• #ศิลปะ ซอฟท์เพาว์เวอร์
    พระพัชนีด้ามจิ้ว หรือ พัดทรง💜💜

    หลายท่านที่ได้ชมพระราชพิธีเมื่อวาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม วันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๗

    ในระหว่างที่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ประทับในเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ ทรงใช้พระพัชนีด้ามจิ้ว ระหว่างประทับหลายท่านน่าจะเห็นว่าลวดลายบนพัดมีความงดงามมาก พัดทรงด้ามนี้ออกแบบและเขียนลาย โดยอาจารย์หทัย บุนนาค

    โดยท่านเคยให้รายละเอียดเกี่ยวกับพัดทรงด้ามนี้ว่า…

    "พัดทรง สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดาพัชรสุธาพิมลลักษณ์พระบรมราชินี พัดด้ามไม้ประดับปีกแมลงทับ ตัวพัดทำจากผ้าไหมไทยปิดเงินเปลว เขียนสีเป็นลายเทพยดาอำนวยพร บนพื้นสีครามประกอบลวดลายพรรณพฤกษา แกนพัดและห่วงพัดทำจากเงินกะไหล่ทอง แหวนสำหรับรัดพัดและสายพู่คล้องพัดเป็นไหมสีเขียวมะกอกรับกัน ร้อยสลับกับลูกปัดเงินกะไหล่ทองและลูกปัดพลอยเนื้ออ่อนสีม่วง

    รายชื่อคณะทำงานและช่างฝีมือ

    ช่างเขียนและออกแบบ: นาย หทัย บุนนาค
    ช่างประดับปีกแมลงทับ: นางสาว กัลยากร อัครยากูล

    ช่างทองทำห่วงพัดและแกนพัด : อาจารย์ศุภชัย เสริมสุขเจริญชัย และ อาจารย์จิราพร รอดคุ้ม จากมหาวิทยาลัย เพาะช่าง
    ช่างทำพู่และสายคล้องตลอดจนแหวนรัดพัด: นางสาว เมนาท วรรัตนวัชร

    ช่างประกอบตัวและจับจีบพัด: นายวันชัย เลิศไพบูลย์ผล

    ช่างทำกล่อง: นายวันชัย เลิศไพบูลย์ผลและนายธงชัย ตาลพวง นางสาว กุลธิดา บุนนาค

    ประสานงาน : นายวุฒิกร จินตนสถิตย์"
    เครดิตโดยอาจารย์หทัย บุนนาค(ภาพสุดท้าย)

    🙏🇹🇭💜#ขอทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน #เกร็ดความรู้ #เกร็ดประวัติศาสตร์ #พยุหยาตราทางชลมารค
    #ศิลปะ ซอฟท์เพาว์เวอร์ พระพัชนีด้ามจิ้ว หรือ พัดทรง💜💜 หลายท่านที่ได้ชมพระราชพิธีเมื่อวาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม วันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๗ ในระหว่างที่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ประทับในเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ ทรงใช้พระพัชนีด้ามจิ้ว ระหว่างประทับหลายท่านน่าจะเห็นว่าลวดลายบนพัดมีความงดงามมาก พัดทรงด้ามนี้ออกแบบและเขียนลาย โดยอาจารย์หทัย บุนนาค โดยท่านเคยให้รายละเอียดเกี่ยวกับพัดทรงด้ามนี้ว่า… "พัดทรง สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดาพัชรสุธาพิมลลักษณ์พระบรมราชินี พัดด้ามไม้ประดับปีกแมลงทับ ตัวพัดทำจากผ้าไหมไทยปิดเงินเปลว เขียนสีเป็นลายเทพยดาอำนวยพร บนพื้นสีครามประกอบลวดลายพรรณพฤกษา แกนพัดและห่วงพัดทำจากเงินกะไหล่ทอง แหวนสำหรับรัดพัดและสายพู่คล้องพัดเป็นไหมสีเขียวมะกอกรับกัน ร้อยสลับกับลูกปัดเงินกะไหล่ทองและลูกปัดพลอยเนื้ออ่อนสีม่วง รายชื่อคณะทำงานและช่างฝีมือ ช่างเขียนและออกแบบ: นาย หทัย บุนนาค ช่างประดับปีกแมลงทับ: นางสาว กัลยากร อัครยากูล ช่างทองทำห่วงพัดและแกนพัด : อาจารย์ศุภชัย เสริมสุขเจริญชัย และ อาจารย์จิราพร รอดคุ้ม จากมหาวิทยาลัย เพาะช่าง ช่างทำพู่และสายคล้องตลอดจนแหวนรัดพัด: นางสาว เมนาท วรรัตนวัชร ช่างประกอบตัวและจับจีบพัด: นายวันชัย เลิศไพบูลย์ผล ช่างทำกล่อง: นายวันชัย เลิศไพบูลย์ผลและนายธงชัย ตาลพวง นางสาว กุลธิดา บุนนาค ประสานงาน : นายวุฒิกร จินตนสถิตย์" เครดิตโดยอาจารย์หทัย บุนนาค(ภาพสุดท้าย) 🙏🇹🇭💜#ขอทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน #เกร็ดความรู้ #เกร็ดประวัติศาสตร์ #พยุหยาตราทางชลมารค
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 247 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงฉลองพระองค์ไทยอมรินทร์ ผ้าไหมพื้นเรียบ
    พระภูษาผ้าไหมยกดอก ลายเครือเถาราชพฤกษ์พิกุลใหญ่ ถมเกสรทองเชิงกนก
    ลายเครือเถา เป็นลายพื้นฐานอีกแบบหนึ่งที่สำคัญของลายไทย นอกเหนือจากลายกระจัง ลายกระหนก ลายประจำยาม ลายประเภทนี้จะเขียนในลักษณะคดโค้งหลายแนว แตะหรือสอดสลับกัน คล้ายการเกี่ยวพันของเถาวัลย์ โดยมีกระหนกออกจากกาบหุ้มเถาไว้ลายเครือเถาแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๓ ประเภทคือ ลายเครือเถาหางโต ลายเครือเถาใบเทศ
    ลายเครือเถาเปลว สามารถพบเห็นลายเครือเถา บริเวณหน้าบัน บานประตู หน้าต่าง หรือตู้ลายรดน้ำ หรือประดับมุก รวมถึง ลายในผ้าทอ และลายปักไหม
    วัดราชบพิธฯ พบงานวิจิตรศิลปกรรมกระเบื้องเคลือบเบญจรงค์ ประดับตกแต่งในสถาปัตยกรรม อาทิ พระมหาเจดีย์ เจดีย์ทรงระฆัง ถ่ายแบบมาจากเจดีย์ทรงระฆังอยุธยาตอนกลาง จัดเป็นทรงระฆังแบบอยุธยาแท้ที่มีลักษณะเฉพาะ คือการใช้ “มาลัยเครือเถา” กระเบื้องเบญจรงค์ลายดอกไม้ในกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ประดับส่วนฐานพระเจดีย์เต็มพื้นที่โดยรอบ องค์พระมหาเจดีย์ทั้งหมดตั้งแต่ฐานไพทีไปจนกระทั่งถึงยอด ประดับด้วย กระเบื้องเคลือบ ทั้งองค์ เป็นกระเบื้องแบบเบญจรงค์ แต่ละส่วนตกแต่งด้วยลวดลายหลายประเภท โดยรวมเรียก ลายแผลง หรือ ‘ลายแผง’ เป็นลวดลายในกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน สี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ลายกลีบบัว ลายเทพพนม ลายดอกไม้-ใบไม้ทั้งแบบไทยประเพณี แบบตะวันตก และแบบผสมผสานกัน
    กล่าวคือ โดยรอบตั้งแต่ฐานถึงชั้นประทักษิณ เป็นลายดอกไม้ประเภท ลายก้านแย่ง (ลายดอกไม้-ใบไม้) พื้นสีเหลืองทอง ลวดลายในชุดแบบเบญจรงค์ ส่วนองค์ระฆังและส่วนยอดประดับ กระเบื้องเคลือบสีเหลือง ไม่ประดับลวดลาย ถือเป็นพัฒนาการอย่างใหม่ของงานช่างในการสร้างเจดีย์ เพราะสมัยก่อนใช้การ ‘ลงรักปิดทอง’ หรือทาสี ‘น้ำปูน’ ที่เป็นสีขาวเท่านั้น จนมาถึงรัชกาลที่ ๕ จึงเปลี่ยนมาเป็นกระเบื้องเคลือบ ซึ่งมั่นคงแข็งแรงและงดงามยิ่ง
    -----
    HER ROYAL ATTIRE IN THAI AMARIN
    WITH LAMPHUN BROCADE SILK RATCHAPHRUEK PIKUN WITH GOLD-THREAD
    .
    The vine pattern is another important basic type of Thai pattern. In addition to the Krajang pattern, Kranok pattern, Prachayam pattern, this type of pattern is written in many curved lines. Tapping or inserting alternately similar to the intertwining of vines The vine pattern is divided into 3 main types: the large-tailed vine pattern, the Indian leaf vine pattern, and the flame vine pattern. The vine pattern can be found on the pediment, door panels, windows, or cabinets in gold leaf or decorated with pearls, as well as patterns in woven fabrics and silk embroidery.
    .
    Wat Ratchabophit found exquisite works of art of Benjarong glazed tiles as architectural decorations, such as the Great Stupa, a bell-shaped stupa copied from the bell-shaped stupa of the central Ayutthaya period. It is considered a bell-shaped Ayutthaya style with a unique characteristic, which is the use of “Malai Kreua Thao”, Benjarong tiles with floral patterns in a square frame, decorating the base of the stupa covering the entire area around it. The entire Great Stupa, from the base to the top, is decorated with glazed tiles throughout the entire body, which are Benjarong tiles. Each part is decorated with various types of patterns, collectively called “Lai Plaeng” or “Lai Phaeng”, which are patterns in a diamond-shaped, square frame, such as lotus petal patterns, thep Phanom pattern, and flower-leaf patterns in both traditional Thai, Western, and mixed styles.
    .
    All around from the base to the circumambulation tier is a floral pattern of the Kan Yaeng pattern (flower and leaf pattern) on a golden yellow background, in the Benjarong style. The bell-shaped body and the top are decorated with yellow glazed tiles, not decorated with patterns. This is considered a new development in the craftsmanship in building a pagoda, because in the past they used only 'lacquer and gold leaf' or white 'lime water' paint. Until the reign of King Rama V, it was changed to glazed tiles. which is stable, strong and extremely beautiful.
    _________________________________
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี : We love Her Majesty Queen Suthida Fanpage
    สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงฉลองพระองค์ไทยอมรินทร์ ผ้าไหมพื้นเรียบ พระภูษาผ้าไหมยกดอก ลายเครือเถาราชพฤกษ์พิกุลใหญ่ ถมเกสรทองเชิงกนก ลายเครือเถา เป็นลายพื้นฐานอีกแบบหนึ่งที่สำคัญของลายไทย นอกเหนือจากลายกระจัง ลายกระหนก ลายประจำยาม ลายประเภทนี้จะเขียนในลักษณะคดโค้งหลายแนว แตะหรือสอดสลับกัน คล้ายการเกี่ยวพันของเถาวัลย์ โดยมีกระหนกออกจากกาบหุ้มเถาไว้ลายเครือเถาแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๓ ประเภทคือ ลายเครือเถาหางโต ลายเครือเถาใบเทศ ลายเครือเถาเปลว สามารถพบเห็นลายเครือเถา บริเวณหน้าบัน บานประตู หน้าต่าง หรือตู้ลายรดน้ำ หรือประดับมุก รวมถึง ลายในผ้าทอ และลายปักไหม วัดราชบพิธฯ พบงานวิจิตรศิลปกรรมกระเบื้องเคลือบเบญจรงค์ ประดับตกแต่งในสถาปัตยกรรม อาทิ พระมหาเจดีย์ เจดีย์ทรงระฆัง ถ่ายแบบมาจากเจดีย์ทรงระฆังอยุธยาตอนกลาง จัดเป็นทรงระฆังแบบอยุธยาแท้ที่มีลักษณะเฉพาะ คือการใช้ “มาลัยเครือเถา” กระเบื้องเบญจรงค์ลายดอกไม้ในกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ประดับส่วนฐานพระเจดีย์เต็มพื้นที่โดยรอบ องค์พระมหาเจดีย์ทั้งหมดตั้งแต่ฐานไพทีไปจนกระทั่งถึงยอด ประดับด้วย กระเบื้องเคลือบ ทั้งองค์ เป็นกระเบื้องแบบเบญจรงค์ แต่ละส่วนตกแต่งด้วยลวดลายหลายประเภท โดยรวมเรียก ลายแผลง หรือ ‘ลายแผง’ เป็นลวดลายในกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน สี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ลายกลีบบัว ลายเทพพนม ลายดอกไม้-ใบไม้ทั้งแบบไทยประเพณี แบบตะวันตก และแบบผสมผสานกัน กล่าวคือ โดยรอบตั้งแต่ฐานถึงชั้นประทักษิณ เป็นลายดอกไม้ประเภท ลายก้านแย่ง (ลายดอกไม้-ใบไม้) พื้นสีเหลืองทอง ลวดลายในชุดแบบเบญจรงค์ ส่วนองค์ระฆังและส่วนยอดประดับ กระเบื้องเคลือบสีเหลือง ไม่ประดับลวดลาย ถือเป็นพัฒนาการอย่างใหม่ของงานช่างในการสร้างเจดีย์ เพราะสมัยก่อนใช้การ ‘ลงรักปิดทอง’ หรือทาสี ‘น้ำปูน’ ที่เป็นสีขาวเท่านั้น จนมาถึงรัชกาลที่ ๕ จึงเปลี่ยนมาเป็นกระเบื้องเคลือบ ซึ่งมั่นคงแข็งแรงและงดงามยิ่ง ----- HER ROYAL ATTIRE IN THAI AMARIN WITH LAMPHUN BROCADE SILK RATCHAPHRUEK PIKUN WITH GOLD-THREAD . The vine pattern is another important basic type of Thai pattern. In addition to the Krajang pattern, Kranok pattern, Prachayam pattern, this type of pattern is written in many curved lines. Tapping or inserting alternately similar to the intertwining of vines The vine pattern is divided into 3 main types: the large-tailed vine pattern, the Indian leaf vine pattern, and the flame vine pattern. The vine pattern can be found on the pediment, door panels, windows, or cabinets in gold leaf or decorated with pearls, as well as patterns in woven fabrics and silk embroidery. . Wat Ratchabophit found exquisite works of art of Benjarong glazed tiles as architectural decorations, such as the Great Stupa, a bell-shaped stupa copied from the bell-shaped stupa of the central Ayutthaya period. It is considered a bell-shaped Ayutthaya style with a unique characteristic, which is the use of “Malai Kreua Thao”, Benjarong tiles with floral patterns in a square frame, decorating the base of the stupa covering the entire area around it. The entire Great Stupa, from the base to the top, is decorated with glazed tiles throughout the entire body, which are Benjarong tiles. Each part is decorated with various types of patterns, collectively called “Lai Plaeng” or “Lai Phaeng”, which are patterns in a diamond-shaped, square frame, such as lotus petal patterns, thep Phanom pattern, and flower-leaf patterns in both traditional Thai, Western, and mixed styles. . All around from the base to the circumambulation tier is a floral pattern of the Kan Yaeng pattern (flower and leaf pattern) on a golden yellow background, in the Benjarong style. The bell-shaped body and the top are decorated with yellow glazed tiles, not decorated with patterns. This is considered a new development in the craftsmanship in building a pagoda, because in the past they used only 'lacquer and gold leaf' or white 'lime water' paint. Until the reign of King Rama V, it was changed to glazed tiles. which is stable, strong and extremely beautiful. _________________________________ #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี : We love Her Majesty Queen Suthida Fanpage
    Love
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 370 มุมมอง 0 รีวิว
  • ดูดอกไม้ประดับงานกฐินวัดไกลกังวลเขาสารพัดดี(ศรีเจริญธรรม)19ต.ค.๒๕๖๗
    ดูดอกไม้ประดับงานกฐินวัดไกลกังวลเขาสารพัดดี(ศรีเจริญธรรม)19ต.ค.๒๕๖๗
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 183 มุมมอง 78 0 รีวิว
  • " ไม้ด่างไม้ประดับมหาชัย " จำหน่ายไม้ด่าง ไม้ประดับ ไม้มงคล ไม้เลื้อย ไม้ฟอกอากาศ บอนสี กล้วยด่าง
    " ไม้ด่างไม้ประดับมหาชัย " จำหน่ายไม้ด่าง ไม้ประดับ ไม้มงคล ไม้เลื้อย ไม้ฟอกอากาศ บอนสี กล้วยด่าง
    🪴จำหน่ายไม้สวย ในราคาแบ่งปันไม้
    ราคาเริ่มต้นที่ 29บาท🌿
    ค่าส่ง 80 บาท
    *** รายละเอียดในคอมเม้นเลยจ้า

    #Scindapsus #พลูเกร็ดมังกร #แบรนเทียนั่ม #พลูกินหมากด่าง #พลูแอปเปิ้ล #พลูงาช้าง #พลูเสือพราน #พลูปีกนก #พลูระเบิด #พลูสนิม #พลูบราซิล #พลูอินโดหลังแดง #พลูลงยาป่า #พลูใบเงิน #พลูหินอ่อน #ไตรคัลเลอร์ #มิลล์คอนเฟตติ #เงินไหลมาด่างขาว #ออมเพชร #ไวโอลินสีทอง #ฟิโลสีทอง #ไทซันไรส์ #เบอร์เบิ้นมาร์ค #เสน่ห์จันทร์ประกายดาว #ไม้ด่างไม้ประดับมหาชัย
    #ไม้ด่าง #ไม้ประดับ #ไม้เลื้อย #ไม้ฟอกอากาศ #ไม้มงคล #บอนสี #กล้วยด่าง
    Wow
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🪴จำหน่ายไม้สวย ในราคาแบ่งปันไม้
    ราคาเริ่มต้นที่ 29บาท🌿
    ค่าส่ง 80 บาท
    *** รายละเอียดในคอมเม้นเลยจ้า

    #Scindapsus #พลูเกร็ดมังกร #แบรนเทียนั่ม #พลูกินหมากด่าง #พลูแอปเปิ้ล #พลูงาช้าง #พลูเสือพราน #พลูปีกนก #พลูระเบิด #พลูสนิม #พลูบราซิล #พลูอินโดหลังแดง #พลูลงยาป่า #พลูใบเงิน #พลูหินอ่อน #ไตรคัลเลอร์ #มิลล์คอนเฟตติ #เงินไหลมาด่างขาว #ออมเพชร #ไวโอลินสีทอง #ฟิโลสีทอง #ไทซันไรส์ #เบอร์เบิ้นมาร์ค #เสน่ห์จันทร์ประกายดาว #ไม้ด่างไม้ประดับมหาชัย
    #ไม้ด่าง #ไม้ประดับ #ไม้เลื้อย #ไม้ฟอกอากาศ #ไม้มงคล #บอนสี #กล้วยด่าง
    🪴จำหน่ายไม้สวย ในราคาแบ่งปันไม้ ราคาเริ่มต้นที่ 29บาท🌿 ค่าส่ง 80 บาท *** รายละเอียดในคอมเม้นเลยจ้า #Scindapsus #พลูเกร็ดมังกร #แบรนเทียนั่ม #พลูกินหมากด่าง #พลูแอปเปิ้ล #พลูงาช้าง #พลูเสือพราน #พลูปีกนก #พลูระเบิด #พลูสนิม #พลูบราซิล #พลูอินโดหลังแดง #พลูลงยาป่า #พลูใบเงิน #พลูหินอ่อน #ไตรคัลเลอร์ #มิลล์คอนเฟตติ #เงินไหลมาด่างขาว #ออมเพชร #ไวโอลินสีทอง #ฟิโลสีทอง #ไทซันไรส์ #เบอร์เบิ้นมาร์ค #เสน่ห์จันทร์ประกายดาว #ไม้ด่างไม้ประดับมหาชัย #ไม้ด่าง #ไม้ประดับ #ไม้เลื้อย #ไม้ฟอกอากาศ #ไม้มงคล #บอนสี #กล้วยด่าง
    18 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 7198 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และ พระพุทธเลิศหล้านภาไลย ภายในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (ใช้กล้องโทรศัพท์ซูมจากภายนอกพระอุโบสถ) เป็นพระพุทธรูปยืนแบบสมภังค์ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ปางห้ามสมุทร สูง ๖ ศอกหล่อด้วยสัมฤทธิ์เป็นแกนในแล้วหุ้มทองคำหนัก ๖๓ ชั่ง ๑๔ ตำลึง ทรงเครื่องต้นจักรพรรดิราชาธิราช พระพุทธรูปมีพระพักตร์เป็นรูปวงรี พระขนงโก่ง พระเนตรเหลือบต่ำ พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์เรียว แย้มสรวล และพระกรรณค่อนข้างยาว มีอุณาโลมบนพระนลาฏ ทรงชฎามงกุฎ ประกอบด้วยกรรเจียกจร พระพุทธรูปแสดงปางห้ามสมุทร หรืออภัย มุทราด้วยพระหัตถ์ทั้งสองข้างยกขึ้นเสมอพระอุระตั้งฝ่าพระหัตถ์ยื่นออกไปช้างหน้า นิ้วพระหัตถ์ยาวเสมอกันทั้ง ๔ นิ้ว องค์พระพุทธรูปครองอุตราสงค์ห่มเฉียงเปิดพระอังสาขวา มีชายอุตราสงค์ซ้อนทบพาดเหนือพระอังสาช้ายปลายจรดพระนาภี เครื่องแต่งพระองค์ ประกอบด้วยกรองศอ อีกทั้งช่อดอกไม้ประดับ ด้านหน้าพระศอ สังวาลเฉวียง พระอังสาทั้งสองข้างประดับด้วยทับทรวงบริเวณ กึ่งกลางพระอุระ ทรงพาหุรัด ทองกร พระธำมรงค์ทุกนิ้วพระหัตถ์ ทรงสายรัดพระองค์ซึ่งมีปั้นเหน่งรูปดอกไม้แปดเหลี่ยมประดับเบื้องหน้า ด้านล่างของปั่นเหน่งมีสุวรรณกระถอบห้อยอยู่เบื้องหน้าของเจียระบาด และอันตรวาสก กับทั้ง มีชายไหว ชายแครงเป็นลายกนกใบเทศซ้อนกันสามชั้น ทรงทองพระบาทและฉลองพระบาทเชิงงอน พระพุทธรูปประทับยืนบนปัทมาสน์ประดับด้วยกลีบบัว และเกสรเหนือฐานแข้งสิงห์จำหลักลายมีสิงห์แบก ครุฑแบกและเทวดาแบก ลดหลั่นกันตามลำดับ พระพุทธปฏิมาองค์นี้สูงจากฐานถึงยอดมงกกุฎ ๓ เมตร กางกั้นด้วยสัปตปฎล สุวรรณฉัตรคันดาน ที่มา : หอสมุดพิกุลศิลปาคาร #พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ #พระพุทธเลิศหล้านภาไลย #พระยืน #ทอง #วัดพระแก้ว #พระบรมมหาราชวัง #grandpalacebangkok #thailand #bangkok
    พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และ พระพุทธเลิศหล้านภาไลย ภายในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (ใช้กล้องโทรศัพท์ซูมจากภายนอกพระอุโบสถ) เป็นพระพุทธรูปยืนแบบสมภังค์ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ปางห้ามสมุทร สูง ๖ ศอกหล่อด้วยสัมฤทธิ์เป็นแกนในแล้วหุ้มทองคำหนัก ๖๓ ชั่ง ๑๔ ตำลึง ทรงเครื่องต้นจักรพรรดิราชาธิราช พระพุทธรูปมีพระพักตร์เป็นรูปวงรี พระขนงโก่ง พระเนตรเหลือบต่ำ พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์เรียว แย้มสรวล และพระกรรณค่อนข้างยาว มีอุณาโลมบนพระนลาฏ ทรงชฎามงกุฎ ประกอบด้วยกรรเจียกจร พระพุทธรูปแสดงปางห้ามสมุทร หรืออภัย มุทราด้วยพระหัตถ์ทั้งสองข้างยกขึ้นเสมอพระอุระตั้งฝ่าพระหัตถ์ยื่นออกไปช้างหน้า นิ้วพระหัตถ์ยาวเสมอกันทั้ง ๔ นิ้ว องค์พระพุทธรูปครองอุตราสงค์ห่มเฉียงเปิดพระอังสาขวา มีชายอุตราสงค์ซ้อนทบพาดเหนือพระอังสาช้ายปลายจรดพระนาภี เครื่องแต่งพระองค์ ประกอบด้วยกรองศอ อีกทั้งช่อดอกไม้ประดับ ด้านหน้าพระศอ สังวาลเฉวียง พระอังสาทั้งสองข้างประดับด้วยทับทรวงบริเวณ กึ่งกลางพระอุระ ทรงพาหุรัด ทองกร พระธำมรงค์ทุกนิ้วพระหัตถ์ ทรงสายรัดพระองค์ซึ่งมีปั้นเหน่งรูปดอกไม้แปดเหลี่ยมประดับเบื้องหน้า ด้านล่างของปั่นเหน่งมีสุวรรณกระถอบห้อยอยู่เบื้องหน้าของเจียระบาด และอันตรวาสก กับทั้ง มีชายไหว ชายแครงเป็นลายกนกใบเทศซ้อนกันสามชั้น ทรงทองพระบาทและฉลองพระบาทเชิงงอน พระพุทธรูปประทับยืนบนปัทมาสน์ประดับด้วยกลีบบัว และเกสรเหนือฐานแข้งสิงห์จำหลักลายมีสิงห์แบก ครุฑแบกและเทวดาแบก ลดหลั่นกันตามลำดับ พระพุทธปฏิมาองค์นี้สูงจากฐานถึงยอดมงกกุฎ ๓ เมตร กางกั้นด้วยสัปตปฎล สุวรรณฉัตรคันดาน ที่มา : หอสมุดพิกุลศิลปาคาร #พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ #พระพุทธเลิศหล้านภาไลย #พระยืน #ทอง #วัดพระแก้ว #พระบรมมหาราชวัง #grandpalacebangkok #thailand #bangkok
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 194 มุมมอง 31 0 รีวิว
  • งานกิน เที่ยว ใช้ มหกรรมคอนเสิร์ต และอาหาร เฟอร์นิเจอร์ ไม้ดอกไม้ประดับ ณ บริเวณถนนเทศบาล สาย 7 อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ระหว่างวันที่ 27 กันยายน ถึงวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2567
    งานกิน เที่ยว ใช้ มหกรรมคอนเสิร์ต และอาหาร เฟอร์นิเจอร์ ไม้ดอกไม้ประดับ ณ บริเวณถนนเทศบาล สาย 7 อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ระหว่างวันที่ 27 กันยายน ถึงวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2567
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 104 มุมมอง 0 รีวิว