เริ่มนับหนึ่ง MRT3 Circle Line รถไฟฟ้าวงแหวนรอบนอก KL
หลังจากประเทศมาเลเซียพัฒนารถไฟฟ้าไปทั่วกรุงกัวลาลัมเปอร์และหุบเขาแคลงมาแล้ว 12 เส้นทาง ล่าสุดโครงการรถไฟฟ้า MRT3 Circle Line ของบริษัท มาเลเซีย แรพิด ทรานซิท คอร์ปอเรชัน (MRT Corp) นายแอนโทนี่ โลค รมว.คมนาคมมาเลเซีย ได้อนุมัติลงนามโครงการในขั้นตอนสุดท้ายเรียบร้อยแล้ว หลังเปิดรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน 45,000 ราย พบว่ามีผู้สนับสนุนโครงการ 93.3% นับจากนี้จะเริ่มกระบวนการจัดซื้อที่ดินตามแนวเส้นทาง 690 แปลงภายในปี 2569 ก่อนประกวดราคาและก่อสร้างต่อไป
สำหรับโครงการรถไฟฟ้า MRT3 Circle Line มีระยะทาง 51 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางวนรอบ 73 นาที แบ่งเป็นทางรถไฟยกระดับ 39 กิโลเมตร และทางรถไฟใต้ดิน 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากสถานีบูกิต เคียรา เซลาตัน (Bukit Kiara Selatan) เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า MRT Kajang Line วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก มีสถานีทั้งหมด 32 สถานี แบ่งเป็นสถานียกระดับ 22 สถานี สถานีใต้ดิน 7 สถานี รองรับผู้โดยสาร 25,000 คนต่อชั่วโมงต่อทิศทาง ให้บริการผู้โดยสารรอบนอกกรุงกัวลาลัมเปอร์ และเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟฟ้าสายอื่นแบบบูรณาการ สามารถเดินทางระหว่างกันได้อย่างราบรื่น
เชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายต่างๆ ได้แก่ สถานีคอมเพล็กซ์ ดูตา (Kompleks Duta) เชื่อมต่อรถไฟ KTM Tanjung Malim-Port Klang Line, สถานีตีตี้วังซา (Titiwangsa) เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า 4 สาย ได้แก่ LRT Ampang Line, LRT Sri Petaling Line, KL Monorail Line and MRT Putrajaya Line, สถานีเซเตียวังซา (Setiawangsa) เชื่อมต่อรถไฟ LRT Kelana Jaya Line, สถานีพันดัน อินดาห์ (Pandan Indah) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า LRT Ampang Line,
สถานีตามันมิดาห์ (Taman Midah) เชื่อมต่อรถไฟ MRT Kajang Line, สถานีซาลัคเซลาตัน (Salak Selatan) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า LRT Sri Petaling Line, สถานีกูชาย (Kuchai) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า MRT Putrajaya Line, สถานีพันทายดาลัม (Pantai Dalam) เชื่อมต่อรถไฟ KTM Tanjung Malim-Port Klang Line, สถานียูนิเวอร์ซิตี้ (Universiti) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า LRT Kelana Jaya Line
ผ่านสถานที่สำคัญ ได้แก่ ศูนย์นิทรรศการและการค้าระหว่างประเทศมาเลเซีย (MITEC) สถานีดูตามาส (Dutamas), โรงพยาบาลเฉพาะทาง Pusat Perubatan Universiti Kebangsaan Malaysia (PPUKM) and UKM Child Specialist Hospital สถานีจาลันยาโคบลาทิฟ (Jalan Yaacob Latif), ศูนย์การค้าเคแอลเกตเวย์มอลล์ สถานียูนิเวอร์ซิตี้ และศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยมาลายา (University of Malaya Medical Centre) สถานียูเอ็ม (UM) เป็นต้น
#Newskit
หลังจากประเทศมาเลเซียพัฒนารถไฟฟ้าไปทั่วกรุงกัวลาลัมเปอร์และหุบเขาแคลงมาแล้ว 12 เส้นทาง ล่าสุดโครงการรถไฟฟ้า MRT3 Circle Line ของบริษัท มาเลเซีย แรพิด ทรานซิท คอร์ปอเรชัน (MRT Corp) นายแอนโทนี่ โลค รมว.คมนาคมมาเลเซีย ได้อนุมัติลงนามโครงการในขั้นตอนสุดท้ายเรียบร้อยแล้ว หลังเปิดรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน 45,000 ราย พบว่ามีผู้สนับสนุนโครงการ 93.3% นับจากนี้จะเริ่มกระบวนการจัดซื้อที่ดินตามแนวเส้นทาง 690 แปลงภายในปี 2569 ก่อนประกวดราคาและก่อสร้างต่อไป
สำหรับโครงการรถไฟฟ้า MRT3 Circle Line มีระยะทาง 51 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางวนรอบ 73 นาที แบ่งเป็นทางรถไฟยกระดับ 39 กิโลเมตร และทางรถไฟใต้ดิน 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากสถานีบูกิต เคียรา เซลาตัน (Bukit Kiara Selatan) เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า MRT Kajang Line วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก มีสถานีทั้งหมด 32 สถานี แบ่งเป็นสถานียกระดับ 22 สถานี สถานีใต้ดิน 7 สถานี รองรับผู้โดยสาร 25,000 คนต่อชั่วโมงต่อทิศทาง ให้บริการผู้โดยสารรอบนอกกรุงกัวลาลัมเปอร์ และเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟฟ้าสายอื่นแบบบูรณาการ สามารถเดินทางระหว่างกันได้อย่างราบรื่น
เชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายต่างๆ ได้แก่ สถานีคอมเพล็กซ์ ดูตา (Kompleks Duta) เชื่อมต่อรถไฟ KTM Tanjung Malim-Port Klang Line, สถานีตีตี้วังซา (Titiwangsa) เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า 4 สาย ได้แก่ LRT Ampang Line, LRT Sri Petaling Line, KL Monorail Line and MRT Putrajaya Line, สถานีเซเตียวังซา (Setiawangsa) เชื่อมต่อรถไฟ LRT Kelana Jaya Line, สถานีพันดัน อินดาห์ (Pandan Indah) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า LRT Ampang Line,
สถานีตามันมิดาห์ (Taman Midah) เชื่อมต่อรถไฟ MRT Kajang Line, สถานีซาลัคเซลาตัน (Salak Selatan) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า LRT Sri Petaling Line, สถานีกูชาย (Kuchai) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า MRT Putrajaya Line, สถานีพันทายดาลัม (Pantai Dalam) เชื่อมต่อรถไฟ KTM Tanjung Malim-Port Klang Line, สถานียูนิเวอร์ซิตี้ (Universiti) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า LRT Kelana Jaya Line
ผ่านสถานที่สำคัญ ได้แก่ ศูนย์นิทรรศการและการค้าระหว่างประเทศมาเลเซีย (MITEC) สถานีดูตามาส (Dutamas), โรงพยาบาลเฉพาะทาง Pusat Perubatan Universiti Kebangsaan Malaysia (PPUKM) and UKM Child Specialist Hospital สถานีจาลันยาโคบลาทิฟ (Jalan Yaacob Latif), ศูนย์การค้าเคแอลเกตเวย์มอลล์ สถานียูนิเวอร์ซิตี้ และศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยมาลายา (University of Malaya Medical Centre) สถานียูเอ็ม (UM) เป็นต้น
#Newskit
เริ่มนับหนึ่ง MRT3 Circle Line รถไฟฟ้าวงแหวนรอบนอก KL
หลังจากประเทศมาเลเซียพัฒนารถไฟฟ้าไปทั่วกรุงกัวลาลัมเปอร์และหุบเขาแคลงมาแล้ว 12 เส้นทาง ล่าสุดโครงการรถไฟฟ้า MRT3 Circle Line ของบริษัท มาเลเซีย แรพิด ทรานซิท คอร์ปอเรชัน (MRT Corp) นายแอนโทนี่ โลค รมว.คมนาคมมาเลเซีย ได้อนุมัติลงนามโครงการในขั้นตอนสุดท้ายเรียบร้อยแล้ว หลังเปิดรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน 45,000 ราย พบว่ามีผู้สนับสนุนโครงการ 93.3% นับจากนี้จะเริ่มกระบวนการจัดซื้อที่ดินตามแนวเส้นทาง 690 แปลงภายในปี 2569 ก่อนประกวดราคาและก่อสร้างต่อไป
สำหรับโครงการรถไฟฟ้า MRT3 Circle Line มีระยะทาง 51 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางวนรอบ 73 นาที แบ่งเป็นทางรถไฟยกระดับ 39 กิโลเมตร และทางรถไฟใต้ดิน 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากสถานีบูกิต เคียรา เซลาตัน (Bukit Kiara Selatan) เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า MRT Kajang Line วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก มีสถานีทั้งหมด 32 สถานี แบ่งเป็นสถานียกระดับ 22 สถานี สถานีใต้ดิน 7 สถานี รองรับผู้โดยสาร 25,000 คนต่อชั่วโมงต่อทิศทาง ให้บริการผู้โดยสารรอบนอกกรุงกัวลาลัมเปอร์ และเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟฟ้าสายอื่นแบบบูรณาการ สามารถเดินทางระหว่างกันได้อย่างราบรื่น
เชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายต่างๆ ได้แก่ สถานีคอมเพล็กซ์ ดูตา (Kompleks Duta) เชื่อมต่อรถไฟ KTM Tanjung Malim-Port Klang Line, สถานีตีตี้วังซา (Titiwangsa) เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า 4 สาย ได้แก่ LRT Ampang Line, LRT Sri Petaling Line, KL Monorail Line and MRT Putrajaya Line, สถานีเซเตียวังซา (Setiawangsa) เชื่อมต่อรถไฟ LRT Kelana Jaya Line, สถานีพันดัน อินดาห์ (Pandan Indah) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า LRT Ampang Line,
สถานีตามันมิดาห์ (Taman Midah) เชื่อมต่อรถไฟ MRT Kajang Line, สถานีซาลัคเซลาตัน (Salak Selatan) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า LRT Sri Petaling Line, สถานีกูชาย (Kuchai) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า MRT Putrajaya Line, สถานีพันทายดาลัม (Pantai Dalam) เชื่อมต่อรถไฟ KTM Tanjung Malim-Port Klang Line, สถานียูนิเวอร์ซิตี้ (Universiti) เชื่อมต่อรถไฟฟ้า LRT Kelana Jaya Line
ผ่านสถานที่สำคัญ ได้แก่ ศูนย์นิทรรศการและการค้าระหว่างประเทศมาเลเซีย (MITEC) สถานีดูตามาส (Dutamas), โรงพยาบาลเฉพาะทาง Pusat Perubatan Universiti Kebangsaan Malaysia (PPUKM) and UKM Child Specialist Hospital สถานีจาลันยาโคบลาทิฟ (Jalan Yaacob Latif), ศูนย์การค้าเคแอลเกตเวย์มอลล์ สถานียูนิเวอร์ซิตี้ และศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยมาลายา (University of Malaya Medical Centre) สถานียูเอ็ม (UM) เป็นต้น
#Newskit
0 Comments
0 Shares
27 Views
0 Reviews