circumambulation tier is a floral pattern of the Kan Yaeng pattern (flower and leaf pattern) on a golden yellow background, in the Benjarong style. The bell-shaped body and the top are decorated with yellow glazed tiles, not decorated with patterns. This is considered a new development in the craftsmanship in building a pagoda, because in the past they used only 'lacquer and gold leaf' or white 'lime water' paint. Until the reign of King Rama V, it was changed to glazed tiles. which is stable, strong and extremely beautiful.
    _________________________________
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี : We love Her Majesty Queen Suthida Fanpage
    สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงฉลองพระองค์ไทยอมรินทร์ ผ้าไหมพื้นเรียบ พระภูษาผ้าไหมยกดอก ลายเครือเถาราชพฤกษ์พิกุลใหญ่ ถมเกสรทองเชิงกนก ลายเครือเถา เป็นลายพื้นฐานอีกแบบหนึ่งที่สำคัญของลายไทย นอกเหนือจากลายกระจัง ลายกระหนก ลายประจำยาม ลายประเภทนี้จะเขียนในลักษณะคดโค้งหลายแนว แตะหรือสอดสลับกัน คล้ายการเกี่ยวพันของเถาวัลย์ โดยมีกระหนกออกจากกาบหุ้มเถาไว้ลายเครือเถาแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๓ ประเภทคือ ลายเครือเถาหางโต ลายเครือเถาใบเทศ ลายเครือเถาเปลว สามารถพบเห็นลายเครือเถา บริเวณหน้าบัน บานประตู หน้าต่าง หรือตู้ลายรดน้ำ หรือประดับมุก รวมถึง ลายในผ้าทอ และลายปักไหม วัดราชบพิธฯ พบงานวิจิตรศิลปกรรมกระเบื้องเคลือบเบญจรงค์ ประดับตกแต่งในสถาปัตยกรรม อาทิ พระมหาเจดีย์ เจดีย์ทรงระฆัง ถ่ายแบบมาจากเจดีย์ทรงระฆังอยุธยาตอนกลาง จัดเป็นทรงระฆังแบบอยุธยาแท้ที่มีลักษณะเฉพาะ คือการใช้ “มาลัยเครือเถา” กระเบื้องเบญจรงค์ลายดอกไม้ในกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ประดับส่วนฐานพระเจดีย์เต็มพื้นที่โดยรอบ องค์พระมหาเจดีย์ทั้งหมดตั้งแต่ฐานไพทีไปจนกระทั่งถึงยอด ประดับด้วย กระเบื้องเคลือบ ทั้งองค์ เป็นกระเบื้องแบบเบญจรงค์ แต่ละส่วนตกแต่งด้วยลวดลายหลายประเภท โดยรวมเรียก ลายแผลง หรือ ‘ลายแผง’ เป็นลวดลายในกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน สี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ลายกลีบบัว ลายเทพพนม ลายดอกไม้-ใบไม้ทั้งแบบไทยประเพณี แบบตะวันตก และแบบผสมผสานกัน กล่าวคือ โดยรอบตั้งแต่ฐานถึงชั้นประทักษิณ เป็นลายดอกไม้ประเภท ลายก้านแย่ง (ลายดอกไม้-ใบไม้) พื้นสีเหลืองทอง ลวดลายในชุดแบบเบญจรงค์ ส่วนองค์ระฆังและส่วนยอดประดับ กระเบื้องเคลือบสีเหลือง ไม่ประดับลวดลาย ถือเป็นพัฒนาการอย่างใหม่ของงานช่างในการสร้างเจดีย์ เพราะสมัยก่อนใช้การ ‘ลงรักปิดทอง’ หรือทาสี ‘น้ำปูน’ ที่เป็นสีขาวเท่านั้น จนมาถึงรัชกาลที่ ๕ จึงเปลี่ยนมาเป็นกระเบื้องเคลือบ ซึ่งมั่นคงแข็งแรงและงดงามยิ่ง ----- HER ROYAL ATTIRE IN THAI AMARIN WITH LAMPHUN BROCADE SILK RATCHAPHRUEK PIKUN WITH GOLD-THREAD . The vine pattern is another important basic type of Thai pattern. In addition to the Krajang pattern, Kranok pattern, Prachayam pattern, this type of pattern is written in many curved lines. Tapping or inserting alternately similar to the intertwining of vines The vine pattern is divided into 3 main types: the large-tailed vine pattern, the Indian leaf vine pattern, and the flame vine pattern. The vine pattern can be found on the pediment, door panels, windows, or cabinets in gold leaf or decorated with pearls, as well as patterns in woven fabrics and silk embroidery. . Wat Ratchabophit found exquisite works of art of Benjarong glazed tiles as architectural decorations, such as the Great Stupa, a bell-shaped stupa copied from the bell-shaped stupa of the central Ayutthaya period. It is considered a bell-shaped Ayutthaya style with a unique characteristic, which is the use of “Malai Kreua Thao”, Benjarong tiles with floral patterns in a square frame, decorating the base of the stupa covering the entire area around it. The entire Great Stupa, from the base to the top, is decorated with glazed tiles throughout the entire body, which are Benjarong tiles. Each part is decorated with various types of patterns, collectively called “Lai Plaeng” or “Lai Phaeng”, which are patterns in a diamond-shaped, square frame, such as lotus petal patterns, thep Phanom pattern, and flower-leaf patterns in both traditional Thai, Western, and mixed styles. . All around from the base to the circumambulation tier is a floral pattern of the Kan Yaeng pattern (flower and leaf pattern) on a golden yellow background, in the Benjarong style. The bell-shaped body and the top are decorated with yellow glazed tiles, not decorated with patterns. This is considered a new development in the craftsmanship in building a pagoda, because in the past they used only 'lacquer and gold leaf' or white 'lime water' paint. Until the reign of King Rama V, it was changed to glazed tiles. which is stable, strong and extremely beautiful. _________________________________ #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี : We love Her Majesty Queen Suthida Fanpage
    Love
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 368 มุมมอง 0 รีวิว
  • PETA จากลิงเก็บมะพร้าว ถึงหมูเด้งฮิปโปแคระ

    People for the Ethical Treatment of Animal หรือ พีต้า (PETA) องค์กรพิทักษ์สัตว์ในสหรัฐอเมริกา ออกแคมเปญแบบโลกไม่ลืม ล่าสุดจากกระแสความฮิตของหมูเด้ง ฮิปโปแคระเพศเมียในสวนสัตว์เปิดเขาเขียว จ.ชลบุรี ที่โด่งดังไปทั่วโลก พีต้ากลับโพสต์รณรงค์ให้ช่วยกันบอยคอตสวนสัตว์เปิดเขาเขียว ระบุว่า “TikTok ทำให้หมูเด้งกลายเป็นเซเลปดัง แต่ความจริงกลับไม่ได้น่ารักแบบนั้น เพราะสวนสัตว์ในประเทศไทยกำลังหาประโยชน์จากหมูเด้ง เพื่อแสวงหากำไร โดยโชว์หมูเด้งราวกับเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทั้งๆ ที่บ้านของฮิปโป คือ ป่าในธรรมชาติ ขอชวนมาบอตคอต (Boycott) สวนสัตว์ที่กักขังสัตว์ป่ากัน !!”

    ปรากฎว่าชาวเน็ตไทยต่างตอบโต้พีต้า ยืนยันว่าหมูเด้งไม่ได้ถูกทรมาน แต่ได้รับการเลี้ยงดูเป็นอย่างดี ยืนยันว่าการปกป้องสัตว์ป่าบางชนิดคือการเลี้ยงในสวนสัตว์ เพื่อความปลอดภัยจากการถูกล่าโดยมนุษย์ และยังเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับเยาวชน พร้อมถามกลับว่า การเอาสัตว์ในสวนสัตว์ไปปล่อยป่า จะแน่ใจได้อย่างไรว่าสัตว์ป่าจะปลอดภัย ไม่นับรวมคอมเมนต์ในเชิงตลกขบขัน ทำนองว่าในประเทศไทยใช้กบเหลาดินสอ ใช้เป็ดล้างห้องน้ำ ใช้กระต่ายขูดมะพร้าว ซึ่งเป็นชื่อเรียกสิ่งของบางชนิด แบบชนิดที่ว่าฝรั่งไม่เข้าใจแต่คนไทยเก็ต

    ไม่ใช่ครั้งแรกที่องค์กรพิทักษ์สัตว์ กล่าวถึงประเทศไทยในทางเสื่อมเสีย ก่อนหน้านี้พีต้าเปิดประเด็นลิงเก็บมะพร้าวทางภาคใต้ของไทยทรมานสัตว์ ทั้งที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนไทย และเป็นมิตรภาพต่างสายพันธุ์ระหว่างคนกับลิงที่มีความเมตตาและผูกพัน รักและเลี้ยงเหมือนลูกด้วยซ้ำ แต่พีต้ากลับเปิดเผยรายงานการสอบสวนทำนองว่า ลิงที่ถูกใช้เก็บมะพร้าวเพื่อนำมาผลิตเป็นน้ำกะทินั้นเป็นลิงเถื่อนที่ถูกพรากมาจากครอบครัว ถูกล่ามโซ่ตลอดเวลา ทำการฝึกสอนอย่างทารุณ และบังคับให้ลิงขึ้นต้นมะพร้าวเพื่อเก็บมะพร้าว ทำให้ห้างสรรพสินค้าชั้นนำในสหรัฐอเมริกา ยกเลิกการจำหน่ายกะทิจากประเทศไทย

    กระทั่งสำนักข่าวไทยเอนไควเออร์ (Thai Enquirer) ตั้งข้อสังเกตว่า การสอบสวนของพีต้าในประเทศไทยมีข้อบกพร่องในระเบียบวิจัย เพราะส่งชาวต่างชาติ 2 คนเข้ามาในประเทศ จงใจที่จะไปยังสถานที่ท่องเที่ยวที่มีการแสดงลิงเก็บมะพร้าว ทั้งที่ผู้ผลิตกะทิจากประเทศไทย และองค์กรต่างๆ ตรวจสอบแล้วไม่พบห่วงโซ่อุปทานใดที่เกี่ยวข้องกับการใช้แรงงานทาสกับลิง ทำให้พีต้าใช้สำนักงานกฎหมาย TILLEKE & GIBBINS ยื่นโนติสให้ลบเนื้อหาออกจากเว็บไซต์ทันที ซึ่งเป็นการฟ้องร้องเพื่อปิดปากเสรีภาพสื่อ โดยไม่คาดคิดว่าจะมาจากองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO)

    #Newskit #PETA #หมูเด้ง
    PETA จากลิงเก็บมะพร้าว ถึงหมูเด้งฮิปโปแคระ People for the Ethical Treatment of Animal หรือ พีต้า (PETA) องค์กรพิทักษ์สัตว์ในสหรัฐอเมริกา ออกแคมเปญแบบโลกไม่ลืม ล่าสุดจากกระแสความฮิตของหมูเด้ง ฮิปโปแคระเพศเมียในสวนสัตว์เปิดเขาเขียว จ.ชลบุรี ที่โด่งดังไปทั่วโลก พีต้ากลับโพสต์รณรงค์ให้ช่วยกันบอยคอตสวนสัตว์เปิดเขาเขียว ระบุว่า “TikTok ทำให้หมูเด้งกลายเป็นเซเลปดัง แต่ความจริงกลับไม่ได้น่ารักแบบนั้น เพราะสวนสัตว์ในประเทศไทยกำลังหาประโยชน์จากหมูเด้ง เพื่อแสวงหากำไร โดยโชว์หมูเด้งราวกับเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทั้งๆ ที่บ้านของฮิปโป คือ ป่าในธรรมชาติ ขอชวนมาบอตคอต (Boycott) สวนสัตว์ที่กักขังสัตว์ป่ากัน !!” ปรากฎว่าชาวเน็ตไทยต่างตอบโต้พีต้า ยืนยันว่าหมูเด้งไม่ได้ถูกทรมาน แต่ได้รับการเลี้ยงดูเป็นอย่างดี ยืนยันว่าการปกป้องสัตว์ป่าบางชนิดคือการเลี้ยงในสวนสัตว์ เพื่อความปลอดภัยจากการถูกล่าโดยมนุษย์ และยังเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับเยาวชน พร้อมถามกลับว่า การเอาสัตว์ในสวนสัตว์ไปปล่อยป่า จะแน่ใจได้อย่างไรว่าสัตว์ป่าจะปลอดภัย ไม่นับรวมคอมเมนต์ในเชิงตลกขบขัน ทำนองว่าในประเทศไทยใช้กบเหลาดินสอ ใช้เป็ดล้างห้องน้ำ ใช้กระต่ายขูดมะพร้าว ซึ่งเป็นชื่อเรียกสิ่งของบางชนิด แบบชนิดที่ว่าฝรั่งไม่เข้าใจแต่คนไทยเก็ต ไม่ใช่ครั้งแรกที่องค์กรพิทักษ์สัตว์ กล่าวถึงประเทศไทยในทางเสื่อมเสีย ก่อนหน้านี้พีต้าเปิดประเด็นลิงเก็บมะพร้าวทางภาคใต้ของไทยทรมานสัตว์ ทั้งที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนไทย และเป็นมิตรภาพต่างสายพันธุ์ระหว่างคนกับลิงที่มีความเมตตาและผูกพัน รักและเลี้ยงเหมือนลูกด้วยซ้ำ แต่พีต้ากลับเปิดเผยรายงานการสอบสวนทำนองว่า ลิงที่ถูกใช้เก็บมะพร้าวเพื่อนำมาผลิตเป็นน้ำกะทินั้นเป็นลิงเถื่อนที่ถูกพรากมาจากครอบครัว ถูกล่ามโซ่ตลอดเวลา ทำการฝึกสอนอย่างทารุณ และบังคับให้ลิงขึ้นต้นมะพร้าวเพื่อเก็บมะพร้าว ทำให้ห้างสรรพสินค้าชั้นนำในสหรัฐอเมริกา ยกเลิกการจำหน่ายกะทิจากประเทศไทย กระทั่งสำนักข่าวไทยเอนไควเออร์ (Thai Enquirer) ตั้งข้อสังเกตว่า การสอบสวนของพีต้าในประเทศไทยมีข้อบกพร่องในระเบียบวิจัย เพราะส่งชาวต่างชาติ 2 คนเข้ามาในประเทศ จงใจที่จะไปยังสถานที่ท่องเที่ยวที่มีการแสดงลิงเก็บมะพร้าว ทั้งที่ผู้ผลิตกะทิจากประเทศไทย และองค์กรต่างๆ ตรวจสอบแล้วไม่พบห่วงโซ่อุปทานใดที่เกี่ยวข้องกับการใช้แรงงานทาสกับลิง ทำให้พีต้าใช้สำนักงานกฎหมาย TILLEKE & GIBBINS ยื่นโนติสให้ลบเนื้อหาออกจากเว็บไซต์ทันที ซึ่งเป็นการฟ้องร้องเพื่อปิดปากเสรีภาพสื่อ โดยไม่คาดคิดว่าจะมาจากองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) #Newskit #PETA #หมูเด้ง
    Like
    Sad
    Angry
    Haha
    15
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 854 มุมมอง 0 รีวิว
  • (ภาพปกอยู่บนโพสต์ด้านบน)

    PETA จากลิงเก็บมะพร้าว ถึงหมูเด้งฮิปโปแคระ

    People for the Ethical Treatment of Animal หรือ พีต้า (PETA) องค์กรพิทักษ์สัตว์ในสหรัฐอเมริกา ออกแคมเปญแบบโลกไม่ลืม ล่าสุดจากกระแสความฮิตของหมูเด้ง ฮิปโปแคระเพศเมียในสวนสัตว์เปิดเขาเขียว จ.ชลบุรี ที่โด่งดังไปทั่วโลก พีต้ากลับโพสต์รณรงค์ให้ช่วยกันบอยคอตสวนสัตว์เปิดเขาเขียว ระบุว่า “TikTok ทำให้หมูเด้งกลายเป็นเซเลปดัง แต่ความจริงกลับไม่ได้น่ารักแบบนั้น เพราะสวนสัตว์ในประเทศไทยกำลังหาประโยชน์จากหมูเด้ง เพื่อแสวงหากำไร โดยโชว์หมูเด้งราวกับเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทั้งๆ ที่บ้านของฮิปโป คือ ป่าในธรรมชาติ ขอชวนมาบอตคอต (Boycott) สวนสัตว์ที่กักขังสัตว์ป่ากัน !!”

    ปรากฎว่าชาวเน็ตไทยต่างตอบโต้พีต้า ยืนยันว่าหมูเด้งไม่ได้ถูกทรมาน แต่ได้รับการเลี้ยงดูเป็นอย่างดี ยืนยันว่าการปกป้องสัตว์ป่าบางชนิดคือการเลี้ยงในสวนสัตว์ เพื่อความปลอดภัยจากการถูกล่าโดยมนุษย์ และยังเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับเยาวชน พร้อมถามกลับว่า การเอาสัตว์ในสวนสัตว์ไปปล่อยป่า จะแน่ใจได้อย่างไรว่าสัตว์ป่าจะปลอดภัย ไม่นับรวมคอมเมนต์ในเชิงตลกขบขัน ทำนองว่าในประเทศไทยใช้กบเหลาดินสอ ใช้เป็ดล้างห้องน้ำ ใช้กระต่ายขูดมะพร้าว ซึ่งเป็นชื่อเรียกสิ่งของบางชนิด แบบชนิดที่ว่าฝรั่งไม่เข้าใจแต่คนไทยเก็ต

    ไม่ใช่ครั้งแรกที่องค์กรพิทักษ์สัตว์ กล่าวถึงประเทศไทยในทางเสื่อมเสีย ก่อนหน้านี้พีต้าเปิดประเด็นลิงเก็บมะพร้าวทางภาคใต้ของไทยทรมานสัตว์ ทั้งที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนไทย และเป็นมิตรภาพต่างสายพันธุ์ระหว่างคนกับลิงที่มีความเมตตาและผูกพัน รักและเลี้ยงเหมือนลูกด้วยซ้ำ แต่พีต้ากลับเปิดเผยรายงานการสอบสวนทำนองว่า ลิงที่ถูกใช้เก็บมะพร้าวเพื่อนำมาผลิตเป็นน้ำกะทินั้นเป็นลิงเถื่อนที่ถูกพรากมาจากครอบครัว ถูกล่ามโซ่ตลอดเวลา ทำการฝึกสอนอย่างทารุณ และบังคับให้ลิงขึ้นต้นมะพร้าวเพื่อเก็บมะพร้าว ทำให้ห้างสรรพสินค้าชั้นนำในสหรัฐอเมริกา ยกเลิกการจำหน่ายกะทิจากประเทศไทย

    กระทั่งสำนักข่าวไทยเอนไควเออร์ (Thai Enquirer) ตั้งข้อสังเกตว่า การสอบสวนของพีต้าในประเทศไทยมีข้อบกพร่องในระเบียบวิจัย เพราะส่งชาวต่างชาติ 2 คนเข้ามาในประเทศ จงใจที่จะไปยังสถานที่ท่องเที่ยวที่มีการแสดงลิงเก็บมะพร้าว ทั้งที่ผู้ผลิตกะทิจากประเทศไทย และองค์กรต่างๆ ตรวจสอบแล้วไม่พบห่วงโซ่อุปทานใดที่เกี่ยวข้องกับการใช้แรงงานทาสกับลิง ทำให้พีต้าใช้สำนักงานกฎหมาย TILLEKE & GIBBINS ยื่นโนติสให้ลบเนื้อหาออกจากเว็บไซต์ทันที ซึ่งเป็นการฟ้องร้องเพื่อปิดปากเสรีภาพสื่อ โดยไม่คาดคิดว่าจะมาจากองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO)

    #Newskit #PETA #หมูเด้ง
    (ภาพปกอยู่บนโพสต์ด้านบน) PETA จากลิงเก็บมะพร้าว ถึงหมูเด้งฮิปโปแคระ People for the Ethical Treatment of Animal หรือ พีต้า (PETA) องค์กรพิทักษ์สัตว์ในสหรัฐอเมริกา ออกแคมเปญแบบโลกไม่ลืม ล่าสุดจากกระแสความฮิตของหมูเด้ง ฮิปโปแคระเพศเมียในสวนสัตว์เปิดเขาเขียว จ.ชลบุรี ที่โด่งดังไปทั่วโลก พีต้ากลับโพสต์รณรงค์ให้ช่วยกันบอยคอตสวนสัตว์เปิดเขาเขียว ระบุว่า “TikTok ทำให้หมูเด้งกลายเป็นเซเลปดัง แต่ความจริงกลับไม่ได้น่ารักแบบนั้น เพราะสวนสัตว์ในประเทศไทยกำลังหาประโยชน์จากหมูเด้ง เพื่อแสวงหากำไร โดยโชว์หมูเด้งราวกับเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทั้งๆ ที่บ้านของฮิปโป คือ ป่าในธรรมชาติ ขอชวนมาบอตคอต (Boycott) สวนสัตว์ที่กักขังสัตว์ป่ากัน !!” ปรากฎว่าชาวเน็ตไทยต่างตอบโต้พีต้า ยืนยันว่าหมูเด้งไม่ได้ถูกทรมาน แต่ได้รับการเลี้ยงดูเป็นอย่างดี ยืนยันว่าการปกป้องสัตว์ป่าบางชนิดคือการเลี้ยงในสวนสัตว์ เพื่อความปลอดภัยจากการถูกล่าโดยมนุษย์ และยังเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับเยาวชน พร้อมถามกลับว่า การเอาสัตว์ในสวนสัตว์ไปปล่อยป่า จะแน่ใจได้อย่างไรว่าสัตว์ป่าจะปลอดภัย ไม่นับรวมคอมเมนต์ในเชิงตลกขบขัน ทำนองว่าในประเทศไทยใช้กบเหลาดินสอ ใช้เป็ดล้างห้องน้ำ ใช้กระต่ายขูดมะพร้าว ซึ่งเป็นชื่อเรียกสิ่งของบางชนิด แบบชนิดที่ว่าฝรั่งไม่เข้าใจแต่คนไทยเก็ต ไม่ใช่ครั้งแรกที่องค์กรพิทักษ์สัตว์ กล่าวถึงประเทศไทยในทางเสื่อมเสีย ก่อนหน้านี้พีต้าเปิดประเด็นลิงเก็บมะพร้าวทางภาคใต้ของไทยทรมานสัตว์ ทั้งที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนไทย และเป็นมิตรภาพต่างสายพันธุ์ระหว่างคนกับลิงที่มีความเมตตาและผูกพัน รักและเลี้ยงเหมือนลูกด้วยซ้ำ แต่พีต้ากลับเปิดเผยรายงานการสอบสวนทำนองว่า ลิงที่ถูกใช้เก็บมะพร้าวเพื่อนำมาผลิตเป็นน้ำกะทินั้นเป็นลิงเถื่อนที่ถูกพรากมาจากครอบครัว ถูกล่ามโซ่ตลอดเวลา ทำการฝึกสอนอย่างทารุณ และบังคับให้ลิงขึ้นต้นมะพร้าวเพื่อเก็บมะพร้าว ทำให้ห้างสรรพสินค้าชั้นนำในสหรัฐอเมริกา ยกเลิกการจำหน่ายกะทิจากประเทศไทย กระทั่งสำนักข่าวไทยเอนไควเออร์ (Thai Enquirer) ตั้งข้อสังเกตว่า การสอบสวนของพีต้าในประเทศไทยมีข้อบกพร่องในระเบียบวิจัย เพราะส่งชาวต่างชาติ 2 คนเข้ามาในประเทศ จงใจที่จะไปยังสถานที่ท่องเที่ยวที่มีการแสดงลิงเก็บมะพร้าว ทั้งที่ผู้ผลิตกะทิจากประเทศไทย และองค์กรต่างๆ ตรวจสอบแล้วไม่พบห่วงโซ่อุปทานใดที่เกี่ยวข้องกับการใช้แรงงานทาสกับลิง ทำให้พีต้าใช้สำนักงานกฎหมาย TILLEKE & GIBBINS ยื่นโนติสให้ลบเนื้อหาออกจากเว็บไซต์ทันที ซึ่งเป็นการฟ้องร้องเพื่อปิดปากเสรีภาพสื่อ โดยไม่คาดคิดว่าจะมาจากองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) #Newskit #PETA #หมูเด้ง
    Like
    Angry
    4
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 962 มุมมอง 0 รีวิว
  • PETAเกาะกระแสหมูเด้ง ! ออกแถลงการณ์ประท้วง กรณีลูกฮิปโป”หมูเด้ง“และเรียกร้องบอยคอตให้ยุติวัฏจักรอันโหดทรมานสัตว์เพื่อความบันเทิง ขณะที่ ผอ.สวนสัตว์เขาเขียวโต้ว่าจัดการสวัสดิภาพสัตว์ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตสัตว์เป็นอย่างดี

    28 กันยายน 2567 -PETA เอเชียหรือ องค์กรพิทักษ์สัตว์ ออกแถลงการณ์ผ่านเฟซบุ๊ก PETA เนื้อหาระบุว่า

    การที่ลูกฮิปโปเกิดมาในกรงขังไม่ใช่เรื่องน่ารัก ฮิปโปเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในป่า แต่ หมูเด้ง ไม่มีวันได้อยู่นอกกรงได้ ต้องเผชิญกับการถูกจำกัดตลอดชีวิต ขาดอิสรภาพ และโอกาสที่จะได้สัมผัสกับแหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติและโครงสร้างทางสังคมของสายพันธุ์ของมัน

    สัตว์ไม่ได้มีไว้เพื่อความบันเทิงของเรา การเพาะพันธุ์สัตว์เพื่อแสดงต่อสาธารณะทำให้สัตว์ต้องทนทุกข์ทรมาน PETA เรียกร้องให้ยุติวัฏจักรอันโหดร้ายนี้ และให้สวนสัตว์ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์สัตว์เป็นอันดับแรก

    พร้อมทั้งเสนอว่า PETA พร้อมเสมอและเต็มใจที่จะช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกในการขนย้ายสัตว์ไปยังเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และขอเรียกร้องให้ทุกคนหลีกเลี่ยงสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทำให้มีชีวิตและรู้สึกเหมือนถูกกักขัง

    ขณะที่นายณรงค์วิทย์ ชดช้อย ผอ.สวนสัตว์เขาเขียว ระบุว่า มีการการดูแลสัตว์ในสวนสัตว์เปิดเขาเขียวมีสัตว์ 2,000 ตัว ยืนยันมีการจัดการสวัสดิภาพสัตว์ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตสัตว์เป็นอย่างดี

    ส่วนการจัดคิวเข้าชมหมูเด้ง ในช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ยังการจัดระเบียบเข้ามาชมรอบละ 5 นาที และไม่เกิน 30-50 คนเพื่อไม่ให้เกิดการแออัด โดยเมื่อสัปดาห์ก่อนมีนักท่องเที่ยวเข้าชมมากกว่า 11,000 คน/วัน และคาดว่าจะมีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ จากกระแสฟีเวอร์ของหมูเด้ง

    ภาพจากผู้จัดการออนไลน์

    #Thaitimes
    PETAเกาะกระแสหมูเด้ง ! ออกแถลงการณ์ประท้วง กรณีลูกฮิปโป”หมูเด้ง“และเรียกร้องบอยคอตให้ยุติวัฏจักรอันโหดทรมานสัตว์เพื่อความบันเทิง ขณะที่ ผอ.สวนสัตว์เขาเขียวโต้ว่าจัดการสวัสดิภาพสัตว์ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตสัตว์เป็นอย่างดี 28 กันยายน 2567 -PETA เอเชียหรือ องค์กรพิทักษ์สัตว์ ออกแถลงการณ์ผ่านเฟซบุ๊ก PETA เนื้อหาระบุว่า การที่ลูกฮิปโปเกิดมาในกรงขังไม่ใช่เรื่องน่ารัก ฮิปโปเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในป่า แต่ หมูเด้ง ไม่มีวันได้อยู่นอกกรงได้ ต้องเผชิญกับการถูกจำกัดตลอดชีวิต ขาดอิสรภาพ และโอกาสที่จะได้สัมผัสกับแหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติและโครงสร้างทางสังคมของสายพันธุ์ของมัน สัตว์ไม่ได้มีไว้เพื่อความบันเทิงของเรา การเพาะพันธุ์สัตว์เพื่อแสดงต่อสาธารณะทำให้สัตว์ต้องทนทุกข์ทรมาน PETA เรียกร้องให้ยุติวัฏจักรอันโหดร้ายนี้ และให้สวนสัตว์ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์สัตว์เป็นอันดับแรก พร้อมทั้งเสนอว่า PETA พร้อมเสมอและเต็มใจที่จะช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกในการขนย้ายสัตว์ไปยังเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และขอเรียกร้องให้ทุกคนหลีกเลี่ยงสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทำให้มีชีวิตและรู้สึกเหมือนถูกกักขัง ขณะที่นายณรงค์วิทย์ ชดช้อย ผอ.สวนสัตว์เขาเขียว ระบุว่า มีการการดูแลสัตว์ในสวนสัตว์เปิดเขาเขียวมีสัตว์ 2,000 ตัว ยืนยันมีการจัดการสวัสดิภาพสัตว์ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตสัตว์เป็นอย่างดี ส่วนการจัดคิวเข้าชมหมูเด้ง ในช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ยังการจัดระเบียบเข้ามาชมรอบละ 5 นาที และไม่เกิน 30-50 คนเพื่อไม่ให้เกิดการแออัด โดยเมื่อสัปดาห์ก่อนมีนักท่องเที่ยวเข้าชมมากกว่า 11,000 คน/วัน และคาดว่าจะมีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ จากกระแสฟีเวอร์ของหมูเด้ง ภาพจากผู้จัดการออนไลน์ #Thaitimes
    Like
    Sad
    Angry
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 971 มุมมอง 0 รีวิว
  • แส่ทุกเรื่อง!!

    PETA ชวนบอยคอต ‘สวนสัตว์เขาเขียว’
    อ้างเอา “หมูเด้ง” มาหากิน
    ชาวเน็ตสวนกลับ อเมริกาไม่มีสวนสัตว์เหรอ ?
    .
    นับเป็นอีกหนึ่งประเด็นเดือดที่ทำเอาคนไทยหัวร้อนมากทีเดียว หลัง PETA องค์กรพิทักษ์สัตว์ ไม่แสวงผลกำไรด้านสิทธิสัตว์ของสหรัฐอเมริกา ได้ออกมาโพสต์ข้อความชวนผู้คนบอยคอต “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” หลังความน่ารักของ “น้องหมูเด้ง” ลูกฮิปโปแคระประจำสวนสัตว์กลายเป็นไวรัลดัง จนถึงขั้นที่ไม่ว่าจะสื่อเล็ก สื่อใหญ่ หรือสื่อระดับตำนาน ต่างก็หยิบยกเรื่องราวของน้องหมูเด้งไปนำเสนอจนเจ้าหมูเด้ง พี่เบนซ์ ผู้ทำหน้าที่ดูแลเจ้าหมูเด้ง และสวนสัตว์เขาเขียวของประเทศไทยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก
    .
    โดย PETA ระบุว่า “TikTok ทำให้หมูเด้งกลายเป็นเซเลปดัง แต่ความจริงกลับไม่ได้น่ารักแบบนั้น เพราะสวนสัตว์ในประเทศไทยกำลังหาประโยชน์จากหมูเด้ง เพื่อแสวงหากำไร โดยโชว์หมูเด้งราวกับเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทั้ง ๆ ที่บ้านของฮิปโป คือ ป่าในธรรมชาติ ขอชวนมาบอตคอต (Boycott) สวนสัตว์ที่กักขังสัตว์ป่ากัน!!”
    .
    แน่นอนว่าหลังจากเรื่องนี้ไปเข้าหูเข้าตาชาวเน็ต หลายคนต่างก็มองว่า ประเทศไหน ๆ ก็มีสวนสัตว์ทั้งนั้น หรืออเมริกาไม่มีสวนสัตว์ ?
    .
    อีกทั้งต่างก็พูดถึงการทำงานของทาง PETA ที่ควรรีเสิร์ชข้อมูลให้มากกว่านี้ก่อนจะออกมาโจมตีหรือชวนคนบอยคอตทางสวนสัตว์ เพราะทาง Zookeeper ประจำสวนสัตว์เปิดเขาเขียว ไม่ได้เลี้ยงดูสัตว์เหล่านั้นเพราะเป็นแค่เพียงอาชีพหรือหน้าที่ แต่พวกเขาต่างก็เลี้ยงสัตว์เหล่านั้นด้วยความรัก ดูแลสัตว์ในความดูแลของตัวเองประดุจคนในครอบครัว ถึงขนาดที่ Zookeeper บางท่านแม้จะเกษียณอายุการทำงานไปแล้ว ก็ยังหาเวลากลับมาดูแลสัตว์ที่ตนเคยเลี้ยงและดูแล เพราะมันคือความผูกพันที่ดูแลกันมาหลายปี
    .
    @ThePublisher

    https://www.facebook.com/share/p/mPPuEJUAFPkyc9tF/?mibextid=oFDknk
    แส่ทุกเรื่อง!! PETA ชวนบอยคอต ‘สวนสัตว์เขาเขียว’ อ้างเอา “หมูเด้ง” มาหากิน ชาวเน็ตสวนกลับ อเมริกาไม่มีสวนสัตว์เหรอ ? . นับเป็นอีกหนึ่งประเด็นเดือดที่ทำเอาคนไทยหัวร้อนมากทีเดียว หลัง PETA องค์กรพิทักษ์สัตว์ ไม่แสวงผลกำไรด้านสิทธิสัตว์ของสหรัฐอเมริกา ได้ออกมาโพสต์ข้อความชวนผู้คนบอยคอต “สวนสัตว์เปิดเขาเขียว” หลังความน่ารักของ “น้องหมูเด้ง” ลูกฮิปโปแคระประจำสวนสัตว์กลายเป็นไวรัลดัง จนถึงขั้นที่ไม่ว่าจะสื่อเล็ก สื่อใหญ่ หรือสื่อระดับตำนาน ต่างก็หยิบยกเรื่องราวของน้องหมูเด้งไปนำเสนอจนเจ้าหมูเด้ง พี่เบนซ์ ผู้ทำหน้าที่ดูแลเจ้าหมูเด้ง และสวนสัตว์เขาเขียวของประเทศไทยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก . โดย PETA ระบุว่า “TikTok ทำให้หมูเด้งกลายเป็นเซเลปดัง แต่ความจริงกลับไม่ได้น่ารักแบบนั้น เพราะสวนสัตว์ในประเทศไทยกำลังหาประโยชน์จากหมูเด้ง เพื่อแสวงหากำไร โดยโชว์หมูเด้งราวกับเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทั้ง ๆ ที่บ้านของฮิปโป คือ ป่าในธรรมชาติ ขอชวนมาบอตคอต (Boycott) สวนสัตว์ที่กักขังสัตว์ป่ากัน!!” . แน่นอนว่าหลังจากเรื่องนี้ไปเข้าหูเข้าตาชาวเน็ต หลายคนต่างก็มองว่า ประเทศไหน ๆ ก็มีสวนสัตว์ทั้งนั้น หรืออเมริกาไม่มีสวนสัตว์ ? . อีกทั้งต่างก็พูดถึงการทำงานของทาง PETA ที่ควรรีเสิร์ชข้อมูลให้มากกว่านี้ก่อนจะออกมาโจมตีหรือชวนคนบอยคอตทางสวนสัตว์ เพราะทาง Zookeeper ประจำสวนสัตว์เปิดเขาเขียว ไม่ได้เลี้ยงดูสัตว์เหล่านั้นเพราะเป็นแค่เพียงอาชีพหรือหน้าที่ แต่พวกเขาต่างก็เลี้ยงสัตว์เหล่านั้นด้วยความรัก ดูแลสัตว์ในความดูแลของตัวเองประดุจคนในครอบครัว ถึงขนาดที่ Zookeeper บางท่านแม้จะเกษียณอายุการทำงานไปแล้ว ก็ยังหาเวลากลับมาดูแลสัตว์ที่ตนเคยเลี้ยงและดูแล เพราะมันคือความผูกพันที่ดูแลกันมาหลายปี . @ThePublisher https://www.facebook.com/share/p/mPPuEJUAFPkyc9tF/?mibextid=oFDknk
    Haha
    Yay
    3
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 268 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/QvPETaVbHF4?si=_1uW55dAwbW60Q3x
    https://youtu.be/QvPETaVbHF4?si=_1uW55dAwbW60Q3x
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงฉลองพระองค์ชุดไทยอมรินทร์ ผ้าไหมพื้นเรียบ
    พระภูษาผ้ายกไหม ลายลายประจำยามตาข่ายถมเกสร ยกเชิงทอง

    ลายประจำยาม เป็นแม่ลายสำคัญอีกแม่ลายหนึ่ง ของการเขียนภาพไทย โดยรูปทรงทั่วไปจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตรงกลางเป็นรูปวงกลม มีสี่กลีบคล้ายกับดอกไม้ และกลีบทั้งสี่ก็มาจากรูปทรงของ แม่ลายกระจังตาอ้อยนั่นเอง ซึ่งแม่ลายประจำยามนี้ สามารถแตกแขนง ออกไปได้อีกมากมาย โดยการใส่ไส้ซ้อนเข้าไป จนดูหรูหรามากขึ้น และรูปทรงยังสามารถ เปลี่ยนจากสี่เหลี่ยมจัตุรัส เป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนได้อีกด้วย ซึ่งทำให้เกิดความงาม ที่แตกต่างไปอีกแบบหนึ่ง
    ----
    HER MAJESTY QUEEN SUTHIDA WEARS THAI NATIONAL ATTIRE IN THAI AMARIN
    THAI DESIGN MOTIF METAL-THREAD BROCADE
    .
    This pattern is another important pattern in Thai painting. The general shape is a square with a circle in the center and four petals similar to a flower. The four petals come from the shape of the Krajan Ta Oi pattern. The pattern can be expanded in many ways by adding a layered filling to make it look more luxurious. The shape can also be changed from a square to a diamond shape.
    _______________________
    #thairoyalfamily
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินี
    Cr. FB : สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี : We Love Her Majesty Queen Suthida Fanpage
    สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงฉลองพระองค์ชุดไทยอมรินทร์ ผ้าไหมพื้นเรียบ พระภูษาผ้ายกไหม ลายลายประจำยามตาข่ายถมเกสร ยกเชิงทอง ลายประจำยาม เป็นแม่ลายสำคัญอีกแม่ลายหนึ่ง ของการเขียนภาพไทย โดยรูปทรงทั่วไปจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตรงกลางเป็นรูปวงกลม มีสี่กลีบคล้ายกับดอกไม้ และกลีบทั้งสี่ก็มาจากรูปทรงของ แม่ลายกระจังตาอ้อยนั่นเอง ซึ่งแม่ลายประจำยามนี้ สามารถแตกแขนง ออกไปได้อีกมากมาย โดยการใส่ไส้ซ้อนเข้าไป จนดูหรูหรามากขึ้น และรูปทรงยังสามารถ เปลี่ยนจากสี่เหลี่ยมจัตุรัส เป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนได้อีกด้วย ซึ่งทำให้เกิดความงาม ที่แตกต่างไปอีกแบบหนึ่ง ---- HER MAJESTY QUEEN SUTHIDA WEARS THAI NATIONAL ATTIRE IN THAI AMARIN THAI DESIGN MOTIF METAL-THREAD BROCADE . This pattern is another important pattern in Thai painting. The general shape is a square with a circle in the center and four petals similar to a flower. The four petals come from the shape of the Krajan Ta Oi pattern. The pattern can be expanded in many ways by adding a layered filling to make it look more luxurious. The shape can also be changed from a square to a diamond shape. _______________________ #thairoyalfamily #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินี Cr. FB : สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี : We Love Her Majesty Queen Suthida Fanpage
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 707 มุมมอง 0 รีวิว