• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 968
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ.
    เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    มิจฉาปฏิปทานี้คือ
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #มิจฉาปฏิปทา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=มิจฺฉาปฏิปทา

    --ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    สัมมาปฏิปทานี้คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สัมมาปฏิปทา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/23/?keywords=สมฺมาปฏิปทา
    -
    [สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา ;
    ในสูตรอื่น
    (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    )
    ตรัสเรียกว่า #สัมมาปฏิบัติ ก็มี.อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา
    ในสูตรบางแห่ง
    (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    )

    ตรัสเรียก #ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี.

    (ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี -
    ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91
    ).
    เป็นอันว่า
    ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร
    ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ;
    ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง
    ]

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/65-67.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๕-๖๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=968
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 968 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น. --ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? มิจฉาปฏิปทานี้คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #มิจฉาปฏิปทา. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=มิจฺฉาปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? สัมมาปฏิปทานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สัมมาปฏิปทา. http://etipitaka.com/read/pali/19/23/?keywords=สมฺมาปฏิปทา - [สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา ; ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑ http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ) ตรัสเรียกว่า #สัมมาปฏิบัติ ก็มี.อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา ในสูตรบางแห่ง (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑ http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 ) ตรัสเรียก #ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี. (ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑ http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91 ). เป็นอันว่า ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ; ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง ] #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/65-67. http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๕-๖๗. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=968 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    -(ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์ พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม; แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน, และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย. เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้. อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่นจำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็น กัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง, ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น ซึ่งได้กล่าวไว้ในหมายเหตุท้ายหัวข้อนั้นๆ ที่หน้า ๑๔๑๙, ๑๔๒๑, ๑๔๕๘ แห่งหนังสือนี้ ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง, นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง). อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น. ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? มิจฉาปฏิปทานี้คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มิจฉาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? สัมมาปฏิปทานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สัมาปฏิปทา.
    0 Comments 0 Shares 66 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    สัทธรรมลำดับที่ : 967
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    (พระอานนท์ได้เห็นชาณุสโสณีพราหมณ์ นั่งรถขาวเทียมด้วยม้าขาวเครื่องประดับประดาทุกส่วนขาว ถือพัดวาลวีชนีขาว จนกระทั่งประชาชนเห็นแล้วร้องว่า พรหมยาน ว่าลักษณะแห่งพรหมยาน, ดังนี้แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามว่า :- )​
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้องค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาค อาจจะบัญญัติพรหมยานขึ้น ในธรรมวินัยนี้ ได้หรือไม่หนอ ?”
    --อาจซิ อานนท์ ! คำว่า พรหมยาน นั้น เป็นอธิวจนะ (คำแทนชื่อ)
    http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=อธิวจนํ
    แห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง;
    เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.
    --อานนท์ ! สัมมาทิฏฐิ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน.
    +--สัมมาสังกัปปะ ....
    +--สัมมาวาจา ....
    +--สัมมากัมมันตะ ....
    +--สัมมาอาชีวะ ....
    +--สัมมาวายามะ ....
    +--สัมมาสติ ....
    +--สัมมาสมาธิ ....
    อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน.
    --อานนท์ ! พึงทราบโดยปริยายนี้แล ว่าคำว่า
    พรหมยาน นั้นเป็น อธิวจนะแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ;
    เรียกว่า #พรหมยาน บ้าง #ธรรมยาน บ้าง #อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/7/?keywords=สงฺคามวิชโย

    (ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์
    พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม;
    แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน,
    และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย.
    เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้.
    อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่น
    จำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี
    ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็นกัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และ
    ในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง,
    ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น
    ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง,
    นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง
    )

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/4-5/13-23.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖-๗/๑๓-๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=967
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ สัทธรรมลำดับที่ : 967 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ (พระอานนท์ได้เห็นชาณุสโสณีพราหมณ์ นั่งรถขาวเทียมด้วยม้าขาวเครื่องประดับประดาทุกส่วนขาว ถือพัดวาลวีชนีขาว จนกระทั่งประชาชนเห็นแล้วร้องว่า พรหมยาน ว่าลักษณะแห่งพรหมยาน, ดังนี้แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามว่า :- )​ --“ข้าแต่พระองค์ผู้องค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาค อาจจะบัญญัติพรหมยานขึ้น ในธรรมวินัยนี้ ได้หรือไม่หนอ ?” --อาจซิ อานนท์ ! คำว่า พรหมยาน นั้น เป็นอธิวจนะ (คำแทนชื่อ) http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=อธิวจนํ แห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง; เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง. --อานนท์ ! สัมมาทิฏฐิ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. +--สัมมาสังกัปปะ .... +--สัมมาวาจา .... +--สัมมากัมมันตะ .... +--สัมมาอาชีวะ .... +--สัมมาวายามะ .... +--สัมมาสติ .... +--สัมมาสมาธิ .... อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. --อานนท์ ! พึงทราบโดยปริยายนี้แล ว่าคำว่า พรหมยาน นั้นเป็น อธิวจนะแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ; เรียกว่า #พรหมยาน บ้าง #ธรรมยาน บ้าง #อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.- http://etipitaka.com/read/pali/19/7/?keywords=สงฺคามวิชโย (ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์ พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม; แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน, และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย. เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้. อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่น จำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็นกัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และ ในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง, ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง, นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง ) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/4-5/13-23. http://etipitaka.com/read/thai/19/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖-๗/๑๓-๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=967 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    -[ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ. ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมัตตะ. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า กุสลธัมม. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปัตติ. ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สมถะและวิปัสสนา]. อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ (พระอานนท์ได้เห็นชาณุสโสณีพราหมณ์ นั่งรถขาวเทียมด้วยม้าขาวเครื่องประดับประดาทุกส่วนขาว ถือพัดวาลวีชนีขาว จนกระทั่งประชาชนเห็นแล้วร้องว่า พรหมยาน ว่าลักษณะแห่งพรหมยาน, ดังนี้แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามว่า :-) “ข้าแต่พระองค์ผู้องค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาค อาจจะบัญญัติพรหมยานขึ้น ในธรรมวินัยนี้ ได้หรือไม่หนอ ?” อาจซิ อานนท์ ! คำว่า พรหมยาน นั้น เป็นอธิวจนะ (คำแทนชื่อ) แห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง; เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง. อานนท์ ! สัมมาทิฏฐิ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. สัมมาสังกัปปะ .... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ .... สัมมาอาชีวะ .... สัมมาวายามะ .... สัมมาสติ .... สัมมาสมาธิ .... อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. อานนท์ ! พึงทราบโดยปริยายนี้แล ว่าคำว่า พรหมยาน นั้นเป็น อธิวจนะแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ; เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.
    0 Comments 0 Shares 171 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 966
    ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง)
    --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ
    --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.-

    [
    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 966 ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 เนื้อความทั้งหมด :- --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง) --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.- [ --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม). http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป). http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100. http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒๑
    -นิทเทศ ๒๑ ว่าด้วย สัมมาสมาธิ จบ นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค (มี ๗๕ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์ อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ (ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ .... ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.
    0 Comments 0 Shares 179 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 597
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก
    เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย.
    เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
    ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ;
    นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย.
    ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน
    การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม
    มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย.
    อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่
    อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย,
    และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 597 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็น ส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 207 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 964
    ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    ...
    --[กรณีของปฐมฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น
    มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด;
    เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด;
    กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ;
    ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข;
    จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น.

    +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป;
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของทุติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว
    ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของตติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า
    “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของจตุตถฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้,
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน,
    จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป,
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.
    ...
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 964 ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 เนื้อความทั้งหมด :- --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ ... --[กรณีของปฐมฌาน] --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. ... #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282. http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ [กรณีของปฐมฌาน] โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้นมองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอ ย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. (ในกรณีแห่ง อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ และอากิญจัญญายตนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    0 Comments 0 Shares 143 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    สัทธรรมลำดับที่ : 963
    ชื่อบทธรรม : -ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเป็นผู้ มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่
    จิตย่อมไม่เกลือกกลั้วในรูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ;
    เมื่อเขามีจิตไม่เกลือกกลั้ว ปราโมทย์ย่อมเกิด;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด;
    เมื่อมีจิตปีติ กายย่อมสงบ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=ปีติมนสฺส+ปสฺสทฺธกาโย
    ผู้มีกายสงบ ย่อมอยู่เป็นสุข;
    จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น;
    เมื่อจิตตั้งมั่นแล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=สมาหิเต+จิตฺเต+ธมฺมานํ+ปาตุภาวา
    เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ บุคคลนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับว่า
    เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า #บุคคลเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.

    (ในกรณีแห่งผู้ มีปกติอยู่ด้วยความประมาท ก็ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม).-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/80/144.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๙๘/๑๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=963
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท สัทธรรมลำดับที่ : 963 ชื่อบทธรรม : -ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท --ภิกษุ ท. ! บุคคลเป็นผู้ มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่ จิตย่อมไม่เกลือกกลั้วในรูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ; เมื่อเขามีจิตไม่เกลือกกลั้ว ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด; เมื่อมีจิตปีติ กายย่อมสงบ; http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=ปีติมนสฺส+ปสฺสทฺธกาโย ผู้มีกายสงบ ย่อมอยู่เป็นสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น; เมื่อจิตตั้งมั่นแล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ; http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=สมาหิเต+จิตฺเต+ธมฺมานํ+ปาตุภาวา เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ บุคคลนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า #บุคคลเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท. (ในกรณีแห่งผู้ มีปกติอยู่ด้วยความประมาท ก็ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม).- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/80/144. http://etipitaka.com/read/thai/18/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๙๘/๑๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=963 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    0 Comments 0 Shares 125 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป
    สัทธรรมลำดับที่ : 959
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=959
    ชื่อบทธรรม :- จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป สำหรับการบรรลุฌาน และทำให้แจ้งมรรคผล
    --ภิกษุ ท. ! เพราะไม่ละธรรม ๕ อย่าง
    +--บุคคลจึงไม่ควรเข้าอยู่ ซึ่ง
    ปฐมฌาน
    ทุติยฌาน
    ตติยฌาน
    จตุตถฌาน
    +--ไม่ควรเพื่อกระทำให้แจ้ง ซึ่ง
    โสดาปัตติผล
    สกทาคามิผล
    อนาคามิผล
    อรหัตตผล.
    ธรรม ๕ อย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ
    ๑--ความตระหนี่อาวาส
    http://etipitaka.com/read/pali/22/303/?keywords=อาวาสมจฺฉริยํ
    ๒--ความตระหนี่ตระกูล
    ๓--ความตระหนี่ลาภ
    ๔--ความตระหนี่วรรณะ (ความดี)
    ๕--ความตระหนี่ธรรม (เครื่องให้บรรลุมรรคผล).
    http://etipitaka.com/read/pali/22/303/?keywords=ธมฺมมจฺฉริยํ

    (ต่อจากนี้ ได้ตรัสโดยนัยตรงกันข้าม
    ถึงการละธรรม ๕ อย่างนั้นแล้ว
    ควรเพื่อเข้าอยู่ในฌานและกระทำให้แจ้งซึ่งมรรคผล).-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/251/256 - 357.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/251/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๓๐๒/๒๕๖ - ๓๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=959
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=959
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป สัทธรรมลำดับที่ : 959 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=959 ชื่อบทธรรม :- จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป เนื้อความทั้งหมด :- --จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป สำหรับการบรรลุฌาน และทำให้แจ้งมรรคผล --ภิกษุ ท. ! เพราะไม่ละธรรม ๕ อย่าง +--บุคคลจึงไม่ควรเข้าอยู่ ซึ่ง ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน +--ไม่ควรเพื่อกระทำให้แจ้ง ซึ่ง โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผล. ธรรม ๕ อย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ ๑--ความตระหนี่อาวาส http://etipitaka.com/read/pali/22/303/?keywords=อาวาสมจฺฉริยํ ๒--ความตระหนี่ตระกูล ๓--ความตระหนี่ลาภ ๔--ความตระหนี่วรรณะ (ความดี) ๕--ความตระหนี่ธรรม (เครื่องให้บรรลุมรรคผล). http://etipitaka.com/read/pali/22/303/?keywords=ธมฺมมจฺฉริยํ (ต่อจากนี้ ได้ตรัสโดยนัยตรงกันข้าม ถึงการละธรรม ๕ อย่างนั้นแล้ว ควรเพื่อเข้าอยู่ในฌานและกระทำให้แจ้งซึ่งมรรคผล).- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/251/256 - 357. http://etipitaka.com/read/thai/22/251/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๓๐๒/๒๕๖ - ๓๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/22/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=959 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=959 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป
    -จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป สำหรับการบรรลุฌาน และทำให้แจ้งมรรคผล ภิกษุ ท. ! เพราะไม่ละธรรม ๕ อย่าง บุคคลจึงไม่ควรเข้าอยู่ ซึ่ง ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ไม่ควรเพื่อกระทำให้แจ้ง ซึ่งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผล. ธรรม ๕ อย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ ความตระหนี่อาวาส ความตระหนี่ตระกูล ความตระหนี่ลาภ ความตระหนี่วรรณะ (ความดี) ความตระหนี่ธรรม (เครื่องให้บรรลุมรรคผล). (ต่อจากนี้ ได้ตรัสโดยนัยตรงกันข้ามถึงการละธรรม ๕ อย่างนั้นแล้ว ควรเพื่อเข้าอยู่ในฌานและกระทำให้แจ้งซึ่งมรรคผล).
    0 Comments 0 Shares 152 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    สัทธรรมลำดับที่ : 958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958
    ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    --ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้
    ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่.
    ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : -
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว
    จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ
    จักกระทำให้แจ้งซึ่ง #ญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=อลมริยญาณทสฺสน
    ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้
    นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา
    ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้
    มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น
    เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกล
    ไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด;

    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว
    จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ
    จักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ
    ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้
    นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/74/?keywords=อริยาย+นิพฺเพธิกาย
    ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง
    เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก
    ฉะนั้น
    ).-

    #สัมมาวายามะ#สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/56​/51.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/56/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง สัทธรรมลำดับที่ : 958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958 ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง เนื้อความทั้งหมด :- --นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง --ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้ ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : - +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ จักกระทำให้แจ้งซึ่ง #ญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=อลมริยญาณทสฺสน ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้ มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกล ไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ จักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ http://etipitaka.com/read/pali/22/74/?keywords=อริยาย+นิพฺเพธิกาย ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก ฉะนั้น ).- #สัมมาวายามะ​ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/56​/51. http://etipitaka.com/read/thai/22/56/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้ ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือจักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้ มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกลไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือจักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก ฉะนั้น).
    0 Comments 0 Shares 153 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​--นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 957
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957
    ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ
    --นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    --วาเสฏฐะ ! เปรียบเหมือนแม่น้ำอจิรวดีนี้ มีน้ำเต็มเปี่ยม กายืนดื่มได้.
    ครั้งนั้น มีบุรุษคนหนึ่งมาถึงเข้า เขามีประโยชน์ที่ฝั่งโน้น
    แสวงหาฝั่งโน้น มีการไปสู่ฝั่งโน้น ประสงค์จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้น
    แต่เขานอนคลุมศีรษะของตนอยู่ที่ริมฝั่งนี้.
    --วาเสฏฐะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : บุรุษนั้นจะไปจากฝั่งในสู่ฝั่งนอกแห่งแม่น้ำอจิรวดีได้หรือหนอ ?
    “ไม่ได้แน่ ท่านพระโคดม !”
    --วาเสฏฐะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้เรียกกันในอริยวินัย
    http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=นีวรณา+ปญฺจ
    ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง.
    ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ
    กามฉันทนิวรณ์
    พ๎ยาปาทนิวรณ์
    ถีนมิทธนิวรณ์
    อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์
    วิจิกิจฉานิวรณ์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=วิจิกิจฺฉานีวรณํ
    --วาเสฏฐะ ! นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้แล ซึ่งเรียกกันในอริยวินัย
    ว่า “เครื่องปิด” บ้าง
    ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง
    ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง
    ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง.
    --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพททั้งหลาย ถูกนิวรณ์ ๕ อย่างเหล่านี้
    ปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว.
    --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพทเหล่านั้น
    ละธรรมะที่ทำความเป็นพราหมณ์เสีย
    สมาทานธรรมะที่ไม่ทำความเป็นพราหมณ์ดำรงชีวิตให้เป็นไปอยู่
    อัน นิวรณ์ทั้ง ๕ อย่างเปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว
    จักเป็นผู้เข้าถึงความเป็นสหายแห่งพรหม
    ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย
    ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/366-367/378-379.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๓๐๖-๓๐๗/๓๗๘-๓๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=957
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​--นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 957 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957 ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ --นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ --วาเสฏฐะ ! เปรียบเหมือนแม่น้ำอจิรวดีนี้ มีน้ำเต็มเปี่ยม กายืนดื่มได้. ครั้งนั้น มีบุรุษคนหนึ่งมาถึงเข้า เขามีประโยชน์ที่ฝั่งโน้น แสวงหาฝั่งโน้น มีการไปสู่ฝั่งโน้น ประสงค์จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้น แต่เขานอนคลุมศีรษะของตนอยู่ที่ริมฝั่งนี้. --วาเสฏฐะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นจะไปจากฝั่งในสู่ฝั่งนอกแห่งแม่น้ำอจิรวดีได้หรือหนอ ? “ไม่ได้แน่ ท่านพระโคดม !” --วาเสฏฐะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้เรียกกันในอริยวินัย http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=นีวรณา+ปญฺจ ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ กามฉันทนิวรณ์ พ๎ยาปาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์. http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=วิจิกิจฺฉานีวรณํ --วาเสฏฐะ ! นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้แล ซึ่งเรียกกันในอริยวินัย ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพททั้งหลาย ถูกนิวรณ์ ๕ อย่างเหล่านี้ ปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว. --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพทเหล่านั้น ละธรรมะที่ทำความเป็นพราหมณ์เสีย สมาทานธรรมะที่ไม่ทำความเป็นพราหมณ์ดำรงชีวิตให้เป็นไปอยู่ อัน นิวรณ์ทั้ง ๕ อย่างเปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว จักเป็นผู้เข้าถึงความเป็นสหายแห่งพรหม ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/366-367/378-379. http://etipitaka.com/read/thai/9/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๓๐๖-๓๐๗/๓๗๘-๓๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=957 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ--นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    -(บาลีพระสูตรนี้ ได้ทำให้เกิดประเพณีสวดคิริมานนทสูตร ให้คนเจ็บฟัง เพื่อจะได้หายเจ็บไข้ เช่นเดียวกับโพชฌงคสูตร. บางคนอาจจะสงสัยว่า มิเป็นการผิดหลักกรรมหรือเหตุปัจจัยไปหรือ ที่ความทุกข์ดับไปโดยไม่มีการดับเหตุแห่งทุกข์ ตามหลักแห่งจตุราริยสัจ. ข้อนี้ขอให้เข้าใจว่า การฟังธรรมของพระคิริมานนท์ ทำให้มีธรรมปีติอย่างแรงกล้า อำนาจของธรรมปีตินั้นสามารถระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา ทุกขเวทนาจึงระงับไป ดุจดังว่าหายจากอาพาธ; กล่าวได้ว่ามีปัจจัยเพื่อการดับแห่งทุกข์อริยสัจ; ไม่ผิดไปจากกฎเกณฑ์แห่งกรรมหรือกฎเกณฑ์แห่งเหตุปัจจัยเลย; เป็นการดับทุกข์ได้วิธีหนึ่ง จึงนำข้อความนี้ มาใส่ไว้ในหมวดนี้). หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ วาเสฏฐะ ! เปรียบเหมือนแม่น้ำอจิรวดีนี้ มีน้ำเต็มเปี่ยม กายืนดื่มได้. ครั้งนั้น มีบุรุษคนหนึ่งมาถึงเข้า เขามีประโยชน์ที่ฝั่งโน้น แสวงหาฝั่งโน้น มีการไปสู่ฝั่งโน้น ประสงค์จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้น แต่เขานอนคลุมศีรษะของตนอยู่ที่ริมฝั่งนี้. วาเสฏฐะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นจะไปจากฝั่งในสู่ฝั่งนอกแห่งแม่น้ำอจิรวดีได้หรือหนอ ? “ไม่ได้แน่ ท่านพระโคดม !” วาเสฏฐะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้เรียกกันในอริยวินัย ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ กามฉันทนิวรณ์ พ๎ยาปาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์. วาเสฏฐะ ! นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้แล ซึ่งเรียกกันในอริยวินัย ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพททั้งหลาย ถูกนิวรณ์ ๕ อย่างเหล่านี้ ปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว. วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพทเหล่านั้น ละธรรมะที่ทำความเป็นพราหมณ์เสีย สมาทานธรรมะที่ไม่ทำความเป็นพราหมณ์ดำรงชีวิตให้เป็นไปอยู่ อัน นิวรณ์ทั้ง ๕ อย่างเปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว จักเป็นผู้เข้าถึงความเป็นสหายแห่งพรหม ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้.
    0 Comments 0 Shares 173 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 150
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ;
    เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ ,
    อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150

    สัทธรรมลำดับที่ : 151
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น,
    เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ;
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151

    สัทธรรมลำดับที่ : 152
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
    พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :-
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ?
    ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
    อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ?
    อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ?
    อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?”
    --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ;
    --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา.
    +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ.
    +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ.
    +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ;
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ;
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ;
    สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา.
    +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา.
    +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 150 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59. http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150 สัทธรรมลำดับที่ : 151 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ; ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114. http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151 สัทธรรมลำดับที่ : 152 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :- “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ? ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ? อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ? อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?” --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ; --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา. +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ. +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ. +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ; สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา. +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา. +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
    -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.
    0 Comments 0 Shares 238 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 955
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=955
    ชื่อบทธรรม : -ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ
    --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาตถาคตพลญาน ๖ ประการเหล่านั้น
    http://etipitaka.com/read/pali/22/469/?keywords=ตถาคต+ฌานวิโมกฺขสมาธิสมาปตฺตีนํ
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นฐานะโดยความเป็นฐานะ
    และในสิ่งซึ่งเป็นอฐานะโดยความเป็นอฐานะ
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นวิบาก
    โดยฐานะโดยเหตุ ของกัมมสมาทาน อันเป็นอดีต อนาคตและปัจจุบัน
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในความเศร้าหมอง ความผ่องแผ้ว
    ความออกแห่งฌาน วิโมกข์ สมาธิ และสมาบัติ
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในปุพเพนิวาสานุสสติ
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในการจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #สมาธิเป็นมรรค(แท้) อสมาธิเป็นมรรคลวง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/22/471/?keywords=สมาธิ+อสมาธิ

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/372/335.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/372/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๙/๓๓๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/469/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=955
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=955
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 955 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=955 ชื่อบทธรรม : -ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาตถาคตพลญาน ๖ ประการเหล่านั้น http://etipitaka.com/read/pali/22/469/?keywords=ตถาคต+ฌานวิโมกฺขสมาธิสมาปตฺตีนํ +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นฐานะโดยความเป็นฐานะ และในสิ่งซึ่งเป็นอฐานะโดยความเป็นอฐานะ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นวิบาก โดยฐานะโดยเหตุ ของกัมมสมาทาน อันเป็นอดีต อนาคตและปัจจุบัน ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในความเศร้าหมอง ความผ่องแผ้ว ความออกแห่งฌาน วิโมกข์ สมาธิ และสมาบัติ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในปุพเพนิวาสานุสสติ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในการจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #สมาธิเป็นมรรค(แท้) อสมาธิเป็นมรรคลวง.- http://etipitaka.com/read/pali/22/471/?keywords=สมาธิ+อสมาธิ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/372/335. http://etipitaka.com/read/thai/22/372/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๙/๓๓๕. http://etipitaka.com/read/pali/22/469/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=955 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=955 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ
    -ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ภิกษุ ท. ! ในบรรดาตถาคตพลญาน ๖ ประการเหล่านั้น เรากล่าวยถาภูตญาณในสิ่งซึ่งเป็นฐานะโดยความเป็นฐานะ และในสิ่งซึ่งเป็นอฐานะโดยความเป็นอฐานะ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในสิ่งซึ่งเป็นวิบาก โดยฐานะโดยเหตุ ของกัมมสมาทาน อันเป็นอดีต อนาคตและปัจจุบัน ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับ ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในความเศร้าหมอง ความผ่องแผ้ว ความออกแห่งฌาน วิโมกข์ สมาธิ และสมาบัติ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในปุพเพนิวาสานุสสติ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในการจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้แล สมาธิ เป็นมรรค (แท้) อสมาธิเป็นมรรคลวง.
    0 Comments 0 Shares 160 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    ๑.ความรักเกิดจากความรัก
    ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก
    ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด
    ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น.
    ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน
    http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง
    &ทุติยฌาน ....
    &ตติยฌาน ....
    &จตุตถฌาน ....
    http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ
    แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.

    (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ
    ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก
    พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว”
    ).-

    ​#สัมมาสมาธิ​
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เนื้อความทั้งหมด :- --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ๑.ความรักเกิดจากความรัก ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง &ทุติยฌาน .... &ตติยฌาน .... &จตุตถฌาน .... http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ).- ​#สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200. http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    -(ในสูตรอื่น (ฉกฺก.อํ. ๒๒/๓๔๘/๒๙๖) ตรัสว่า การระลึกถึง ตถาคต ถึงพระธรรม ถึงพระสงฆ์ ถึงศีล ถึงจาคะ ถึงธรรมทำความเป็นเทวดา ๖ ประการนี้ ทำให้จิตไม่ถูกกลุ้มรุมด้วยราคะ-โทสะ-โมหะ เป็นจิตไปตรง ก้าวออก หลุดพ้น ออกจากตัณหาซึ่งเป็นการเปลื้องจิตออกมาเสียจากการครอบงำของกิเลส ด้วยเหมือนกัน; ผู้สนใจพึงอ่านดูจากที่มานั้น). ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ความรักเกิดจากความรัก ความเกลียดเกิดจากความรัก ความรักเกิดจากความเกลียด ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึงทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน .... แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ที่หน้า ๖๓๗ แห่งหนังสือนี้).
    0 Comments 0 Shares 182 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 952
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952
    ชื่อบทธรรม : -ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์
    ซึ่งในบัดนี้ พระโคดมผู้เจริญได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?”
    --พราหมณ์ ! ในกรณีนี้
    เราเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เวลาเช้าครองจีวร
    เที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านหรือนิคมนั้น.
    ครั้นเวลาหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวไปตามแนวป่า.
    เรานั้น,
    วัตถุใดมีอยู่ในที่นั้นๆ จะเป็นหญ้าหรือใบไม้ก็ตาม,
    คร่ามาแล้ว (ทำเป็นที่รองนั่ง) นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า,
    เรานั้นสงัดจากกามและอกุศธรรมทั้งหลาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่๑ ....*--๑
    ฌานที่ ๒ ....
    ฌานที่ ๓ ....
    ฌานที่ ๔ ....
    อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข...
    มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่,

    (นั่งคู่บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้าเราสงัดจากกาม
    สงัดจากอกุศลธรรม เข้า &​ปฐมฌาน(ฌานที่๑)​;
    มีวิตก วิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้า &ทุติยฌาน(ฌานที่ ๒)​
    มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจาร สงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย;
    เพราะปีติสิ้นไป เข้า &​ตติยฌาน(ฌานที่ ๓)​
    ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข;
    เข้า &​จตุตถฌาน(ฌานที่ ๔)​ ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข
    เพราะละสุขละทุกข์(อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข)​ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้
    มีแต่สติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    )​
    *--๑. ที่ละไว้ด้วยจุด ดูคำเต็มเรื่องรูปฌานทั้งสี่ เช่นในหัวข้อว่า “อาการที่อยู่ในฌาน เรียกว่า #ตถาคตไสยา” .

    --พราหมณ์ ! เราขณะเมื่อเป็นอย่างนี้ ถ้าเดินอยู่,
    ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า ที่เดินอันเป็นทิพย์,
    ถ้ายืนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่ยืนอันเป็นทิพย์,
    ถ้านั่งอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า อาสนะทิพย์,
    ถ้าสำเร็จการนอนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่นอนอันเป็นทิพย์.
    --พราหมณ์ ! นี้แล #ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์
    http://etipitaka.com/read/pali/20/234/?keywords=พฺราหฺมณ+ทิพฺ
    ซึ่งใน บัดนี้ เราได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/234/503.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/175/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๓๔/๕๐๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=952
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_51.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ สัทธรรมลำดับที่ : 952 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952 ชื่อบทธรรม : -ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ เนื้อความทั้งหมด :- --ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์ ซึ่งในบัดนี้ พระโคดมผู้เจริญได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?” --พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ เราเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เวลาเช้าครองจีวร เที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านหรือนิคมนั้น. ครั้นเวลาหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวไปตามแนวป่า. เรานั้น, วัตถุใดมีอยู่ในที่นั้นๆ จะเป็นหญ้าหรือใบไม้ก็ตาม, คร่ามาแล้ว (ทำเป็นที่รองนั่ง) นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เรานั้นสงัดจากกามและอกุศธรรมทั้งหลาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่๑ ....*--๑ ฌานที่ ๒ .... ฌานที่ ๓ .... ฌานที่ ๔ .... อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข... มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่, (นั่งคู่บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้าเราสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้า &​ปฐมฌาน(ฌานที่๑)​; มีวิตก วิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้า &ทุติยฌาน(ฌานที่ ๒)​ มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจาร สงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย; เพราะปีติสิ้นไป เข้า &​ตติยฌาน(ฌานที่ ๓)​ ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข; เข้า &​จตุตถฌาน(ฌานที่ ๔)​ ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์(อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข)​ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีแต่สติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. )​ *--๑. ที่ละไว้ด้วยจุด ดูคำเต็มเรื่องรูปฌานทั้งสี่ เช่นในหัวข้อว่า “อาการที่อยู่ในฌาน เรียกว่า #ตถาคตไสยา” . --พราหมณ์ ! เราขณะเมื่อเป็นอย่างนี้ ถ้าเดินอยู่, ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า ที่เดินอันเป็นทิพย์, ถ้ายืนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่ยืนอันเป็นทิพย์, ถ้านั่งอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า อาสนะทิพย์, ถ้าสำเร็จการนอนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่นอนอันเป็นทิพย์. --พราหมณ์ ! นี้แล #ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์ http://etipitaka.com/read/pali/20/234/?keywords=พฺราหฺมณ+ทิพฺ ซึ่งใน บัดนี้ เราได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/234/503. http://etipitaka.com/read/thai/20/175/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๓๔/๕๐๓. http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=952 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_51.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    -ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์ ซึ่งในบัดนี้ พระโคดมผู้เจริญได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?” พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ เราเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เวลาเช้าครองจีวร เที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านหรือนิคมนั้น. ครั้นเวลาหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวไปตามแนวป่า. เรานั้น, วัตถุใดมีอยู่ในที่นั้นๆ จะเป็นหญ้าหรือใบไม้ก็ตาม, คร่ามาแล้ว (ทำเป็นที่รองนั่ง) นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เรานั้นสงัดจากกามและอกุศธรรมทั้งหลาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่๑ ....๑ ที่ ๒ .... ที่ ๓ .... ที่ ๔ อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่, พราหมณ์ ! เราขณะเมื่อเป็นอย่างนี้ ถ้าเดินอยู่, ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า ที่เดินอันเป็นทิพย์, ถ้ายืนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่ยืนอันเป็นทิพย์, ถ้านั่งอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า อาสนะทิพย์, ถ้าสำเร็จการนอนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่นอนอันเป็นทิพย์. พราหมณ์ ! นี้แล ที่นั่งนอน ๑. ที่ละไว้ด้วยจุด ดูคำเต็มเรื่องรูปฌานทั้งสี่ เช่นในหัวข้อว่า “อาการที่อยู่ในฌาน เรียกว่าตถาคตไสยา” ที่หน้า ๑๓๐๙ แห่งหนังสือเล่มนี้. สูงใหญ่อันเป็นทิพย์ ซึ่งใน บัดนี้ เราได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย.
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 263 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 951
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=951
    ชื่อบทธรรม :- เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย
    ...
    --อานนท์ ! สมัยใด ตถาคต #เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต
    http://etipitaka.com/read/pali/10/118/?keywords=อนิมิตฺตํ+เจโตสมาธึ
    เพราะไม่กระทำในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง และเพราะดับเสียซึ่งเวทนาบางพวก แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น กายของตถาคต ก็เป็นกายที่ผาสุกกว่า.
    --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลาย
    จงมีตนป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ
    มีธรรมเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นสรณะ
    อย่ามีสิ่งอื่นเป็นสรณะเลย.

    (ต่อไปนี้ได้ตรัส การปฏิบัติสติปัฏฐานสี่
    ในฐานะเป็นการมีตนเป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ,
    "ภิกษุในธรรมวินัยนี้
    ย่อมพิจารณาเห็นกาย ในกายอยู่
    พิจารณาเห็นเวทนา ในเวทนาอยู่
    พิจารณาเห็นจิต ในจิตอยู่
    พิจารณาเห็นธรรม ในธรรมอยู่
    เป็นผู้มีเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ
    พึงกำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลก อย่างนี้แล"
    แล้วตรัสว่า:-
    )
    --อานนท์ ! ในกาลบัดนี้ก็ตาม ในกาลที่ล่วงไปแล้วแห่งเราก็ตาม
    ภิกษุใด
    มีตนเป็นที่พึ่งมีตนเป็นสรณะ
    มีธรรมเป็นที่พึ่งมีธรรมเป็นสรณะ
    -http://etipitaka.com/read/pali/10/119/?keywords=อตฺตสรณา+ธมฺมสรณา
    ไม่มีสิ่งอื่นเป็นสรณะ แล้ว,
    ภิกษุนั้น #ชื่อว่าเป็นผู้เลิศที่สุดแห่งภิกษุผู้ใคร่ในสิกขา.-
    ...
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา.ที. 10/86/93.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/86/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา.ที. ๑๐/๑๑๘/๙๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/118/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=951
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=951
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย สัทธรรมลำดับที่ : 951 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=951 ชื่อบทธรรม :- เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย เนื้อความทั้งหมด :- --เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย ... --อานนท์ ! สมัยใด ตถาคต #เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต http://etipitaka.com/read/pali/10/118/?keywords=อนิมิตฺตํ+เจโตสมาธึ เพราะไม่กระทำในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง และเพราะดับเสียซึ่งเวทนาบางพวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น กายของตถาคต ก็เป็นกายที่ผาสุกกว่า. --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลาย จงมีตนป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นสรณะ อย่ามีสิ่งอื่นเป็นสรณะเลย. (ต่อไปนี้ได้ตรัส การปฏิบัติสติปัฏฐานสี่ ในฐานะเป็นการมีตนเป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ, "ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นกาย ในกายอยู่ พิจารณาเห็นเวทนา ในเวทนาอยู่ พิจารณาเห็นจิต ในจิตอยู่ พิจารณาเห็นธรรม ในธรรมอยู่ เป็นผู้มีเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ พึงกำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลก อย่างนี้แล" แล้วตรัสว่า:- ) --อานนท์ ! ในกาลบัดนี้ก็ตาม ในกาลที่ล่วงไปแล้วแห่งเราก็ตาม ภิกษุใด มีตนเป็นที่พึ่งมีตนเป็นสรณะ มีธรรมเป็นที่พึ่งมีธรรมเป็นสรณะ -http://etipitaka.com/read/pali/10/119/?keywords=อตฺตสรณา+ธมฺมสรณา ไม่มีสิ่งอื่นเป็นสรณะ แล้ว, ภิกษุนั้น #ชื่อว่าเป็นผู้เลิศที่สุดแห่งภิกษุผู้ใคร่ในสิกขา.- ... #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา.ที. 10/86/93. http://etipitaka.com/read/thai/10/86/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา.ที. ๑๐/๑๑๘/๙๓. http://etipitaka.com/read/pali/10/118/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=951 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=951 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย
    -เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย อานนท์ ! สมัยใด ตถาคต เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่กระทำในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง และเพราะดับเสียซึ่งเวทนาบางพวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น กายของตถาคต ก็เป็นกายที่ผาสุกกว่า. อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลาย จงมีตนป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นสรณะ อย่ามีสิ่งอื่นเป็นสรณะเลย. (ต่อไปนี้ได้ตรัส การปฏิบัติสติปัฏฐานสี่ ในฐานะเป็นการมีตนเป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ, แล้วตรัสว่า:- ) อานนท์ ! ในกาลบัดนี้ก็ตาม ในกาลที่ล่วงไปแล้วแห่งเราก็ตาม ภิกษุใด มีตนเป็นที่พึ่งมีตนเป็นสรณะ มีธรรมเป็นที่พึ่งมีธรรมเป็นสรณะ ไม่มีสิ่งอื่นเป็นสรณะ แล้ว, ภิกษุนั้น ชื่อว่าเป็นผู้เลิศที่สุด แห่งภิกษุผู้ใคร่ในสิกขา.
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 225 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 950
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=950
    ชื่อบทธรรม :- แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้
    (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้
    ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น
    และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง
    กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง
    ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมาจากน้ำบ้าง
    จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป
    หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว
    ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น
    : ในสมัยใด ภิกษุ*--๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วย
    ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์
    และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย;
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า
    “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
    ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย.
    ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด”
    ดังนี้.
    --ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้
    ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง.
    เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม
    นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า,
    เธอ
    ๑--ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่;
    ๒--ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่;
    ๓--ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่;
    ๔--ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่;
    ๕--ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่.
    --ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง
    อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม #เข้าถึงปฐมฌาน
    http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=ปฐมชฺฌานํ
    อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    ภิกษุนั้น #บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน.

    *--๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง
    รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน,
    ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว.

    (ในกรณีแห่งการบรรลุ
    &ทุติยฌาน...
    &ตติยฌาน...
    &จตุตถฌาน...
    &อากาสานัญจายตนะ... กระทั่งถึง
    &เนวสัญญานาสัญญายตนะ...
    ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้
    ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน.
    ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ
    สัญญาเวทยิตนิโรธ...นั้น
    ตรัสว่า :-
    )
    --ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง
    จึง เข้าถึง &​สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป.
    เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน
    แล.

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/351 - 354/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/351/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๕๓ - ๔๕๖/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=950
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคาย สัทธรรมลำดับที่ : 950 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=950 ชื่อบทธรรม :- แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ เนื้อความทั้งหมด :- --แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้ ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมาจากน้ำบ้าง จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :- ) --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุ*--๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย; --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย. ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด” ดังนี้. --ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ๑--ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่; ๒--ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ๓--ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ๔--ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่; ๕--ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่. --ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม #เข้าถึงปฐมฌาน http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=ปฐมชฺฌานํ อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้น #บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน. *--๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน, ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว. (ในกรณีแห่งการบรรลุ &ทุติยฌาน... &ตติยฌาน... &จตุตถฌาน... &อากาสานัญจายตนะ... กระทั่งถึง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ... ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน. ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ สัญญาเวทยิตนิโรธ...นั้น ตรัสว่า :- ) --ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง จึง เข้าถึง &​สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป. เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน แล. #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/351 - 354/244. http://etipitaka.com/read/thai/23/351/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๕๓ - ๔๕๖/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=950 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว).
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว). แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้ ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมา จากน้ำบ้าง จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :- ) ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุ๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย; ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย. ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด” ดังนี้. ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่; ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่; ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่. ๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน, ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว. ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌานอันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน. (ในกรณีแห่งการบรรลุ ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ กระทั่งถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน. ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ สัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ตรัสว่า :- ) ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป. เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน แล.
    0 Comments 0 Shares 323 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949
    ชื่อบทธรรม : -แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร
    : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน
    ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน.
    สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป;
    ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :-
    )​
    --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น
    : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน
    อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ;
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า
    “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”.
    --ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า
    “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”.
    (ในกรณีแห่ง
    &ทุติยฌาน...
    &ตติยฌาน... และ
    &จตุตถฌาน...
    ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน
    ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว
    จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึง อากาสานัญจายตนะ :-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ
    เพราะก้าวล่วงซึ่ง รูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา
    เพราะการไม่ทำไว้ในใจซึ่ง นานัตตสัญญา
    จึงเข้าถึง &​อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด”
    ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า
    ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป
    ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น.
    (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ
    &วิญญาณัญจายตนะ...
    &อากิญจัญญายตนะ... และ
    &เนวสัญญานาสัญญายตนะ....
    ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน
    ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว.
    ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ
    เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง
    จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่,
    #อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไปเพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/456/?keywords=อาสวา+ปริกฺขีณา+โหนฺติ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า
    ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป
    ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น ,
    ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก
    ดังนี้.-
    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน,
    เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร
    คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ
    เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้
    แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด.
    ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน
    สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อ. 23/350-353/243.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/350/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อ. ๒๓/๔๕๐-๔๕๓/๒๔๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/450/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร สัทธรรมลำดับที่ : 949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949 ชื่อบทธรรม : -แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร เนื้อความทั้งหมด :- --แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน. สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป; ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :- )​ --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ; --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”. --ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”. (ในกรณีแห่ง &ทุติยฌาน... &ตติยฌาน... และ &จตุตถฌาน... ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึง อากาสานัญจายตนะ :- ) --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่ง รูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ทำไว้ในใจซึ่ง นานัตตสัญญา จึงเข้าถึง &​อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น. (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ &วิญญาณัญจายตนะ... &อากิญจัญญายตนะ... และ &เนวสัญญานาสัญญายตนะ.... ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว. ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:- ) --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, #อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไปเพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/23/456/?keywords=อาสวา+ปริกฺขีณา+โหนฺติ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น , ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก ดังนี้.- (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อ. 23/350-353/243. http://etipitaka.com/read/thai/23/350/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อ. ๒๓/๔๕๐-๔๕๓/๒๔๓. http://etipitaka.com/read/pali/23/450/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. - ๑๗/๒๐/๓๐. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๒๕๙ - ๒๖๒ และที่หน้า ๓๓๘ - ๓๔๑ .
    -(ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. - ๑๗/๒๐/๓๐. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๒๕๙ - ๒๖๒ และที่หน้า ๓๓๘ - ๓๔๑ . ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการ รู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี ดังที่ได้ยกมาไว้ในภาคนำแห่งหนังสือเล่มนี้ ที่หน้า ๗๕. ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการ รู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. - ๑๘/๑๐๐/๑๔๘. ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. - ๑๘/๑๘๑/๒๕๐). แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน. สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป; ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :-) ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ; ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”. ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัว อยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึงอากาสานัญจายตนะ :-) ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งรูปสัญญาเสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ทำไว้ในใจ ซึ่งนานัตตสัญญา จึงเข้าถึง อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น. (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว. ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:-) ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไป เพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น , ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 368 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อานิสงส์ของการหลีกเร้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 948
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948
    ชื่อบทธรรม :- อานิสงส์ของการหลีกเร้น
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานิสงส์ของการหลีกเร้น
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น (ปฏิสลฺลานรตานํ)
    http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=ปฏิสลฺลานรตานํ
    เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น
    จงเป็นผู้ตามประกอบเจโตสมถะในภายใน
    มีฌานอันตนไม่ละเลย ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา
    เพิ่มพูนความยินดีในสุญญาคารอยู่เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อประพฤติกระทำเช่นนั้นอยู่,
    ผลอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาผลทั้งสอง
    เป็นอันเธอหวังได้ คือ #อรหัตตผลในทิฏฐธรรม นี้
    http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ
    หรือว่าเมื่อเชื้อ (อุปาทิ) เหลืออยู่ ก็มี ความเป็น อนาคามี.-

    (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ
    รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี.
    (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า)​
    --- ๑๗/๒๐/๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90

    --ในสูตรอื่นแสดงไว้ #ด้วยการรู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี
    --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการรู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ
    จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ
    รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง #ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี.
    --- ๑๘/๑๐๐/๑๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98

    --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น #โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี.
    --- ๑๘/๑๘๑/๒๕๐
    http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/193/223.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๕๙/๒๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/259/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=948
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อานิสงส์ของการหลีกเร้น สัทธรรมลำดับที่ : 948 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948 ชื่อบทธรรม :- อานิสงส์ของการหลีกเร้น เนื้อความทั้งหมด :- --อานิสงส์ของการหลีกเร้น --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น (ปฏิสลฺลานรตานํ) http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=ปฏิสลฺลานรตานํ เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น จงเป็นผู้ตามประกอบเจโตสมถะในภายใน มีฌานอันตนไม่ละเลย ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา เพิ่มพูนความยินดีในสุญญาคารอยู่เถิด. --ภิกษุ ท. ! เมื่อประพฤติกระทำเช่นนั้นอยู่, ผลอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาผลทั้งสอง เป็นอันเธอหวังได้ คือ #อรหัตตผลในทิฏฐธรรม นี้ http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ หรือว่าเมื่อเชื้อ (อุปาทิ) เหลืออยู่ ก็มี ความเป็น อนาคามี.- (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า)​ --- ๑๗/๒๐/๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 --ในสูตรอื่นแสดงไว้ #ด้วยการรู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการรู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง #ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. --- ๑๘/๑๐๐/๑๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98 --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น #โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. --- ๑๘/๑๘๑/๒๕๐ http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/193/223. http://etipitaka.com/read/thai/25/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๕๙/๒๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/25/259/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=948 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. -๑๗/๑๘/๒๗. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๑๒๗-๑๓๑ และที่หน้า ๓๓๘-๓๔๑ )
    -(ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. -๑๗/๑๘/๒๗. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๑๒๗-๑๓๑ และที่หน้า ๓๓๘-๓๔๑ ) ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. – ๑๘/๙๙/๑๔๗. อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. -๑๘/๑๘๐/๒๔๙). อานิสงส์ของการหลีกเร้น ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น (ปฏิสลฺลาณ) เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น จงเป็นผู้ตามประกอบเจโตสมถะในภายใน มีฌานอันตนไม่ละเลย ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา เพิ่มพูนความยินดีในสุญญาคารอยู่เถิด. ภิกษุ ท. ! เมื่อประพฤติกระทำเช่นนั้นอยู่, ผลอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาผลทั้งสอง เป็นอันเธอหวังได้ คือ อรหัตตผลในทิฏฐธรรม นี้ หรือว่าเมื่อเชื้อ (อุปาทิ) เหลืออยู่ ก็มี ความเป็น อนาคามี.
    0 Comments 0 Shares 305 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว
    สัทธรรมลำดับที่ : 947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานุภาพแห่งสมาธิ
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้ .
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้เถิด.-

    (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ
    ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี.
    (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า )
    ---๑๗/๑๘/๒๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97

    ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด
    อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง
    คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ
    รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๙๙/๑๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97

    อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ
    อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙
    http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว สัทธรรมลำดับที่ : 947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --อานุภาพแห่งสมาธิ --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.- (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ) ---๑๗/๑๘/๒๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๙๙/๑๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97 อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙ http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99 ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654. http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อานุภาพแห่งสมาธิ
    -อานุภาพแห่งสมาธิ ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และนี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีมีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.
    0 Comments 0 Shares 315 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ?
    ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น
    แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดับ
    แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป,
    #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การดับ
    แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น
    ).
    --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ
    แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 .
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ .
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ความดับ แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การดับ แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น ). --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 . http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ . http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    -นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การเกิดขึ้นแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้นแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความดับแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, แล.
    0 Comments 0 Shares 373 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 945
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945
    ชื่อบทธรรม :- ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ
    --ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ

    นัยที่หนึ่ง : เห็นความไม่เที่ยงของอายตนิกธรรม
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.
    --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า จะปรากฏตามที่เป็นจริง ?
    +--จักษุ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--รูปทั้งหลาย จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--จักขุวิญญาณ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--จักขุสัมผัส จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี เป็นอทุกขมสุขก็ดี
    ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=อนิจฺจนฺ+สมาธึ
    (ในกรณีแห่งหมวด
    โสตะ, ฆานะ, ชิวหา, กายะ และ มนะ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด.
    เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/181/249.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/148/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๘๑/๒๔๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=945
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 945 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945 ชื่อบทธรรม :- ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ --ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ นัยที่หนึ่ง : เห็นความไม่เที่ยงของอายตนิกธรรม --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง. --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า จะปรากฏตามที่เป็นจริง ? +--จักษุ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--รูปทั้งหลาย จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--จักขุวิญญาณ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--จักขุสัมผัส จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี เป็นอทุกขมสุขก็ดี ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=อนิจฺจนฺ+สมาธึ (ในกรณีแห่งหมวด โสตะ, ฆานะ, ชิวหา, กายะ และ มนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.- #สัมมาสมาธิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/181/249. http://etipitaka.com/read/thai/18/148/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๘๑/๒๔๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=945 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ
    -หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ นัยที่หนึ่ง : เห็นความไม่เที่ยงของอายตนิกธรรม ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า จะปรากฏตามที่เป็นจริง ? จักษุ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; รูปทั้งหลาย จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; จักขุวิญญาณ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; จักขุสัมผัส จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี เป็นอทุกขมสุขก็ดี ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้. (ในกรณีแห่งหมวด โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.
    0 Comments 0 Shares 268 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    สัทธรรมลำดับที่ : 944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944
    ชื่อบทธรรม :- จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    เนื้อความทั้งหมด :-

    --จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่,
    เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต.
    ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น,
    และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย,
    เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว)
    ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ;
    อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคล
    ผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด
    เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น
    ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา.
    (ในกรณีแห่ง
    อินทรีย์คือหู...
    อินทรีย์คือจมูก...
    อินทรีย์คือลิ้น...
    อินทรีย์คือกาย... และ
    อินทรีย์ คือใจ...
    ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    --ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว
    ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด
    คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง).
    เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง
    ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ
    ละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่;
    ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท
    เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง
    ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่;
    ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ
    มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่;
    ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่;
    ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร”
    ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่.
    --ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ
    อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และ
    ทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว,
    เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง
    ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    เข้าถึง
    ทุติยฌาน ....
    ตติยฌาน ....
    จตุตถฌาน ....
    แล้วแลอยู่.
    (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มี &​รูปฌานทั้งสี่ ).
    --เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว
    ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ #อาสวักขยญาณ.
    -​http://etipitaka.com/read/pali/22/114/?keywords=อาสวานํ
    เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์,
    นี้เหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์;

    และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ,
    นี้เหตุให้เกิดอาสวะ,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ.
    เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้
    จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ;

    ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว.
    เธอ ย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/86 - 87/76.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/86/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๑๓ - ๑๑๔/๗๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/113/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=944
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง สัทธรรมลำดับที่ : 944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944 ชื่อบทธรรม :- จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง เนื้อความทั้งหมด :- --จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต. ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น, และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย, เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ; อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคล ผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่ง อินทรีย์คือหู... อินทรีย์คือจมูก... อินทรีย์คือลิ้น... อินทรีย์คือกาย... และ อินทรีย์ คือใจ... ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). --ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง). เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่; ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่; ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่. --ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และ ทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว, เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. เข้าถึง ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน .... แล้วแลอยู่. (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มี &​รูปฌานทั้งสี่ ). --เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ #อาสวักขยญาณ. -​http://etipitaka.com/read/pali/22/114/?keywords=อาสวานํ เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์; และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ. เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ; ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว. เธอ ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/86 - 87/76. http://etipitaka.com/read/thai/22/86/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๑๓ - ๑๑๔/๗๖. http://etipitaka.com/read/pali/22/113/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=944 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ” จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง
    -(ข้อความนั้น มีลักษณะแห่ง การเจริญสมาธิที่มีนิพพานเป็นอารมณ์ อาจจะใช้เป็นคำอธิบายแห่งคำว่า “อุปสุมานุสสติ” แห่งอนุสสติสิบ ได้ดี ดีกว่าที่อธิบายกันอยู่อย่างคลุมเครือ. ยิ่งกว่านั้นยังมีความวิเศษตรงที่ว่า ง่ายสำหรับทุกคนที่จะแยกจิตออกมาเสียจากสิ่งทั้งปวง มากำหนดอยู่เฉพาะสิ่งที่เป็นอสังขตะนี้เพียงสิ่งเดียว ทำให้แสวงหาความสุขหรือความเย็นจากพระนิพพานได้ง่ายขึ้น). ๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ”. จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง ภิกษุ ท. ! ภิกษุเข้าไปอาศัยหมู่บ้าน หรือนิคมแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, เวลาเช้า เธอครองจีวร ถือบาตร เข้าไปสู่หมู่บ้านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต.ด้วยการรักษากาย, รักษาวาจา, รักษาจิต, ตั้งสติไว้มั่น, และด้วยการสำรวมอินทรีย์ทั้งหลาย, เธอได้เห็นรูปด้วยตาแล้ว ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการรวมถือเอาทั้งหมด (รวมเป็นภาพเดียว) ไม่เป็นผู้ถือเอาในลักษณะที่เป็นการถือเอาโดยแยกเป็นส่วน ๆ; อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสจะพึงไหลไปตามบุคคลผู้ไม่สำรวมอยู่ซึ่งอินทรีย์อันเป็นต้นเหตุคือตาใด เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสำรวมซึ่งอินทรีย์นั้น ย่อมรักษา อินทรีย์คือตา ย่อมถึงการสำรวมในอินทรีย์คือตา. (ในกรณีแห่ง อินทรีย์คือหู อินทรีย์คือจมูก อินทรีย์คือลิ้น อินทรีย์คือกาย และอินทรีย์ คือใจ ก็มีข้อความที่ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). ภิกษุนั้น ภายหลังอาหาร กลับจากบิณฑบาตแล้ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง (อย่างใดอย่างหนึ่ง). เธออยู่ป่า หรืออยู่โคนไม้ หรืออยู่เรือนว่าง ย่อมนั่งคู้ขาเข้าเป็นบัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอละ อภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌา อยู่; ละ พยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณาจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละ ถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธิ อยู่; ละ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจกุกกุจจุ อยู่; ละ วิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรมทั้งหลาย คอยชำระจิตจากวิจิกิจฉาอยู่. ภิกษุนั้น ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิต และทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ได้แล้ว, เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเธอเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.เข้าถึง ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน แล้วแลอยู่. (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับรูปฌานทั้งสี่นี้ได้ จากเรื่องที่มีรูปฌานทั้งสี่ เช่นที่หน้า ๑๒๗๘ แห่งหนังสือเล่มนี้). เธอนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสเป็นธรรมชาติอ่อนโยน ควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้ ถึงความไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว ก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสวักขยญาณ. เธอ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์; และย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับไปเหลือแห่งอาสวะ. เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นทั้งจากามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ; ครั้นจิตหลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณว่าหลุดพ้นแล้ว. เธอย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 417 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 137
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. !
    1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
    : นี้เราเรียกว่า เวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา
    2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา
    ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา)
    3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑
    ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา
    ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา).
    5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ
    สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา).
    6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น
    : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา.
    7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา
    : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา.
    8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา
    : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 137 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 ชื่อบทธรรม : -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! 1,--เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=เวทนา 2,--เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา ( นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) 3,--ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา*--๑ ( นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 4,--เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). 5,--อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือ สัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ( นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). 6,--สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. 7,--ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. 8,--การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา- *--๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/245/438. http://etipitaka.com/read/thai/18/245/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๘/๔๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/288/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=137 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา
    -ธรรมลักษณะ ๘ ประการแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา : นี้เราเรียกว่า เวทนา. เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ จึงมี ความเกิดขึ้น แห่งเวทนา (: นี้คือ สมุทัยแห่งเวทนา) ตัณหา เป็น ปฏิปทาให้ถึงความเกิดขึ้น แห่งเวทนา๑ (: นี้คือสมุทยคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). เพราะความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับ แห่งเวทนา ( : นี้คือนิโรธแห่งเวทนา). อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ เป็น ปฏิปทาให้ถึงความดับแห่งเวทนา ; คือสัมมาทิฎฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ (: นี้คือนิโรธคามินีปฏิปทาแห่งเวทนา). สุขโสมนัสอันใด อาศัยเวทนาเกิดขึ้น : นี้คืออัสสาทะ (รสอร่อย) แห่งเวทนา. ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา แห่งเวทนา : นี้คือ อาทีนวะ (โทษ) จากเวทนา. การนำออกเสียได้ซึ่งฉันทราคะ การละเสียได้ซึ่งฉันทราคะในเวทนา : นี้คือ นิสสรณะ (อุบายเครื่องออก) จากเวทนา-
    0 Comments 0 Shares 311 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า
    พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ
    จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน
    ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97
    พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน
    คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ
    หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ
    สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ
    สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น,
    ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน
    คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น,
    แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า
    #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ
    ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น
    ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี.

    (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น
    บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม,
    ส่วนคำตอบในสูตรนี้
    ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ.
    และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน
    ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน
    สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น.
    อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง.
    )​

    สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ
    โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว
    ].

    --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งจักษุ (และ) รูป
    ซึ่งโสตะ (และ) เสียง
    ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น
    ซึ่งชิวหา (และ) รส
    ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งอากาสานัญจายตนะ
    ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตน
    ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง
    ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ
    แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?”
    --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่.
    --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย
    เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑
    ดังนี้.
    --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ)
    กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ
    ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ;
    แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.-

    *--๑.บาลีว่า
    “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ
    ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
    ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ เนื้อความทั้งหมด :- --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘) http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97 พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น. อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. )​ สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว ]. --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจ ซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑ ดังนี้. --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.- *--๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”. http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215. http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    -[ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗) พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้ ๑. บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ”. บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพานดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้นทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็นอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว]. สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่กระทำในใจซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รสซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. “มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”๑ ดังนี้. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่ กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.
    0 Comments 0 Shares 350 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    สัทธรรมลำดับที่ : 942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942
    ชื่อบทธรรม : -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    (โลกุตตรสมาธิ)
    “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=สมาธิปฏิลาโภ
    ไม่มีปฐวีสัญญา ในดิน
    ไม่มีอาโปสัญญา ในน้ำ
    ไม่มีเตโชสัญญา ในไฟ
    ไม่มีวาโยสัญญา ในลม
    ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งอากาศ
    ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ
    ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร
    ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
    ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว
    สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว
    สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย;
    แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?”
    --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่.
    --”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า
    “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติ
    เป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย
    เป็นความดับ
    เป็นนิพพาน”*--๑
    ดังนี้.
    *--๑. บาลีว่า
    “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ
    สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
    ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ

    --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้
    ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน
    ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ
    ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ
    ไม่มีวาโยสัญญาในลม
    ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ
    ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ
    ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร
    ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
    ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว
    สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว
    สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว
    สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย;
    แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/294/214.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/294/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๓/๒๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=942
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ สัทธรรมลำดับที่ : 942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942 ชื่อบทธรรม : -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ เนื้อความทั้งหมด :- --สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ (โลกุตตรสมาธิ) “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=สมาธิปฏิลาโภ ไม่มีปฐวีสัญญา ในดิน ไม่มีอาโปสัญญา ในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญา ในไฟ ไม่มีวาโยสัญญา ในลม ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความ ไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?” --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. --”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติ เป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑ ดังนี้. *--๑. บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”. http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้ ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/294/214. http://etipitaka.com/read/thai/24/294/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๓/๒๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/24/343/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=942 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
    -สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ (โลกุตตรสมาธิ) “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาศสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้นๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่ ?” อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. ”ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดนั้น เป็นอย่างไร พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้ มีสัญญาอย่างนี้ว่า “นั้นสงบรำงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่ สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”๑ ดังนี้. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดนี้ไม่มีปฐวีสัญญาในดิน ไม่มีอาโปสัญญาในน้ำ ไม่มีเตโชสัญญาในไฟ ไม่มีวาโยสัญญาในลม ไม่มีอากาสานัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งอากาศ ไม่มีวิญญาณัญจายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งวิญญาณ ไม่มีอากิญจัญญายตนสัญญาในความไม่มีที่สุดแห่งความไม่มีอะไร ไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญาในความมีสัญญาก็ไม่ใช่ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีอิธโลกสัญญาในโลกนี้ ไม่มีปรโลกสัญญาในโลกอื่น ไม่มีสัญญาแม้ในสิ่งที่เห็นแล้ว สิ่งที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้ว สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว สิ่งที่บรรลุแล้ว สิ่งที่แสวงหาแล้ว สิ่งที่ใจติดตามแล้ว นั้น ๆ เลย; แต่ก็ยังเป็นผู้มีสัญญาอยู่.
    0 Comments 0 Shares 254 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การดำรงสมาธิจิต เมื่อถูกเบียดเบียนทั้งทางวาจาและทางกาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 941
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=941
    ชื่อบทธรรม : -การดำรงสมาธิจิต เมื่อถูกเบียดเบียนทั้งทางวาจาและทางกาย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การดำรงสมาธิจิต เมื่อถูกเบียดเบียนทั้งทางวาจาและทางกาย
    --ภิกษุ ท. ! ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคลอื่นจะพึงกล่าวหาเธอ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ
    ๑. กล่าวโดยกาลหรือโดยมิใช่กาล
    ๒. กล่าวโดยเรื่องจริงหรือโดยเรื่องไม่จริง
    ๓. กล่าวโดยอ่อนหวานหรือโดยหยาบคาย
    ๔. กล่าวด้วยเรื่องมีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์
    ๕. กล่าวด้วยมีจิตเมตตาหรือมืโทสะในภายใน.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเขากล่าวอยู่อย่างนั้น ในกรณีนั้น ๆ
    เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “จิตของเราจักไม่แปรปรวน,
    เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป,
    เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่,
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และ
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง
    ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง
    มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเนียก อย่างนี้แล.

    (๑. อุปมาที่หนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษถือจอบและกะทอ (สมัยนี้คือปุ้งกี๋)
    มาแล้วกล่าวว่า
    “เราจักกระทำแผ่นดินใหญ่นี้ ให้ไม่เป็นแผ่นดิน”
    http://etipitaka.com/read/pali/12/256/?keywords=มหาปฐวึ
    ดังนี้;
    เขาขุดในที่นั้น ๆ
    เรี่ยรายดินในที่นั้นๆ
    ขากถุยอยู่ในที่นั้นๆ
    กระทืบเท้าอยู่ในที่นั้นๆ
    ปากพูดอยู่ว่า
    “มึงไม่ต้องเป็นแผ่นดินอีกต่อไป มึงไม่ต้องเป็นแผ่นดินอีกต่อไป”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : บุรุษนั้น จะทำแผ่นดินใหญ่นี้ ให้ไม่เป็นแผ่นดิน ได้แลหรือ ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ?
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! แผ่นดินใหญ่นี้ลึกหาประมาณมิได้
    เป็นการง่ายที่ใครๆ จะทำให้ไม่เป็นแผ่นดิน
    รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบากคับแค้นเสียเปล่า
    พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น
    เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำประการใดประการหนึ่งอยู่
    เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้นอย่างนี้ว่า
    “จิตของเราจักไม่แปรปรวน,
    เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป,
    เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่,
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และ
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูลใหญ่หลวง
    ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง
    มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่”
    ดังนี้.
    (คือ &​มีจิตเหมือนแผ่นดินใหญ่
    อันใครๆ จะกระทบกระทั่งให้เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.

    (๒. อุปมาที่สอง)
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษถือเอาสี มา
    เป็นสีครั่งบ้าง สีเหลืองบ้าง สีเขียวบ้าง สีแสดบ้าง
    กล่าวอยู่ว่า
    “เราจักเขียนรูปต่างๆ ในอากาศนี้ ทำให้มีรูปปรากฏอยู่”
    http://etipitaka.com/read/pali/12/257/?keywords=อากาเส
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    บุรุษนั้นจะเขียนรูปต่าง ๆ ในอากาศนี้
    ทำให้มีรูปปรากฎอยู่ ได้แลหรือ ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ?
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    เพราะเหตุว่าอากาศนี้ เป็นสิ่งที่มีรูปไม่ได้ แสดงออกซึ่งรูปไม่ได้.
    ในอากาศนั้น ไม่เป็นการง่ายที่ใครๆ จะเขียนรูป ทำให้มีรูปปรากฎอยู่ได้
    รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบาก คับแค้นเสียเปล่า
    พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น
    เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำประการใดประการหนึ่งอยู่
    เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้น อย่างนี้ว่า
    “จิตของเราจักไม่แปรปรวน,
    เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป,
    เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายในอยู่,
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไม่ยังบุคคลนั้น อยู่ และ
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง
    ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง
    มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่”
    ดังนี้.
    (คือ &​มีจิตเหมือนอากาศ
    อันใครๆ จะเขียนให้เป็นรูปปรากฎไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น ).
    --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล.

    (๓. อุปมาที่สาม)
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษถือคบหญ้า ที่กำลังลุกโพลงมา กล่าวอยู่ว่า
    “เราจักเผาแม่น้ำคงคาให้ร้อนจัด ให้เดือนพล่าน ด้วยคบหญ้าอันลุกโพลงนี้”
    http://etipitaka.com/read/pali/12/258/?keywords=คงฺคา
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    บุรุษนั้นจะเผาแม่น้ำคงคาให้ร้อนจัด ให้เดือดพล่าน
    ด้วยคบหญ้าอันลุกโพลง ได้แลหรือ ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ?
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะเหตุว่า
    แม่น้ำคงคาลึกหาประมาณมิได้ ไม่เป็นการง่ายที่ใครๆ จะเผาให้ร้อนจัด
    ให้เดือดพล่านด้วยคบหญ้าอันลุกโพลง
    รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบากคับแค้นเสียเปล่า
    ดังนี้.”
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น
    เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำประการใดประการหนึ่งอยู่
    เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้น อย่างนี้ว่า
    “จิตของเราจักไม่แปรปรวน,
    เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป,
    เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่,
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และ
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง
    ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง
    มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่”
    ดังนี้.
    (คือ &​มีจิตเหมือนแม่น้ำคงคา
    อันใครๆ จะเผาให้ร้อนเดือดด้วยคบหญ้าไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น)
    -​-ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล.

    (๔. อุปมาที่สี่)
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน แผ่นหนังแมวป่าขนฟู*--๑ ฟอกนวดแล้ว
    นวดทุบอย่างดี นวดทุบอย่างทั่วถึง อ่อนนิ่มเหมือนปุยนุ่น ไม่ส่งเสียง ไม่ส่งกังวานเสียง.
    ลำดับนั้น มีบุรุษถือท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่งมา พลางพูดว่า
    “เราจักทำให้หนังแมวป่าขนฟูแผ่นนี้ ส่งเสียง มีเสียงพรึมๆ ด้วยท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่งนี้”
    http://etipitaka.com/read/pali/12/259/?keywords=วิฬารภสฺ
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    บุรุษนั้นจะทำหนังแมวป่าขนฟูแผ่นนั้นให้ส่งเสียงพรึมๆ
    ด้วยท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่งนั้นได้แลหรือ ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ?
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เพราะเหตุว่า หนังแมวป่าขนฟูแผ่นนั้น
    เป็นของฟอกนวดแล้ว นวดทุบอย่างดี นวดทุบอย่างทั่วถึง
    อ่อนนิ่ม เหมือนปุยนุ่น ไม่ส่งเสียง ไม่ส่งกังวานเสียง
    ไม่เป็นการง่ายที่ใครๆ จะทำให้มันส่งเสียงดังพรึมๆ ด้วยท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่ง
    รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบากคับแค้นเสียเปล่า
    ดังนี้ “.
    *--๑. คำนี้ยังเป็นที่สงสัยอยู่ว่า จะเป็นแผ่นหนังฟอกใช้ห่มคลุมเล่น หรือแผ่นหนังที่ทำเป็นถุงสำหรับใส่เสื้อผ้า ยังเป็นที่สงสัยอยู่, ขอให้ถือเอาแต่ใจความว่า มันเป็นสิ่งที่ส่งเสียงไม่ได้ก็แล้วกัน.
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น
    เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำ ประการใดประการหนึ่งอยู่,
    เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้น อย่างนี้ว่า
    “จิตของเราจักไม่แปรปรวน,
    เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป,
    เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่,
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และ
    จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูลใหญ่หลวง
    ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง
    มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่”
    ดังนี้.
    (คือ &​มีจิตเหมือนแผ่นหนังแมวป่าขนฟูที่ฟอกดีแล้วเห็นปานนั้น
    อันใครๆ จะทำให้มันส่งเสียงดังพรึมๆ ไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล.

    (๕. อุปมาที่ห้า)
    --ภิกษุ ท. !
    ถ้า โจรผู้คอยหาช่อง พึงเลื่อยอวัยวะน้อยใหญ่ของใคร ด้วยเลื่อยมีด้ามสองข้าง;
    ผู้ใดมีใจประทุษร้ายในโจรนั้น ผู้นั้นชื่อว่าไม่ทำตามคำสอนของเรา
    เพราะเหตุที่มีใจประทุษร้ายต่อโจรนั้น
    http://etipitaka.com/read/pali/12/260/?keywords=โจร
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “จิตของเราจักไม่แปรปรวน,
    เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป,
    เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตาไม่มีโทสะในภายใน อยู่,
    แผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และจักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง
    ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง
    มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! เธอพึงกระทำในใจถึงโอวาทอันเปรียบด้วยเลื่อยนี้ อยู่เนืองๆ เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอทำในใจถึงโอวาทนั้นอยู่
    เธอจะได้เห็นทางแห่งการกล่าวหาเล็กหรือใหญ่ที่เธออดกลั้นไม่ได้ อยู่อีกหรือ ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
    พวกเธอทั้งหลายจงกระทำในใจ
    ถึงโอวาท &​อันเปรียบด้วยเลื่อยนี้ อยู่เป็นประจำเถิด
    : นั่นจักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่เธอทั้งหลาย ตลอดกาลนาน.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู.ม. 12/176 - 181/267 - 273.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู.ม. ๑๒/๒๕๕ - ๒๘๐/๒๖๗ - ๒๗๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/255/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=941
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=941
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การดำรงสมาธิจิต เมื่อถูกเบียดเบียนทั้งทางวาจาและทางกาย สัทธรรมลำดับที่ : 941 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=941 ชื่อบทธรรม : -การดำรงสมาธิจิต เมื่อถูกเบียดเบียนทั้งทางวาจาและทางกาย เนื้อความทั้งหมด :- --การดำรงสมาธิจิต เมื่อถูกเบียดเบียนทั้งทางวาจาและทางกาย --ภิกษุ ท. ! ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคลอื่นจะพึงกล่าวหาเธอ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ๑. กล่าวโดยกาลหรือโดยมิใช่กาล ๒. กล่าวโดยเรื่องจริงหรือโดยเรื่องไม่จริง ๓. กล่าวโดยอ่อนหวานหรือโดยหยาบคาย ๔. กล่าวด้วยเรื่องมีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์ ๕. กล่าวด้วยมีจิตเมตตาหรือมืโทสะในภายใน. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเขากล่าวอยู่อย่างนั้น ในกรณีนั้น ๆ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และ จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเนียก อย่างนี้แล. (๑. อุปมาที่หนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษถือจอบและกะทอ (สมัยนี้คือปุ้งกี๋) มาแล้วกล่าวว่า “เราจักกระทำแผ่นดินใหญ่นี้ ให้ไม่เป็นแผ่นดิน” http://etipitaka.com/read/pali/12/256/?keywords=มหาปฐวึ ดังนี้; เขาขุดในที่นั้น ๆ เรี่ยรายดินในที่นั้นๆ ขากถุยอยู่ในที่นั้นๆ กระทืบเท้าอยู่ในที่นั้นๆ ปากพูดอยู่ว่า “มึงไม่ต้องเป็นแผ่นดินอีกต่อไป มึงไม่ต้องเป็นแผ่นดินอีกต่อไป” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้น จะทำแผ่นดินใหญ่นี้ ให้ไม่เป็นแผ่นดิน ได้แลหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! แผ่นดินใหญ่นี้ลึกหาประมาณมิได้ เป็นการง่ายที่ใครๆ จะทำให้ไม่เป็นแผ่นดิน รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบากคับแค้นเสียเปล่า พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำประการใดประการหนึ่งอยู่ เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้นอย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และ จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูลใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. (คือ &​มีจิตเหมือนแผ่นดินใหญ่ อันใครๆ จะกระทบกระทั่งให้เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒. อุปมาที่สอง) --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษถือเอาสี มา เป็นสีครั่งบ้าง สีเหลืองบ้าง สีเขียวบ้าง สีแสดบ้าง กล่าวอยู่ว่า “เราจักเขียนรูปต่างๆ ในอากาศนี้ ทำให้มีรูปปรากฏอยู่” http://etipitaka.com/read/pali/12/257/?keywords=อากาเส ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร บุรุษนั้นจะเขียนรูปต่าง ๆ ในอากาศนี้ ทำให้มีรูปปรากฎอยู่ ได้แลหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะเหตุว่าอากาศนี้ เป็นสิ่งที่มีรูปไม่ได้ แสดงออกซึ่งรูปไม่ได้. ในอากาศนั้น ไม่เป็นการง่ายที่ใครๆ จะเขียนรูป ทำให้มีรูปปรากฎอยู่ได้ รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบาก คับแค้นเสียเปล่า พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำประการใดประการหนึ่งอยู่ เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้น อย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายในอยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไม่ยังบุคคลนั้น อยู่ และ จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. (คือ &​มีจิตเหมือนอากาศ อันใครๆ จะเขียนให้เป็นรูปปรากฎไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น ). --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล. (๓. อุปมาที่สาม) --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษถือคบหญ้า ที่กำลังลุกโพลงมา กล่าวอยู่ว่า “เราจักเผาแม่น้ำคงคาให้ร้อนจัด ให้เดือนพล่าน ด้วยคบหญ้าอันลุกโพลงนี้” http://etipitaka.com/read/pali/12/258/?keywords=คงฺคา ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร บุรุษนั้นจะเผาแม่น้ำคงคาให้ร้อนจัด ให้เดือดพล่าน ด้วยคบหญ้าอันลุกโพลง ได้แลหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะเหตุว่า แม่น้ำคงคาลึกหาประมาณมิได้ ไม่เป็นการง่ายที่ใครๆ จะเผาให้ร้อนจัด ให้เดือดพล่านด้วยคบหญ้าอันลุกโพลง รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบากคับแค้นเสียเปล่า ดังนี้.” --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำประการใดประการหนึ่งอยู่ เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้น อย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และ จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. (คือ &​มีจิตเหมือนแม่น้ำคงคา อันใครๆ จะเผาให้ร้อนเดือดด้วยคบหญ้าไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น) -​-ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล. (๔. อุปมาที่สี่) --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน แผ่นหนังแมวป่าขนฟู*--๑ ฟอกนวดแล้ว นวดทุบอย่างดี นวดทุบอย่างทั่วถึง อ่อนนิ่มเหมือนปุยนุ่น ไม่ส่งเสียง ไม่ส่งกังวานเสียง. ลำดับนั้น มีบุรุษถือท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่งมา พลางพูดว่า “เราจักทำให้หนังแมวป่าขนฟูแผ่นนี้ ส่งเสียง มีเสียงพรึมๆ ด้วยท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่งนี้” http://etipitaka.com/read/pali/12/259/?keywords=วิฬารภสฺ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร บุรุษนั้นจะทำหนังแมวป่าขนฟูแผ่นนั้นให้ส่งเสียงพรึมๆ ด้วยท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่งนั้นได้แลหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เพราะเหตุว่า หนังแมวป่าขนฟูแผ่นนั้น เป็นของฟอกนวดแล้ว นวดทุบอย่างดี นวดทุบอย่างทั่วถึง อ่อนนิ่ม เหมือนปุยนุ่น ไม่ส่งเสียง ไม่ส่งกังวานเสียง ไม่เป็นการง่ายที่ใครๆ จะทำให้มันส่งเสียงดังพรึมๆ ด้วยท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่ง รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบากคับแค้นเสียเปล่า ดังนี้ “. *--๑. คำนี้ยังเป็นที่สงสัยอยู่ว่า จะเป็นแผ่นหนังฟอกใช้ห่มคลุมเล่น หรือแผ่นหนังที่ทำเป็นถุงสำหรับใส่เสื้อผ้า ยังเป็นที่สงสัยอยู่, ขอให้ถือเอาแต่ใจความว่า มันเป็นสิ่งที่ส่งเสียงไม่ได้ก็แล้วกัน. --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำ ประการใดประการหนึ่งอยู่, เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้น อย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และ จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูลใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. (คือ &​มีจิตเหมือนแผ่นหนังแมวป่าขนฟูที่ฟอกดีแล้วเห็นปานนั้น อันใครๆ จะทำให้มันส่งเสียงดังพรึมๆ ไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล. (๕. อุปมาที่ห้า) --ภิกษุ ท. ! ถ้า โจรผู้คอยหาช่อง พึงเลื่อยอวัยวะน้อยใหญ่ของใคร ด้วยเลื่อยมีด้ามสองข้าง; ผู้ใดมีใจประทุษร้ายในโจรนั้น ผู้นั้นชื่อว่าไม่ทำตามคำสอนของเรา เพราะเหตุที่มีใจประทุษร้ายต่อโจรนั้น http://etipitaka.com/read/pali/12/260/?keywords=โจร --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตาไม่มีโทสะในภายใน อยู่, แผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และจักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล. --ภิกษุ ท. ! เธอพึงกระทำในใจถึงโอวาทอันเปรียบด้วยเลื่อยนี้ อยู่เนืองๆ เถิด. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอทำในใจถึงโอวาทนั้นอยู่ เธอจะได้เห็นทางแห่งการกล่าวหาเล็กหรือใหญ่ที่เธออดกลั้นไม่ได้ อยู่อีกหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ พวกเธอทั้งหลายจงกระทำในใจ ถึงโอวาท &​อันเปรียบด้วยเลื่อยนี้ อยู่เป็นประจำเถิด : นั่นจักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่เธอทั้งหลาย ตลอดกาลนาน.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู.ม. 12/176 - 181/267 - 273. http://etipitaka.com/read/thai/12/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู.ม. ๑๒/๒๕๕ - ๒๘๐/๒๖๗ - ๒๗๓. http://etipitaka.com/read/pali/12/255/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=941 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=941 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การดำรงสมาธิจิต เมื่อถูกเบียดเบียนทั้งทางวาจาและทางกาย
    -การดำรงสมาธิจิต เมื่อถูกเบียดเบียนทั้งทางวาจาและทางกาย ภิกษุ ท. ! ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคลอื่นจะพึงกล่าวหาเธอ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ๑. กล่าวโดยกาลหรือโดยมิใช่กาล ๒. กล่าวโดยเรื่องจริงหรือโดยเรื่องไม่จริง ๓. กล่าวโดยอ่อนหวานหรือโดยหยาบคาย ๔. กล่าวด้วยเรื่องมีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์ ๕. กล่าวด้วยมีจิตเมตตาหรือมิโทสะในภายใน. ภิกษุ ท. ! เมื่อเขากล่าวอยู่อย่างนั้น ในกรณีนั้น ๆ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และจักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเนียก อย่างนี้แล. (๑. อุปมาที่หนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษถือจอบและกะทอ (สมัยนี้คือปุ้งกี๋) มาแล้วกล่าวว่า “เราจักกระทำแผ่นดินใหญ่นี้ ให้ไม่เป็นแผ่นดิน” ดังนี้; เขาขุดในที่นั้น ๆ เรี่ยรายดินในที่นั้นๆ ขากถุยอยู่ในที่นั้นๆ กระทืบเท้าอยู่ในที่นั้นๆ ปากพูดอยู่ว่า “มึงไม่ต้องเป็นแผ่นดินอีกต่อไป มึงไม่ต้องเป็นแผ่นดินอีกต่อไป” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้น จะทำแผ่นดินใหญ่นี้ ให้ไม่เป็นแผ่นดิน ได้แลหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุ ไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! แผ่นดินใหญ่นี้ลึกหาประมาณมิได้ เป็นการง่ายที่ใครๆ จะทำให้ไม่เป็นแผ่นดิน รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบากคับแค้นเสียเปล่า พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำประการใดประการหนึ่งอยู่ เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้นอย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และจักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูลใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทางมีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. (คือมีจิตเหมือนแผ่นดินใหญ่อันใครๆ จะกระทบกระทั่งให้เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒. อุปมาที่สอง) ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษถือเอาสี มา เป็นสีครั่งบ้าง สีเหลืองบ้าง สีเขียวบ้าง สีแสดบ้าง กล่าวอยู่ว่า “เราจักเขียนรูปต่างๆ ในอากาศนี้ ทำให้มีรูปปรากฏอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร บุรุษนั้นจะเขียนรูปต่าง ๆ ในอากาศนี้ ทำให้มีรูปปรากฎอยู่ ได้แลหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะเหตุว่าอากาศนี้ เป็นสิ่งที่มีรูปไม่ได้ แสดงออกซึ่งรูปไม่ได้. ในอากาศนั้น ไม่เป็นการง่ายที่ใครๆ จะเขียนรูป ทำให้มีรูปปรากฎอยู่ได้ รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบาก คับแค้นเสียเปล่า พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำประการใดประการหนึ่งอยู่ เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้น อย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายในอยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไม่ยังบุคคลนั้น อยู่ และจักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. (คือมีจิตเหมือนอากาศ อันใครๆ จะเขียนให้เป็นรูปปรากฎไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น ). ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล. (๓. อุปมาที่สาม) ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษถือคบหญ้า ที่กำลังลุกโพลงมา กล่าวอยู่ว่า “เราจักเผาแม่น้ำคงคาให้ร้อนจัด ให้เดือนพล่าน ด้วยคบหญ้าอันลุกโพลงนี้” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร บุรุษนั้นจะเผาแม่น้ำคงคาให้ร้อนจัด ให้เดือดพล่าน ด้วยคบหญ้าอันลุกโพลง ได้แลหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะเหตุว่า แม่น้ำคงคาลึกหาประมาณมิได้ ไม่เป็นการง่ายที่ใครๆ จะเผาให้ร้อนจัด ให้เดือดพล่านด้วยคบหญ้าอันลุกโพลง รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบากคับแค้นเสียเปล่า ดังนี้.” ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำประการใดประการหนึ่งอยู่ เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้น อย่างนี้ว่า “จิตของ เราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และจักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทางมีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. (คือมีจิตเหมือนแม่น้ำคงคา อันใครๆ จะเผาให้ร้อนเดือดด้วยคบหญ้าไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น) ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล. (๔. อุปมาที่สี่) ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน แผ่นหนังแมวป่าขนฟู๑ ฟอกนวดแล้ว นวดทุบอย่างดี นวดทุบอย่างทั่วถึง อ่อนนิ่มเหมือนปุยนุ่น ไม่ส่งเสียง ไม่ส่งกังวานเสียง. ลำดับนั้น มีบุรุษถือท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่งมา พลางพูดว่า “เราจักทำให้หนังแมวป่าขนฟูแผ่นนี้ ส่งเสียง มีเสียงพรึมๆ ด้วยท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่งนี้” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร บุรุษนั้นจะทำหนังแมวป่าขนฟูแผ่นนั้นให้ส่งเสียงพรึมๆ ด้วยท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่งนั้นได้แลหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เพราะเหตุว่า หนังแมวป่าขนฟูแผ่นนั้น เป็นของฟอกนวดแล้ว นวดทุบอย่างดี นวดทุบอย่างทั่วถึง อ่อนนิ่ม เหมือนปุยนุ่น ไม่ส่งเสียง ไม่ส่งกังวานเสียง ไม่เป็นการง่ายที่ใครๆ จะทำให้มันส่งเสียงดังพรึมๆ ด้วยท่อนไม้หรือไม้หัวโหม่ง รังแต่บุรุษนั้นจะเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบากคับแค้นเสียเปล่า ดังนี้ “. ๑. คำนี้ยังเป็นที่สงสัยอยู่ว่า จะเป็นแผ่นหนังฟอกใช้ห่มคลุมเล่น หรือแผ่นหนังที่ทำเป็นถุงสำหรับใส่เสื้อผ้า ยังเป็นที่สงสัยอยู่, ขอให้ถือเอาแต่ใจความว่า มันเป็นสิ่งที่ส่งเสียงไม่ได้ก็แล้วกัน. ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ในบรรดาทางแห่งถ้อยคำสำหรับการกล่าวหาห้าประการนั้น เมื่อเขากล่าวหาเธอ ด้วยทางแห่งถ้อยคำ ประการใดประการหนึ่งอยู่, เธอพึงทำการสำเหนียกในกรณีนั้น อย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมีจิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และจักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูลใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. (คือมีจิตเหมือนแผ่นหนังแมวป่าขนฟูที่ฟอกดีแล้วเห็นปานนั้น อันใครๆ จะทำให้มันส่งเสียงดังพรึมๆ ไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล. (๕. อุปมาที่ห้า) ภิกษุ ท. ! ถ้า โจรผู้คอยหาช่อง พึงเลื่อยอวัยวะน้อยใหญ่ของใครถ้วยเลื่อยมีด้ามสองข้าง; ผู้ใดมีใจประทุษร้ายในโจรนั้น ผู้นั้นชื่อว่าไม่ทำตามคำสอนของเรา เพราะเหตุที่มีใจประทุษร้ายต่อโจรนั้น ภิกษุ ท. ! ในกรณีนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน, เราจักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป, เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิตประกอบด้วยเมตตาไม่มีโทสะในภายใน อยู่, แผ่ไปยังบุคคลนั้น อยู่ และจักมีจิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูล ใหญ่หลวง ไม่มีประมาณ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท แผ่ไปสู่โลกถึงที่สุดทุกทิศทาง มีบุคคลนั้นเป็นอารมณ์ แล้วแลอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เธอพึงทำการสำเหนียก อย่างนี้แล. ภิกษุ ท. ! เธอพึงกระทำในใจถึงโอวาทอันเปรียบด้วยเลื่อยนี้ อยู่เนืองๆ เถิด. ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอทำในใจถึงโอวาทนั้นอยู่ เธอจะได้เห็นทาง แห่งการกล่าวหาเล็กหรือใหญ่ที่เธออดกลั้นไม่ได้ อยู่อีกหรือ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ พวกเธอทั้งหลายจงกระทำในใจถึงโอวาทอันเปรียบด้วยเลื่อยนี้ อยู่เป็นประจำเถิด : นั่นจักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่เธอทั้งหลาย ตลอดกาลนาน.
    0 Comments 0 Shares 377 Views 0 Reviews
More Results