• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 965
    ชื่อบทธรรม : -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ :-
    ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้.
    เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้,
    มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=สกฺกายนิโรเธ
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=สกฺกายนิโรเธ
    เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้,
    มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น)
    กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ
    เปรียบเหมือนชัมพาลี*--๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี
    คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด
    ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.
    *--๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน.

    ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/225/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ
    เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.-

    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/160-162/178.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/160/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๒๓-๒๒๕/๑๗๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=965
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค สัทธรรมลำดับที่ : 965 ชื่อบทธรรม : -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965 เนื้อความทั้งหมด :- --เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ :- ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้, มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=สกฺกายนิโรเธ ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=สกฺกายนิโรเธ เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้, มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ เปรียบเหมือนชัมพาลี*--๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. *--๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน. ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/225/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.- #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/160-162/178. http://etipitaka.com/read/thai/21/160/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๒๓-๒๒๕/๑๗๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=965 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ : ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้, มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้, มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้. เปรียบเหมือนชัมพาลี๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้. เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 72 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 597
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก
    เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย.
    เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
    ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ;
    นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย.
    ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน
    การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม
    มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย.
    อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่
    อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย,
    และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 597 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็น ส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 80 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 964
    ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    ...
    --[กรณีของปฐมฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น
    มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด;
    เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด;
    กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ;
    ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข;
    จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น.

    +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป;
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของทุติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว
    ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของตติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า
    “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของจตุตถฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้,
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน,
    จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป,
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.
    ...
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 964 ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 เนื้อความทั้งหมด :- --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ ... --[กรณีของปฐมฌาน] --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. ... #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282. http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ [กรณีของปฐมฌาน] โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้นมองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอ ย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. (ในกรณีแห่ง อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ และอากิญจัญญายตนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 84 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 596
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม
    และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง
    เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 596 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 86 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    สัทธรรมลำดับที่ : 963
    ชื่อบทธรรม : -ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเป็นผู้ มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่
    จิตย่อมไม่เกลือกกลั้วในรูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ;
    เมื่อเขามีจิตไม่เกลือกกลั้ว ปราโมทย์ย่อมเกิด;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด;
    เมื่อมีจิตปีติ กายย่อมสงบ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=ปีติมนสฺส+ปสฺสทฺธกาโย
    ผู้มีกายสงบ ย่อมอยู่เป็นสุข;
    จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น;
    เมื่อจิตตั้งมั่นแล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=สมาหิเต+จิตฺเต+ธมฺมานํ+ปาตุภาวา
    เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ บุคคลนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับว่า
    เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า #บุคคลเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.

    (ในกรณีแห่งผู้ มีปกติอยู่ด้วยความประมาท ก็ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม).-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/80/144.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๙๘/๑๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=963
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท สัทธรรมลำดับที่ : 963 ชื่อบทธรรม : -ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท --ภิกษุ ท. ! บุคคลเป็นผู้ มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่ จิตย่อมไม่เกลือกกลั้วในรูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ; เมื่อเขามีจิตไม่เกลือกกลั้ว ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด; เมื่อมีจิตปีติ กายย่อมสงบ; http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=ปีติมนสฺส+ปสฺสทฺธกาโย ผู้มีกายสงบ ย่อมอยู่เป็นสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น; เมื่อจิตตั้งมั่นแล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ; http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=สมาหิเต+จิตฺเต+ธมฺมานํ+ปาตุภาวา เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ บุคคลนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า #บุคคลเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท. (ในกรณีแห่งผู้ มีปกติอยู่ด้วยความประมาท ก็ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม).- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/80/144. http://etipitaka.com/read/thai/18/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๙๘/๑๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=963 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 85 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย
    สัทธรรมลำดับที่ : 595
    ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท
    --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่.
    ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น.
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด.

    --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง).
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี)
    ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​
    ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.-
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย สัทธรรมลำดับที่ : 595 ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่. ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น. --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด. --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง). http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​ ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.- http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241. http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 94 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป
    สัทธรรมลำดับที่ : 962
    ชื่อบทธรรม :- การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=962
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์
    มีความประสงค์จะเสพเสนาสนะอันสงัด คือ ป่าหรือป่าเปลี่ยว”.
    --อุบาลี ! เสนาสนะอันสงัด คือป่าหรือป่าเปลี่ยว
    http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=อรญฺญวนปตฺถานิ+ปนฺตานิ+เสนาสนานิ
    อยู่ได้ยาก ปวิเวกทำได้ยาก ความอยู่คนเดียว
    เป็นสิ่งที่ยินดีได้ยาก ป่ามักจะนำไปเสีย ซึ่งใจของภิกษุผู้ไม่ได้สมาธิอยู่.
    --อุบาลี ! ผู้ใดพูดว่า
    “เราไม่ได้สมาธิ เราจักไปอยู่ในเสนาสนะอันสงัดคือป่าหรือป่าเปลี่ยว”
    http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=วนานิ+สมาธึ
    ดังนี้
    เขานั้น พึงหวังผลข้อนี้ คือ จิตจักจมลงหรือจิตจักปลิวไป.
    --อุบาลี ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใหญ่ มีอยู่.
    ช้างพลายสูงเจ็ดรัตน์(๑๔​ ฟุต)​*--๑ หรือเจ็ดรัตน์ครึ่ง
    มาสู่ที่นั้นแล้วคิดว่า
    “เราจะลงสู่ห้วงน้ำนี้ แล้วเล่นน้ำ ล้างหูบ้าง เล่นน้ำ ล้างหลังบ้าง
    แล้วพึงอาบพึงดื่ม พึงขึ้นจากห้วงน้ำแล้วหลีกไปตามปรารถนา”
    ดังนี้;
    ช้างนั้น กระทำได้ดังนั้น, เพราะเหตุไร ?
    --อุบาลี ! เพราะเหตุว่า ช้างนั้นตัวใหญ่ จึงอาจหยั่งลงในห้วงน้ำลึกได้.
    ครั้งนั้น
    กระต่ายหรือแมวป่า มาเห็นช้างนั้นแล้วคิดว่า
    “ช้างจะเป็นอะไรที่ไหนมา เราก็จะเป็นอะไรที่ไหนไป
    ดังนั้น เราจะลงสู่ห้วงน้ำนี้ แล้วเล่นน้ำ ล้างหูบ้าง เล่นน้ำ ล้างหลังบ้าง
    แล้วพึงอาบพึงดื่ม พึงขึ้นจากห้วงน้ำแล้วหลีกไปตามปรารถนา”
    ดังนี้;
    กระต่าย หรือแมวป่านั้น กระโจนลงสู่ห้วงน้ำนั้น
    โดยไม่พิจารณา ผลที่มันหวังได้ก็คือ จมดิ่งลงไป หรือลอยไปตามกระแสน้ำ.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    เพราะว่ากระต่ายหรือแมวป่านั้นตัวมันเล็ก จึงไม่อาจหยั่งลงในห้วงน้ำลึก,
    นี้ฉันใด;
    --อุบาลี ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ผู้ใด พูดว่า
    “เราไม่ได้สมาธิ เราจักไปอยู่ในเสนาสนะอันสงัดคือป่า หรือป่าเปลี่ยว”
    ดังนี้
    เขานั้น พึงหวังผลข้อนี้คือ จิตจักจมลง หรือจิตจักปลิวไป.
    --อุบาลี ! เธอ จงอยู่ในหมู่สงฆ์เถิด ความผาสุกจักมีแก่เธอผู้อยู่ในหมู่สงฆ์,
    ดังนี้.-

    *--๑. หนึ่งรัตน์เท่ากับ ๒ วิทัตถิ,
    เท่าที่ทดสอบกันในประเทศไทยแล้ว ปรากฏว่า หนึ่งวิทัตถิ ประมาณเท่ากับ ๑ ฟุต.--

    (เนื้อความข้อนี้แสดงว่า การออกไปอยู่ป่ามิได้เหมาะสำหรับทุกคน.
    ผู้ใดคิดว่าจักบรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน กระทั่งถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอันไม่มีอาสวะ
    ด้วยเหตุเพียงสักว่าอยู่ป่าอย่างเดียวนั้น ไม่อาจจะสำเร็จได้
    เพราะไม่ชื่อว่า เป็นผู้ตามถึงประโยชน์ตน (อนุปฺปตฺตสทตฺถ) ได้ด้วยเหตุสักว่าการอยู่ป่า ;
    ดังนั้นพระองค์จึงตรัสกะภิกษุอุบาลีว่า : -)

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/172/99.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/172/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๑๖/๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=962
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=962
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป สัทธรรมลำดับที่ : 962 ชื่อบทธรรม :- การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=962 เนื้อความทั้งหมด :- --การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ มีความประสงค์จะเสพเสนาสนะอันสงัด คือ ป่าหรือป่าเปลี่ยว”. --อุบาลี ! เสนาสนะอันสงัด คือป่าหรือป่าเปลี่ยว http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=อรญฺญวนปตฺถานิ+ปนฺตานิ+เสนาสนานิ อยู่ได้ยาก ปวิเวกทำได้ยาก ความอยู่คนเดียว เป็นสิ่งที่ยินดีได้ยาก ป่ามักจะนำไปเสีย ซึ่งใจของภิกษุผู้ไม่ได้สมาธิอยู่. --อุบาลี ! ผู้ใดพูดว่า “เราไม่ได้สมาธิ เราจักไปอยู่ในเสนาสนะอันสงัดคือป่าหรือป่าเปลี่ยว” http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=วนานิ+สมาธึ ดังนี้ เขานั้น พึงหวังผลข้อนี้ คือ จิตจักจมลงหรือจิตจักปลิวไป. --อุบาลี ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใหญ่ มีอยู่. ช้างพลายสูงเจ็ดรัตน์(๑๔​ ฟุต)​*--๑ หรือเจ็ดรัตน์ครึ่ง มาสู่ที่นั้นแล้วคิดว่า “เราจะลงสู่ห้วงน้ำนี้ แล้วเล่นน้ำ ล้างหูบ้าง เล่นน้ำ ล้างหลังบ้าง แล้วพึงอาบพึงดื่ม พึงขึ้นจากห้วงน้ำแล้วหลีกไปตามปรารถนา” ดังนี้; ช้างนั้น กระทำได้ดังนั้น, เพราะเหตุไร ? --อุบาลี ! เพราะเหตุว่า ช้างนั้นตัวใหญ่ จึงอาจหยั่งลงในห้วงน้ำลึกได้. ครั้งนั้น กระต่ายหรือแมวป่า มาเห็นช้างนั้นแล้วคิดว่า “ช้างจะเป็นอะไรที่ไหนมา เราก็จะเป็นอะไรที่ไหนไป ดังนั้น เราจะลงสู่ห้วงน้ำนี้ แล้วเล่นน้ำ ล้างหูบ้าง เล่นน้ำ ล้างหลังบ้าง แล้วพึงอาบพึงดื่ม พึงขึ้นจากห้วงน้ำแล้วหลีกไปตามปรารถนา” ดังนี้; กระต่าย หรือแมวป่านั้น กระโจนลงสู่ห้วงน้ำนั้น โดยไม่พิจารณา ผลที่มันหวังได้ก็คือ จมดิ่งลงไป หรือลอยไปตามกระแสน้ำ. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? เพราะว่ากระต่ายหรือแมวป่านั้นตัวมันเล็ก จึงไม่อาจหยั่งลงในห้วงน้ำลึก, นี้ฉันใด; --อุบาลี ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ผู้ใด พูดว่า “เราไม่ได้สมาธิ เราจักไปอยู่ในเสนาสนะอันสงัดคือป่า หรือป่าเปลี่ยว” ดังนี้ เขานั้น พึงหวังผลข้อนี้คือ จิตจักจมลง หรือจิตจักปลิวไป. --อุบาลี ! เธอ จงอยู่ในหมู่สงฆ์เถิด ความผาสุกจักมีแก่เธอผู้อยู่ในหมู่สงฆ์, ดังนี้.- *--๑. หนึ่งรัตน์เท่ากับ ๒ วิทัตถิ, เท่าที่ทดสอบกันในประเทศไทยแล้ว ปรากฏว่า หนึ่งวิทัตถิ ประมาณเท่ากับ ๑ ฟุต.-- (เนื้อความข้อนี้แสดงว่า การออกไปอยู่ป่ามิได้เหมาะสำหรับทุกคน. ผู้ใดคิดว่าจักบรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน กระทั่งถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอันไม่มีอาสวะ ด้วยเหตุเพียงสักว่าอยู่ป่าอย่างเดียวนั้น ไม่อาจจะสำเร็จได้ เพราะไม่ชื่อว่า เป็นผู้ตามถึงประโยชน์ตน (อนุปฺปตฺตสทตฺถ) ได้ด้วยเหตุสักว่าการอยู่ป่า ; ดังนั้นพระองค์จึงตรัสกะภิกษุอุบาลีว่า : -) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/172/99. http://etipitaka.com/read/thai/24/172/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๑๖/๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=962 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=962 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 157 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    สัทธรรมลำดับที่ : 594
    ชื่อบทธรรม : -หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    ....
    ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ
    ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่พระองค์ตรัสว่า ภิกษุ​ผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ๆ
    ดังนี้
    ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    --ดูกรภิกษุ ถ้าว่าภิกษุ
    พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป
    ใน เห็นรูปด้วยตา(จักขุนทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน จักขุนทรีย์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=จกฺขุนฺทฺริเย
    .. ฟังเสียงด้วยหู (โสตินทรีย์)..
    .. ดมกลิ่นด้วยจมูก (ฆานินทรีย์)..
    .. ลิ้มรสด้วยลิ้น (ชิวหินทรีย์)..
    .. ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย(โผฏฐัพินทรีย์)​ และ
    พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป
    ใน รับรู้ธรรมารมย์ด้วยใจ(มนินทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน มนินทรีย์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=มนินฺทฺริเย
    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
    เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว
    พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
    --ดูกรภิกษุภิกษุ​ #เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์
    ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล​ฯ
    *--สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๖/๒๔๓
    *--http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    ....
    --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้วไม่ต้องอาศัยความเชื่อ
    ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา
    การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย
    ก็อาจพยากรณ์ #การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ โดยรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/18/174/?keywords=จกฺขุนา
    รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งเกิดมีอยู่ในภายใน ว่าเกิดมีอยู่ในภายใน,
    รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ อันไม่เกิดมีอยู่ในภายใน ว่าไม่เกิดมีอยู่ในภายใน.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอรู้ชัดอยู่อย่างนี้แล้ว
    ยังจำเป็นอยู่อีกหรือ ที่จะต้องรู้ธรรมทั้งหลายด้วยอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ
    การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการ การเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตน ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยปัญญาแล้ว จึงรู้ มิใช่หรือ ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=ธมฺมา+ปญฺญาย
    "ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! นี่แหละ หลักเกณฑ์ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้ว ไม่ต้องอาศัยความเชื่อ
    ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา
    การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย
    ก็อาจพยากรณ์การบรรลุอรหัตตผลของตนได้
    http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=พฺยากโรติ
    โดยรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่งการ
    ๒.ฟังเสียงด้วยหู
    ๓.ดมกลิ่นด้วยจมูก
    ๔.ลิ้มรสด้วยลิ้น
    ๕.ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย และ
    ๖.รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสต่อไปอีกโดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งการเห็นรูปด้วยตา ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233-235/239-242.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๓-๑๗๕/๒๓๙-๒๔๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=594
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40
    ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ สัทธรรมลำดับที่ : 594 ชื่อบทธรรม : -หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594 เนื้อความทั้งหมด :- --หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ .... ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่พระองค์ตรัสว่า ภิกษุ​ผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ๆ ดังนี้ ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า --ดูกรภิกษุ ถ้าว่าภิกษุ พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป ใน เห็นรูปด้วยตา(จักขุนทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน จักขุนทรีย์ http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=จกฺขุนฺทฺริเย .. ฟังเสียงด้วยหู (โสตินทรีย์).. .. ดมกลิ่นด้วยจมูก (ฆานินทรีย์).. .. ลิ้มรสด้วยลิ้น (ชิวหินทรีย์).. .. ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย(โผฏฐัพินทรีย์)​ และ พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป ใน รับรู้ธรรมารมย์ด้วยใจ(มนินทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน มนินทรีย์ http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=มนินฺทฺริเย เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี --ดูกรภิกษุภิกษุ​ #เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล​ฯ *--สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๖/๒๔๓ *--http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 .... --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้วไม่ต้องอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย ก็อาจพยากรณ์ #การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ โดยรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เห็นรูปด้วยตาแล้ว http://etipitaka.com/read/pali/18/174/?keywords=จกฺขุนา รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งเกิดมีอยู่ในภายใน ว่าเกิดมีอยู่ในภายใน, รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ อันไม่เกิดมีอยู่ในภายใน ว่าไม่เกิดมีอยู่ในภายใน. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอรู้ชัดอยู่อย่างนี้แล้ว ยังจำเป็นอยู่อีกหรือ ที่จะต้องรู้ธรรมทั้งหลายด้วยอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการ การเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตน ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยปัญญาแล้ว จึงรู้ มิใช่หรือ ? http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=ธมฺมา+ปญฺญาย "ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! นี่แหละ หลักเกณฑ์ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้ว ไม่ต้องอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย ก็อาจพยากรณ์การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=พฺยากโรติ โดยรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. (ในกรณีแห่งการ ๒.ฟังเสียงด้วยหู ๓.ดมกลิ่นด้วยจมูก ๔.ลิ้มรสด้วยลิ้น ๕.ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย และ ๖.รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสต่อไปอีกโดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งการเห็นรูปด้วยตา ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233-235/239-242. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๓-๑๗๕/๒๓๙-๒๔๒. http://etipitaka.com/read/pali/18/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=594 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40 ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 188 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งวิญญาณขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 168
    ชื่อบทธรรม : -๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168
    เนื้อความทั้งหมด :-

    ๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์วิญญาณหก
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหก เหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา, วิญญาณทางหู, วิญญาณทางจมูก, วิญญาณทางลิ้น, วิญญาณทางกาย, และวิญญาณทางใจ.
    ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า วิญญาณ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/60/117.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=168

    สัทธรรมลำดับที่ : 169
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
    -ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “วิญญาณ” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ. สิ่งนั้น
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเปรี้ยวบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขมบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเผ็ดร้อนบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้งซึ่ง ความหวานบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขื่นบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความความไม่ขื่นบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเค็มบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความไม่เค็มบ้าง
    (ดังนี้เป็นต้น).
    -ภิกษุ ท. ! #เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล)
    ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=169

    สัทธรรมลำดับที่ : 170
    ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งวิญญาณ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งวิญญาณ
    --ภิกษุ ท. ! นักแสดงกลก็ตาม ลูกมือของนักแสดงกลก็ตาม
    แสดงกลอยู่ที่ทางใหญ่สี่แยก.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ)
    เห็นกลนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อบุรุษผู้นั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    กลนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสาร
    ในกลนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ
    วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุสังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง)
    วิญญาณนั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    วิญญาณนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    -ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในวิญญาณนั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/134/246.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/134/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๓/๒๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=170

    สัทธรรมลำดับที่ : 171
    ชื่อบทธรรม : -วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางหู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางจมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางกาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/274/471.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/274/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๗๙/๔๗๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=171
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งวิญญาณขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 168 ชื่อบทธรรม : -๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168 เนื้อความทั้งหมด :- ๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์วิญญาณหก --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหก เหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา, วิญญาณทางหู, วิญญาณทางจมูก, วิญญาณทางลิ้น, วิญญาณทางกาย, และวิญญาณทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า วิญญาณ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/60/117. http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=168 สัทธรรมลำดับที่ : 169 ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “วิญญาณ” https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169 เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “วิญญาณ” -ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “วิญญาณ” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ. สิ่งนั้น ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเปรี้ยวบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขมบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเผ็ดร้อนบ้าง, ย่อมรู้แจ้งซึ่ง ความหวานบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขื่นบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความความไม่ขื่นบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเค็มบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความไม่เค็มบ้าง (ดังนี้เป็นต้น). -ภิกษุ ท. ! #เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=169 สัทธรรมลำดับที่ : 170 ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งวิญญาณ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170 เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งวิญญาณ --ภิกษุ ท. ! นักแสดงกลก็ตาม ลูกมือของนักแสดงกลก็ตาม แสดงกลอยู่ที่ทางใหญ่สี่แยก. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นกลนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อบุรุษผู้นั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, กลนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสาร ในกลนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ; ภิกษุสังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) วิญญาณนั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, วิญญาณนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. -ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในวิญญาณนั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/134/246. http://etipitaka.com/read/thai/17/134/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๓/๒๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=170 สัทธรรมลำดับที่ : 171 ชื่อบทธรรม : -วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171 เนื้อความทั้งหมด :- --วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางหู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางจมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางกาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/274/471. http://etipitaka.com/read/thai/17/274/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๗๙/๔๗๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=171 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 136 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าสามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส
    สัทธรรมลำดับที่ : 593
    ชื่อบทธรรม : -สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=593
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส
    ...
    อุปสีวมาณพทูลถามปัญหาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ศากยะ
    ข้าพระองค์ผู้เดียวไม่อาศัยธรรมหรือบุคคลอะไรแล้ว
    ไม่สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลสได้ข้าแต่พระองค์ผู้สมันตจักษุ
    ขอพระองค์จงตรัสบอกที่หน่วงเหนี่ยว อันข้าพระองค์พึงอาศัยข้ามห้วงน้ำคือกิเลสนี้
    แก่ข้าพระองค์เถิด ฯ
    พระผู้มีพระภาค(พ.) ตรัสพยากรณ์ว่า
    อุปสีวะ(อุ.)
    ท่านจงเป็นผู้มีสติ เพ่งอากิญจัญญายตนสมาบัติ อาศัยอารมณ์ว่า ไม่มี
    ดังนี้แล้วข้ามห้วงน้ำคือกิเลสเสียเถิด ท่านจงละกามทั้งหลายเสีย เป็น
    ผู้เว้นจากความสงสัย เห็นธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหาให้แจ่มแจ้ง
    ทั้งกลางวันกลางคืนเถิด ฯ
    อุ. ผู้ใดปราศจากความกำหนัดยินดีในกามทั้งปวงละสมาบัติอื่นเสีย อาศัย
    อากิญจัญญายตนสมาบัติ น้อมใจลงในสัญญาวิโมกข์ (คืออากิญจัญญา
    ยตนสมาบัติ ธรรมเปลื้องสัญญา)เป็นอย่างยิ่ง ผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหว
    พึงตั้งอยู่ในอากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นแลหรือ ฯ
    พ. ดูกรอุปสีวะ ผู้ใดปราศจากความกำหนัดยินดีในกามทั้งปวงละสมาบัติ
    อื่นเสีย อาศัยอากิญจัญญายตนสมาบัติ น้อมใจลงในสัญญาวิโมกข์เป็น
    อย่างยิ่ง ผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหวพึงตั้งอยู่ในอากิญจัญญายตนพรหมโลก
    นั้น ฯ
    อุ. ข้าแต่พระองค์ผู้มีสมันตจักษุ ถ้าผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหว พึงตั้งอยู่ใน
    อากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นสิ้นปีแม้มากไซร้ ผู้นั้นพึงพ้นจากทุกข์
    ต่างๆ ในอากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นแหละ พึงเป็นผู้เยือกเย็น
    หรือว่าวิญญาณของผู้เช่นนั้น พึงเกิดเพื่อถือปฏิสนธิอีก ฯ
    พ. ดูกรอุปสีวะ มุนีพ้นแล้วจากนามกาย ย่อมถึงการตั้งอยู่ไม่ได้ไม่ถึงการ
    นับ เปรียบเหมือนเปลวไฟอันถูกกำลังลมพัดไปแล้ว ย่อมถึงการตั้งอยู่
    ไม่ได้ ไม่ถึงการนับ ฉะนั้น ฯ
    อุ. ท่านผู้นั้นถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ ท่านผู้นั้นไม่มีหรือว่าท่านผู้นั้นเป็นผู้ไม่มีโรค
    ด้วยความเป็นผู้เที่ยง ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นมุนี ขอพระองค์จงตรัส
    พยากรณ์ความข้อนั้นให้สำเร็จประโยชน์แก่ข้าพระองค์เถิด เพราะว่า
    ธรรมนั้นพระองค์ทรงรู้แจ้งแล้วด้วยประการนั้น ฯ
    พ. ดูกรอุปสีวะ ท่านผู้ถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ ไม่มีประมาณ ชนทั้งหลายจะ
    พึงกล่าวท่านผู้นั้นด้วยกิเลสมีราคะเป็นต้นใด กิเลสมีราคะเป็นต้นนั้น
    ของท่านไม่มี เมื่อธรรม (มีขันธ์เป็นต้น)ทั้งปวง ท่านเพิกถอนขึ้นได้
    แล้ว แม้ทางแห่งถ้อยคำทั้งหมดก็เป็นอันท่านเพิกถอนขึ้นได้แล้ว ฯ
    http://etipitaka.com/read/pali/25/539/?keywords=อุปสีวมาณวกปญฺหา
    ...
    ประมาณเครื่องกำหนด (คือเกณฑ์ที่ใช้วัดสอบทุกชนิด)
    ไม่มีทางที่จะเอามาใช้ แก่บุคคลผู้ถึงซึ่งความดับแห่งการยึดถือตัวตน,
    ท่านผู้เป็นเช่นนั้น เป็นคนที่ไม่มีเหตุหรือคุณลักษณะอะไรๆ ที่ใครๆ
    จะกล่าวว่าท่านเป็นอะไร ได้อีกต่อไป.
    เมื่อสิ่งทั้งปวงถูกเพิกถอนความยึดถือเสียแล้ว
    วาทบถ คือ คลองแห่งถ้อยคำสำหรับเรียกสิ่งนั้นทั้งหมด
    ก็พลอยถูกเพิกถอน คือไร้ความหมายไปด้วยทั้งสิ้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/402/430.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/402/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๕๓​๘/๔๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/538/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=593
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=593
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40
    ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าสามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส สัทธรรมลำดับที่ : 593 ชื่อบทธรรม : -สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=593 เนื้อความทั้งหมด :- --สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลส ... อุปสีวมาณพทูลถามปัญหาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ศากยะ ข้าพระองค์ผู้เดียวไม่อาศัยธรรมหรือบุคคลอะไรแล้ว ไม่สามารถจะข้ามห้วงน้ำใหญ่คือกิเลสได้ข้าแต่พระองค์ผู้สมันตจักษุ ขอพระองค์จงตรัสบอกที่หน่วงเหนี่ยว อันข้าพระองค์พึงอาศัยข้ามห้วงน้ำคือกิเลสนี้ แก่ข้าพระองค์เถิด ฯ พระผู้มีพระภาค(พ.) ตรัสพยากรณ์ว่า อุปสีวะ(อุ.) ท่านจงเป็นผู้มีสติ เพ่งอากิญจัญญายตนสมาบัติ อาศัยอารมณ์ว่า ไม่มี ดังนี้แล้วข้ามห้วงน้ำคือกิเลสเสียเถิด ท่านจงละกามทั้งหลายเสีย เป็น ผู้เว้นจากความสงสัย เห็นธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหาให้แจ่มแจ้ง ทั้งกลางวันกลางคืนเถิด ฯ อุ. ผู้ใดปราศจากความกำหนัดยินดีในกามทั้งปวงละสมาบัติอื่นเสีย อาศัย อากิญจัญญายตนสมาบัติ น้อมใจลงในสัญญาวิโมกข์ (คืออากิญจัญญา ยตนสมาบัติ ธรรมเปลื้องสัญญา)เป็นอย่างยิ่ง ผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหว พึงตั้งอยู่ในอากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นแลหรือ ฯ พ. ดูกรอุปสีวะ ผู้ใดปราศจากความกำหนัดยินดีในกามทั้งปวงละสมาบัติ อื่นเสีย อาศัยอากิญจัญญายตนสมาบัติ น้อมใจลงในสัญญาวิโมกข์เป็น อย่างยิ่ง ผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหวพึงตั้งอยู่ในอากิญจัญญายตนพรหมโลก นั้น ฯ อุ. ข้าแต่พระองค์ผู้มีสมันตจักษุ ถ้าผู้นั้นเป็นผู้ไม่หวั่นไหว พึงตั้งอยู่ใน อากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นสิ้นปีแม้มากไซร้ ผู้นั้นพึงพ้นจากทุกข์ ต่างๆ ในอากิญจัญญายตนพรหมโลกนั้นแหละ พึงเป็นผู้เยือกเย็น หรือว่าวิญญาณของผู้เช่นนั้น พึงเกิดเพื่อถือปฏิสนธิอีก ฯ พ. ดูกรอุปสีวะ มุนีพ้นแล้วจากนามกาย ย่อมถึงการตั้งอยู่ไม่ได้ไม่ถึงการ นับ เปรียบเหมือนเปลวไฟอันถูกกำลังลมพัดไปแล้ว ย่อมถึงการตั้งอยู่ ไม่ได้ ไม่ถึงการนับ ฉะนั้น ฯ อุ. ท่านผู้นั้นถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ ท่านผู้นั้นไม่มีหรือว่าท่านผู้นั้นเป็นผู้ไม่มีโรค ด้วยความเป็นผู้เที่ยง ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นมุนี ขอพระองค์จงตรัส พยากรณ์ความข้อนั้นให้สำเร็จประโยชน์แก่ข้าพระองค์เถิด เพราะว่า ธรรมนั้นพระองค์ทรงรู้แจ้งแล้วด้วยประการนั้น ฯ พ. ดูกรอุปสีวะ ท่านผู้ถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ ไม่มีประมาณ ชนทั้งหลายจะ พึงกล่าวท่านผู้นั้นด้วยกิเลสมีราคะเป็นต้นใด กิเลสมีราคะเป็นต้นนั้น ของท่านไม่มี เมื่อธรรม (มีขันธ์เป็นต้น)ทั้งปวง ท่านเพิกถอนขึ้นได้ แล้ว แม้ทางแห่งถ้อยคำทั้งหมดก็เป็นอันท่านเพิกถอนขึ้นได้แล้ว ฯ http://etipitaka.com/read/pali/25/539/?keywords=อุปสีวมาณวกปญฺหา ... ประมาณเครื่องกำหนด (คือเกณฑ์ที่ใช้วัดสอบทุกชนิด) ไม่มีทางที่จะเอามาใช้ แก่บุคคลผู้ถึงซึ่งความดับแห่งการยึดถือตัวตน, ท่านผู้เป็นเช่นนั้น เป็นคนที่ไม่มีเหตุหรือคุณลักษณะอะไรๆ ที่ใครๆ จะกล่าวว่าท่านเป็นอะไร ได้อีกต่อไป. เมื่อสิ่งทั้งปวงถูกเพิกถอนความยึดถือเสียแล้ว วาทบถ คือ คลองแห่งถ้อยคำสำหรับเรียกสิ่งนั้นทั้งหมด ก็พลอยถูกเพิกถอน คือไร้ความหมายไปด้วยทั้งสิ้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/402/430. http://etipitaka.com/read/thai/25/402/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๕๓​๘/๔๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/538/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=593 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=593 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40 ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ประมาณเครื่องกำหนด (คือเกณฑ์ที่ใช้วัดสอบทุกชนิด) ไม่มีทางที่จะเอามาใช้ แก่บุคคลผู้ถึงซึ่งความดับแห่งการยึดถือตัวตน
    -ประมาณเครื่องกำหนด (คือเกณฑ์ที่ใช้วัดสอบทุกชนิด) ไม่มีทางที่จะเอามาใช้ แก่บุคคลผู้ถึงซึ่งความดับแห่งการยึดถือตัวตน, ท่านผู้เช่นนั้น เป็นคนที่ไม่มีเหตุหรือคุณลักษณะอะไรๆ ที่ใครๆ จะกล่าวว่าท่านเป็นอะไร ได้อีกต่อไป. เมื่อสิ่งทั้งปวงถูกเพิกถอนความยึดถือเสียแล้ว วาทบถ คือ คลองแห่งถ้อยคำสำหรับเรียกสิ่งนั้นทั้งหมด ก็พลอยถูกเพิกถอน คือไร้ความหมายไปด้วยทั้งสิ้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 170 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป
    สัทธรรมลำดับที่ : 959
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=959
    ชื่อบทธรรม :- จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป สำหรับการบรรลุฌาน และทำให้แจ้งมรรคผล
    --ภิกษุ ท. ! เพราะไม่ละธรรม ๕ อย่าง
    +--บุคคลจึงไม่ควรเข้าอยู่ ซึ่ง
    ปฐมฌาน
    ทุติยฌาน
    ตติยฌาน
    จตุตถฌาน
    +--ไม่ควรเพื่อกระทำให้แจ้ง ซึ่ง
    โสดาปัตติผล
    สกทาคามิผล
    อนาคามิผล
    อรหัตตผล.
    ธรรม ๕ อย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ
    ๑--ความตระหนี่อาวาส
    http://etipitaka.com/read/pali/22/303/?keywords=อาวาสมจฺฉริยํ
    ๒--ความตระหนี่ตระกูล
    ๓--ความตระหนี่ลาภ
    ๔--ความตระหนี่วรรณะ (ความดี)
    ๕--ความตระหนี่ธรรม (เครื่องให้บรรลุมรรคผล).
    http://etipitaka.com/read/pali/22/303/?keywords=ธมฺมมจฺฉริยํ

    (ต่อจากนี้ ได้ตรัสโดยนัยตรงกันข้าม
    ถึงการละธรรม ๕ อย่างนั้นแล้ว
    ควรเพื่อเข้าอยู่ในฌานและกระทำให้แจ้งซึ่งมรรคผล).-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/251/256 - 357.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/251/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๓๐๒/๒๕๖ - ๓๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=959
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=959
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป สัทธรรมลำดับที่ : 959 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=959 ชื่อบทธรรม :- จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป เนื้อความทั้งหมด :- --จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป สำหรับการบรรลุฌาน และทำให้แจ้งมรรคผล --ภิกษุ ท. ! เพราะไม่ละธรรม ๕ อย่าง +--บุคคลจึงไม่ควรเข้าอยู่ ซึ่ง ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน +--ไม่ควรเพื่อกระทำให้แจ้ง ซึ่ง โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผล. ธรรม ๕ อย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ ๑--ความตระหนี่อาวาส http://etipitaka.com/read/pali/22/303/?keywords=อาวาสมจฺฉริยํ ๒--ความตระหนี่ตระกูล ๓--ความตระหนี่ลาภ ๔--ความตระหนี่วรรณะ (ความดี) ๕--ความตระหนี่ธรรม (เครื่องให้บรรลุมรรคผล). http://etipitaka.com/read/pali/22/303/?keywords=ธมฺมมจฺฉริยํ (ต่อจากนี้ ได้ตรัสโดยนัยตรงกันข้าม ถึงการละธรรม ๕ อย่างนั้นแล้ว ควรเพื่อเข้าอยู่ในฌานและกระทำให้แจ้งซึ่งมรรคผล).- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/251/256 - 357. http://etipitaka.com/read/thai/22/251/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๓๐๒/๒๕๖ - ๓๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/22/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=959 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=959 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป
    -จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไป สำหรับการบรรลุฌาน และทำให้แจ้งมรรคผล ภิกษุ ท. ! เพราะไม่ละธรรม ๕ อย่าง บุคคลจึงไม่ควรเข้าอยู่ ซึ่ง ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ไม่ควรเพื่อกระทำให้แจ้ง ซึ่งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผล. ธรรม ๕ อย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ ความตระหนี่อาวาส ความตระหนี่ตระกูล ความตระหนี่ลาภ ความตระหนี่วรรณะ (ความดี) ความตระหนี่ธรรม (เครื่องให้บรรลุมรรคผล). (ต่อจากนี้ ได้ตรัสโดยนัยตรงกันข้ามถึงการละธรรม ๕ อย่างนั้นแล้ว ควรเพื่อเข้าอยู่ในฌานและกระทำให้แจ้งซึ่งมรรคผล).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 140 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าผู้อยู่คนเดียว คือผู้ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งปวง
    สัทธรรมลำดับที่ : 591
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=591
    ชื่อบทธรรม :- ผู้อยู่คนเดียว คือผู้ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งปวง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้อยู่คนเดียว คือผู้ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งปวง
    (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสแก่ภิกษุชื่อเถระ
    ผู้มีปกติชอบอยู่คนเดียวจนเป็นที่เล่าลือกัน ในหมู่ภิกษุ, ว่า :-
    )​
    --ดูก่อนเถระ ! การอยู่คนเดียวอย่างของเธอ
    ก็มีอยู่ เรามิได้กล่าวว่าไม่มี ;
    แต่ว่ายังมีการอยู่คนเดียวที่บริบูรณ์พิสดาร
    กว่าชนิดของเธอ, เธอจงตั้งใจฟังให้ดี,
    เราจักกล่าว.
    --ดูก่อนเถระ ! การอยู่คนเดียวชนิดที่บริบูรณ์พิสดารกว่าชนิดของเธอนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ดูก่อนเถระ ! การอยู่คนเดียวในกรณีนี้คือ
    สิ่งเป็นอดีตก็ละได้แล้ว สิ่งเป็นอนาคตก็ไม่มีทางจะเกิดขึ้น
    ส่วนฉันทราคะในอัตตภาพอันได้แล้วทั้งหลาย อันเป็นปัจจุบัน ก็นำออกแล้วหมดสิ้น.
    +--ดูก่อนเถระ ! อย่างนี้แล #เป็นการอยู่คนเดียวที่บริบูรณ์
    พิสดารกว่าการอยู่คนเดียวชนิดของเธอ.

    (คาถาผนวกท้ายพระสูตร)
    นรชนผู้มีปัญญาดี ครอบงำอารมณ์ทั้งปวงได้
    รู้ธรรมทั้งปวง ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งหลายทั้งสิ้น
    ละอุปธิทั้งปวง หลุดพ้นพิเศษแล้วในธรรมเป็นที่ สิ้นตัณหา
    นั้นเราเรียกเขาว่า ผู้มีปกติอยู่คนเดียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/330/?keywords=ตณฺหกฺขเย

    (ข้อความที่มีปัญหายากแก่การแปลในสูตรนี้ มีอยู่ คือข้อความที่ว่า
    “ปจฺจุปฺปนฺเนสุจอตฺตภาวปฏิลาเภสุ ฉนฺทราโค” ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/330/?keywords=ฉนฺทราโค
    หลังจากใคร่ครวญ ทบทวนดูแล้ว เห็นว่าต้องแปลว่า
    “ส่วนฉันทราคะในอัตตภาพอันได้แล้วทั้งหลาย อันเป็นปัจจุบัน”
    หมายความว่า
    ฉันทราคะ มีในอัตตภาพ ซึ่งได้แล้วมากครั้งในปัจจุบัน ไม่ใช่ฉันทราคะมีในการได้.
    อัตภาพในกรณีเช่นนี้ หมายถึงภพหรือความมีความเป็นในรูปแบบหนึ่ง ๆ
    ซึ่งเกิดขึ้นเพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ในวิถีแห่งการปรุงแต่งทางจิต
    ในกระแสแห่งปฏิจจสมุปบาทอันเกิดขึ้นทุกขณะที่มีตัณหาอันเกิดจากเวทนา
    ซึ่งวันหนึ่งก็มีได้หลายครั้ง ท่านจึงใช้รูปศัพท์เป็นพหุพจน์ คือ ปฏิลาเภสุ
    และจัดเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องของปัจจุบัน;
    ดังนั้น การไม่ข้องติดจึงมีครบชุด คือ อดีต-อนาคต-ปัจจุบัน ;
    ผู้หลุดพ้นเสียได้ครบถ้วน เรียกว่า ผู้อยู่คนเดียวในระดับที่สมบูรณ์ ลึกซึ้งที่สุด
    ).
    *---นิทาน. สํ. ๑๖/๓๒๙-๓๓๐/๗๑๙-๗๒๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/329/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91%E0%B9%99

    --กายของผู้ที่สิ้นตัณหาแล้วก็ยังตั้งอยู่ชั่วขณะ(นิโรธมิใช่ความตาย)
    --ภิกษุ ท. ! กายของตถาคตนี้
    มีตัณหาอันเป็นเครื่องนำไปสู่ภพถูกตถาคตถอนขึ้น เสียได้แล้ว, ดำรงอยู่.
    กายนี้ยังดำรงอยู่เพียงใด เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    ยังคงได้เห็นตถาคตนั้น อยู่เพียงนั้น.
    เพราะการทำลายแห่งกาย, หลังจากการควบคุมกันอยู่ได้ของชีวิต
    เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายจักไม่เห็นตถาคตนั้นเลย.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/59/?keywords=ตถาคตสฺส

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเมื่อขั้วพวงมะม่วงขาดแล้ว
    มะม่วงทั้งหลายเหล่าใด ที่เนื่องขั้วเดียวกัน
    มะม่วงเหล่านั้นทั้งหมด ย่อมเป็นของตกตามไปด้วยกัน. นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! กายของตถาคตก็ฉันนั้น
    : กายของตถาคต มีตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพอันตถาคตถอนขึ้นเสียได้แล้ว, ดำรงอยู่.
    กายนี้ดำรงอยู่เพียงใด เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    ยังคงเห็นตถาคตอยู่ชั่วเวลาเพียงนั้น. เพราะการทำลายแห่งกาย,
    หลังจากการควบคุมกันอยู่ได้ของชีวิต เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    จักไม่เห็นตถาคตเลย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/9/59/?keywords=ตถาคตสฺส

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/43/90.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/43/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๕๙/๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/59/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเตืม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=591
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=591
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าผู้อยู่คนเดียว คือผู้ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งปวง สัทธรรมลำดับที่ : 591 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=591 ชื่อบทธรรม :- ผู้อยู่คนเดียว คือผู้ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งปวง เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้อยู่คนเดียว คือผู้ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งปวง (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสแก่ภิกษุชื่อเถระ ผู้มีปกติชอบอยู่คนเดียวจนเป็นที่เล่าลือกัน ในหมู่ภิกษุ, ว่า :- )​ --ดูก่อนเถระ ! การอยู่คนเดียวอย่างของเธอ ก็มีอยู่ เรามิได้กล่าวว่าไม่มี ; แต่ว่ายังมีการอยู่คนเดียวที่บริบูรณ์พิสดาร กว่าชนิดของเธอ, เธอจงตั้งใจฟังให้ดี, เราจักกล่าว. --ดูก่อนเถระ ! การอยู่คนเดียวชนิดที่บริบูรณ์พิสดารกว่าชนิดของเธอนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? +--ดูก่อนเถระ ! การอยู่คนเดียวในกรณีนี้คือ สิ่งเป็นอดีตก็ละได้แล้ว สิ่งเป็นอนาคตก็ไม่มีทางจะเกิดขึ้น ส่วนฉันทราคะในอัตตภาพอันได้แล้วทั้งหลาย อันเป็นปัจจุบัน ก็นำออกแล้วหมดสิ้น. +--ดูก่อนเถระ ! อย่างนี้แล #เป็นการอยู่คนเดียวที่บริบูรณ์ พิสดารกว่าการอยู่คนเดียวชนิดของเธอ. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) นรชนผู้มีปัญญาดี ครอบงำอารมณ์ทั้งปวงได้ รู้ธรรมทั้งปวง ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งหลายทั้งสิ้น ละอุปธิทั้งปวง หลุดพ้นพิเศษแล้วในธรรมเป็นที่ สิ้นตัณหา นั้นเราเรียกเขาว่า ผู้มีปกติอยู่คนเดียว. http://etipitaka.com/read/pali/16/330/?keywords=ตณฺหกฺขเย (ข้อความที่มีปัญหายากแก่การแปลในสูตรนี้ มีอยู่ คือข้อความที่ว่า “ปจฺจุปฺปนฺเนสุจอตฺตภาวปฏิลาเภสุ ฉนฺทราโค” ; http://etipitaka.com/read/pali/16/330/?keywords=ฉนฺทราโค หลังจากใคร่ครวญ ทบทวนดูแล้ว เห็นว่าต้องแปลว่า “ส่วนฉันทราคะในอัตตภาพอันได้แล้วทั้งหลาย อันเป็นปัจจุบัน” หมายความว่า ฉันทราคะ มีในอัตตภาพ ซึ่งได้แล้วมากครั้งในปัจจุบัน ไม่ใช่ฉันทราคะมีในการได้. อัตภาพในกรณีเช่นนี้ หมายถึงภพหรือความมีความเป็นในรูปแบบหนึ่ง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นเพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ในวิถีแห่งการปรุงแต่งทางจิต ในกระแสแห่งปฏิจจสมุปบาทอันเกิดขึ้นทุกขณะที่มีตัณหาอันเกิดจากเวทนา ซึ่งวันหนึ่งก็มีได้หลายครั้ง ท่านจึงใช้รูปศัพท์เป็นพหุพจน์ คือ ปฏิลาเภสุ และจัดเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องของปัจจุบัน; ดังนั้น การไม่ข้องติดจึงมีครบชุด คือ อดีต-อนาคต-ปัจจุบัน ; ผู้หลุดพ้นเสียได้ครบถ้วน เรียกว่า ผู้อยู่คนเดียวในระดับที่สมบูรณ์ ลึกซึ้งที่สุด ). *---นิทาน. สํ. ๑๖/๓๒๙-๓๓๐/๗๑๙-๗๒๑. http://etipitaka.com/read/pali/16/329/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91%E0%B9%99 --กายของผู้ที่สิ้นตัณหาแล้วก็ยังตั้งอยู่ชั่วขณะ(นิโรธมิใช่ความตาย) --ภิกษุ ท. ! กายของตถาคตนี้ มีตัณหาอันเป็นเครื่องนำไปสู่ภพถูกตถาคตถอนขึ้น เสียได้แล้ว, ดำรงอยู่. กายนี้ยังดำรงอยู่เพียงใด เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ยังคงได้เห็นตถาคตนั้น อยู่เพียงนั้น. เพราะการทำลายแห่งกาย, หลังจากการควบคุมกันอยู่ได้ของชีวิต เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายจักไม่เห็นตถาคตนั้นเลย. http://etipitaka.com/read/pali/9/59/?keywords=ตถาคตสฺส --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเมื่อขั้วพวงมะม่วงขาดแล้ว มะม่วงทั้งหลายเหล่าใด ที่เนื่องขั้วเดียวกัน มะม่วงเหล่านั้นทั้งหมด ย่อมเป็นของตกตามไปด้วยกัน. นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! กายของตถาคตก็ฉันนั้น : กายของตถาคต มีตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพอันตถาคตถอนขึ้นเสียได้แล้ว, ดำรงอยู่. กายนี้ดำรงอยู่เพียงใด เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ยังคงเห็นตถาคตอยู่ชั่วเวลาเพียงนั้น. เพราะการทำลายแห่งกาย, หลังจากการควบคุมกันอยู่ได้ของชีวิต เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย จักไม่เห็นตถาคตเลย.- http://etipitaka.com/read/pali/9/59/?keywords=ตถาคตสฺส #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/43/90. http://etipitaka.com/read/thai/9/43/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๕๙/๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/9/59/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเตืม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=591 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=591 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้อยู่คนเดียว คือผู้ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งปวง
    -ผู้อยู่คนเดียว คือผู้ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งปวง (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสแก่ภิกษุชื่อเถระ ผู้มีปกติชอบอยู่คนเดียวจนเป็นที่เล่าลือกัน ในหมู่ภิกษุ, ว่า :-) ดูก่อนเถระ ! การอยู่คนเดียวอย่างของเธอ ก็มีอยู่ เรามิได้กล่าวว่าไม่มี ; แต่ว่ายังมีการอยู่คนเดียวที่บริบูรณ์พิสดาร กว่าชนิดของเธอ, เธอจงตั้งใจฟังให้ดี, เราจักกล่าว. ดูก่อนเถระ ! การอยู่คนเดียวชนิดที่บริบูรณ์พิสดารกว่าชนิดของเธอนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ดูก่อนเถระ ! การอยู่คนเดียวในกรณีนี้คือ สิ่งเป็นอดีตก็ละได้แล้ว สิ่งเป็นอนาคตก็ไม่มีทางจะเกิดขึ้น ส่วนฉันทราคะในอัตตภาพอันได้แล้วทั้งหลาย อันเป็นปัจจุบัน ก็นำออกแล้วหมดสิ้น. ดูก่อนเถระ ! อย่างนี้แล เป็นการอยู่คนเดียวที่บริบูรณ์พิสดารกว่าการอยู่คนเดียวชนิดของเธอ. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) นรชนผู้มีปัญญาดี ครอบงำอารมณ์ทั้งปวงได้ รู้ธรรมทั้งปวง ไม่ข้องติดอยู่ในธรรมทั้งหลายทั้งสิ้น ละอุปธิทั้งปวง หลุดพ้นพิเศษแล้วในธรรมเป็นที่สิ้นตัณหา นั้นเราเรียกเขาว่า ผู้มีปกติอยู่คนเดียว. นิทาน. สํ. ๑๖/๓๒๙-๓๓๐/๗๑๙-๗๒๑. (ข้อความที่มีปัญหายากแก่การแปลในสูตรนี้ มีอยู่ คือข้อความที่ว่า “ปจฺจุปฺปนฺเนสุจอตฺตภาวปฏิลาเภสุ ฉนฺทราโค” ; หลังจากใคร่ครวญ ทบทวนดูแล้ว เห็นว่าต้องแปลว่า “ส่วนฉันทราคะในอัตตภาพอันได้แล้วทั้งหลาย อันเป็นปัจจุบัน” หมายความว่า ฉันทราคะ มีในอัตตภาพ ซึ่งได้แล้วมากครั้งในปัจจุบัน ไม่ใช่ฉันทราคะมีในการได้. อัตภาพในกรณีเช่นนี้ หมายถึงภพหรือความมีความเป็นในรูปแบบหนึ่ง ๆ ซึ่งเกิดขึ้น เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ในวิถีแห่งการปรุงแต่งทางจิต ในกระแสแห่งปฏิจจสมุปบาทอันเกิดขึ้นทุกขณะที่มีตัณหาอันเกิดจากเวทนา ซึ่งวันหนึ่งก็มีได้หลายครั้ง ท่านจึงใช้รูปศัพท์เป็นพหุพจน์ คือ....ปฏิลาเภสุ และจัดเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องของปัจจุบัน; ดังนั้น การไม่ข้องติดจึงมีครบชุด คืออดีต-อนาคต-ปัจจุบัน ; ผู้หลุดพ้นเสียได้ครบถ้วน เรียกว่า ผู้อยู่คนเดียวในระดับที่สมบูรณ์ ลึกซึ้งที่สุด). กายของผู้ที่สิ้นตัณหาแล้วก็ยังตั้งอยู่ชั่วขณะ (นิโรธมิใช่ความตาย) ภิกษุ ท. ! กายของตถาคตนี้ มีตัณหาอันเป็นเครื่องนำไปสู่ภพถูกตถาคตถอนขึ้น เสียได้แล้ว, ดำรงอยู่. กายนี้ยังดำรงอยู่เพียงใด เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ยังคงได้เห็นตถาคตนั้น อยู่เพียงนั้น. เพราะการทำลายแห่งกาย, หลังจากการควบคุมกันอยู่ได้ของชีวิต เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายจักไม่เห็นตถาคตนั้นเลย. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเมื่อขั้วพวงมะม่วงขาดแล้ว มะม่วงทั้งหลายเหล่าใด ที่เนื่องขั้วเดียวกัน มะม่วงเหล่านั้นทั้งหมด ย่อมเป็นของตกตามไปด้วยกัน. นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! กายของตถาคตก็ฉันนั้น : กายของตถาคต มีตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพอันตถาคตถอนขึ้นเสียได้แล้ว, ดำรงอยู่. กายนี้ดำรงอยู่เพียงใด เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ยังคงเห็นตถาคตอยู่ชั่วเวลาเพียงนั้น. เพราะการทำลายแห่งกาย, หลังจากการควบคุมกันอยู่ได้ของชีวิต เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย จักไม่เห็นตถาคตเลย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 195 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    สัทธรรมลำดับที่ : 958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958
    ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    --ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้
    ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่.
    ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : -
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว
    จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ
    จักกระทำให้แจ้งซึ่ง #ญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=อลมริยญาณทสฺสน
    ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้
    นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา
    ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้
    มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น
    เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกล
    ไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด;

    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว
    จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ
    จักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ
    ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้
    นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/74/?keywords=อริยาย+นิพฺเพธิกาย
    ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง
    เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก
    ฉะนั้น
    ).-

    #สัมมาวายามะ#สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/56​/51.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/56/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง สัทธรรมลำดับที่ : 958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958 ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง เนื้อความทั้งหมด :- --นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง --ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้ ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : - +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ จักกระทำให้แจ้งซึ่ง #ญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=อลมริยญาณทสฺสน ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้ มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกล ไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ จักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ http://etipitaka.com/read/pali/22/74/?keywords=อริยาย+นิพฺเพธิกาย ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก ฉะนั้น ).- #สัมมาวายามะ​ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/56​/51. http://etipitaka.com/read/thai/22/56/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้ ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือจักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้ มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกลไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือจักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก ฉะนั้น).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 137 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าพระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกตำ
    สัทธรรมลำดับที่ : 590
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่มีหนามยอกตำ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ไม่มีหนามยอกตำ
    ...
    --ภิกษุ ท. เรากล่าวฌานว่ามีเสียงเป็นปฏิปักษ์ -[มีหนาม (ยอกตำใจ)]
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปฏิปักษ์ ๑๐ ประการนี้ ๑๐ ประการเป็นไฉน คือ
    ๑.ความเป็นผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วยหมู่คณะเป็นปฏิปักษ์ต่อความเป็นผู้ยินดีในที่สงัด ๑
    ๒.การประกอบสุภนิมิต เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ประกอบอสุภนิมิต ๑
    ๓.การดูมหรสพที่เป็นข้าศึก เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ๑
    ๔.การติดต่อกับมาตุคาม เป็นปฏิปักษ์ต่อพรหมจรรย์ ๑
    ๕.เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน ๑
    ๖.วิตกวิจารเป็นปฏิปักษ์ต่อทุติยฌาน ๑
    ๗.ปีติเป็นปฏิปักษ์ต่อตติยฌาน ๑
    ๘.ลมอัสสาสปัสสาสะเป็นปฏิปักษ์ต่อจตุตถฌาน ๑
    ๙.สัญญาและเวทนาเป็นปฏิปักษ์ต่อสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ๑
    ๑๐.ราคะเป็นปฏิปักษ์โทสะเป็นปฏิปักษ์ --[มีหนาม (ยอกตำใจ)]​ ๑

    --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์อยู่เถิด
    --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์ จงเป็นผู้หมดปฏิปักษ์อยู่เถิด
    --ภิกษุ ท. พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์
    พระอรหันต์ทั้งหลายไม่มีปฏิปักษ์ เป็นผู้หมดปฏิปักษ์ ฯ
    http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=อรหนฺ
    ...
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม (ยอกตำใจ) เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำ เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกใจ.
    --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำเสียแล้ว.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/119/72.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/119/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๕/๗๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=590
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าพระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกตำ สัทธรรมลำดับที่ : 590 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่มีหนามยอกตำ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่มีหนามยอกตำ ... --ภิกษุ ท. เรากล่าวฌานว่ามีเสียงเป็นปฏิปักษ์ -[มีหนาม (ยอกตำใจ)] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปฏิปักษ์ ๑๐ ประการนี้ ๑๐ ประการเป็นไฉน คือ ๑.ความเป็นผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วยหมู่คณะเป็นปฏิปักษ์ต่อความเป็นผู้ยินดีในที่สงัด ๑ ๒.การประกอบสุภนิมิต เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ประกอบอสุภนิมิต ๑ ๓.การดูมหรสพที่เป็นข้าศึก เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ๑ ๔.การติดต่อกับมาตุคาม เป็นปฏิปักษ์ต่อพรหมจรรย์ ๑ ๕.เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน ๑ ๖.วิตกวิจารเป็นปฏิปักษ์ต่อทุติยฌาน ๑ ๗.ปีติเป็นปฏิปักษ์ต่อตติยฌาน ๑ ๘.ลมอัสสาสปัสสาสะเป็นปฏิปักษ์ต่อจตุตถฌาน ๑ ๙.สัญญาและเวทนาเป็นปฏิปักษ์ต่อสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ๑ ๑๐.ราคะเป็นปฏิปักษ์โทสะเป็นปฏิปักษ์ --[มีหนาม (ยอกตำใจ)]​ ๑ --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์อยู่เถิด --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์ จงเป็นผู้หมดปฏิปักษ์อยู่เถิด --ภิกษุ ท. พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์ พระอรหันต์ทั้งหลายไม่มีปฏิปักษ์ เป็นผู้หมดปฏิปักษ์ ฯ http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=อรหนฺ ... --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม (ยอกตำใจ) เถิด. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำ เถิด. --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกใจ. --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำเสียแล้ว.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/119/72. http://etipitaka.com/read/thai/24/119/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๕/๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=590 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร. กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ; เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และมีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้ จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก แห่งพระบาลีนี้).
    -(กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร. กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ; เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และมีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้ จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก แห่งพระบาลีนี้). ผู้ไม่มีหนามยอกตำ ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม (ยอกตำใจ) เถิด. ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำ เถิด. ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกใจ. ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำเสียแล้ว.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 135 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    สัทธรรมลำดับที่ : 156
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
    ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
    พึงรู้จักผลของสัญญา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
    ดังนี้ นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ
    สัญญาในรูป
    สัญญาในเสียง
    สัญญาในกลิ่น
    สัญญาในรส
    สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ)
    เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา.
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. !
    สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา
    ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล,
    เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา
    โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา

    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง
    เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักสัญญา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
    พึงรู้จักผลของสัญญา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา สัทธรรมลำดับที่ : 156 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้ นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และ สัญญาในธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    -หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และสัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูปก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียงก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่นก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรสก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะก็เป็นอย่างหนึ่ง, และสัญญาในธรรมารมณ์ก็เป็นอย่างหนึ่ง. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เรากล่าวสัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูด ไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 169 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​--นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 957
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957
    ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ
    --นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    --วาเสฏฐะ ! เปรียบเหมือนแม่น้ำอจิรวดีนี้ มีน้ำเต็มเปี่ยม กายืนดื่มได้.
    ครั้งนั้น มีบุรุษคนหนึ่งมาถึงเข้า เขามีประโยชน์ที่ฝั่งโน้น
    แสวงหาฝั่งโน้น มีการไปสู่ฝั่งโน้น ประสงค์จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้น
    แต่เขานอนคลุมศีรษะของตนอยู่ที่ริมฝั่งนี้.
    --วาเสฏฐะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : บุรุษนั้นจะไปจากฝั่งในสู่ฝั่งนอกแห่งแม่น้ำอจิรวดีได้หรือหนอ ?
    “ไม่ได้แน่ ท่านพระโคดม !”
    --วาเสฏฐะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้เรียกกันในอริยวินัย
    http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=นีวรณา+ปญฺจ
    ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง.
    ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ
    กามฉันทนิวรณ์
    พ๎ยาปาทนิวรณ์
    ถีนมิทธนิวรณ์
    อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์
    วิจิกิจฉานิวรณ์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=วิจิกิจฺฉานีวรณํ
    --วาเสฏฐะ ! นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้แล ซึ่งเรียกกันในอริยวินัย
    ว่า “เครื่องปิด” บ้าง
    ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง
    ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง
    ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง.
    --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพททั้งหลาย ถูกนิวรณ์ ๕ อย่างเหล่านี้
    ปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว.
    --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพทเหล่านั้น
    ละธรรมะที่ทำความเป็นพราหมณ์เสีย
    สมาทานธรรมะที่ไม่ทำความเป็นพราหมณ์ดำรงชีวิตให้เป็นไปอยู่
    อัน นิวรณ์ทั้ง ๕ อย่างเปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว
    จักเป็นผู้เข้าถึงความเป็นสหายแห่งพรหม
    ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย
    ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/366-367/378-379.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๓๐๖-๓๐๗/๓๗๘-๓๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=957
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​--นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 957 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957 ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ --นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ --วาเสฏฐะ ! เปรียบเหมือนแม่น้ำอจิรวดีนี้ มีน้ำเต็มเปี่ยม กายืนดื่มได้. ครั้งนั้น มีบุรุษคนหนึ่งมาถึงเข้า เขามีประโยชน์ที่ฝั่งโน้น แสวงหาฝั่งโน้น มีการไปสู่ฝั่งโน้น ประสงค์จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้น แต่เขานอนคลุมศีรษะของตนอยู่ที่ริมฝั่งนี้. --วาเสฏฐะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นจะไปจากฝั่งในสู่ฝั่งนอกแห่งแม่น้ำอจิรวดีได้หรือหนอ ? “ไม่ได้แน่ ท่านพระโคดม !” --วาเสฏฐะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้เรียกกันในอริยวินัย http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=นีวรณา+ปญฺจ ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ กามฉันทนิวรณ์ พ๎ยาปาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์. http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=วิจิกิจฺฉานีวรณํ --วาเสฏฐะ ! นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้แล ซึ่งเรียกกันในอริยวินัย ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพททั้งหลาย ถูกนิวรณ์ ๕ อย่างเหล่านี้ ปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว. --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพทเหล่านั้น ละธรรมะที่ทำความเป็นพราหมณ์เสีย สมาทานธรรมะที่ไม่ทำความเป็นพราหมณ์ดำรงชีวิตให้เป็นไปอยู่ อัน นิวรณ์ทั้ง ๕ อย่างเปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว จักเป็นผู้เข้าถึงความเป็นสหายแห่งพรหม ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/366-367/378-379. http://etipitaka.com/read/thai/9/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๓๐๖-๓๐๗/๓๗๘-๓๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=957 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ--นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    -(บาลีพระสูตรนี้ ได้ทำให้เกิดประเพณีสวดคิริมานนทสูตร ให้คนเจ็บฟัง เพื่อจะได้หายเจ็บไข้ เช่นเดียวกับโพชฌงคสูตร. บางคนอาจจะสงสัยว่า มิเป็นการผิดหลักกรรมหรือเหตุปัจจัยไปหรือ ที่ความทุกข์ดับไปโดยไม่มีการดับเหตุแห่งทุกข์ ตามหลักแห่งจตุราริยสัจ. ข้อนี้ขอให้เข้าใจว่า การฟังธรรมของพระคิริมานนท์ ทำให้มีธรรมปีติอย่างแรงกล้า อำนาจของธรรมปีตินั้นสามารถระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา ทุกขเวทนาจึงระงับไป ดุจดังว่าหายจากอาพาธ; กล่าวได้ว่ามีปัจจัยเพื่อการดับแห่งทุกข์อริยสัจ; ไม่ผิดไปจากกฎเกณฑ์แห่งกรรมหรือกฎเกณฑ์แห่งเหตุปัจจัยเลย; เป็นการดับทุกข์ได้วิธีหนึ่ง จึงนำข้อความนี้ มาใส่ไว้ในหมวดนี้). หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ วาเสฏฐะ ! เปรียบเหมือนแม่น้ำอจิรวดีนี้ มีน้ำเต็มเปี่ยม กายืนดื่มได้. ครั้งนั้น มีบุรุษคนหนึ่งมาถึงเข้า เขามีประโยชน์ที่ฝั่งโน้น แสวงหาฝั่งโน้น มีการไปสู่ฝั่งโน้น ประสงค์จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้น แต่เขานอนคลุมศีรษะของตนอยู่ที่ริมฝั่งนี้. วาเสฏฐะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นจะไปจากฝั่งในสู่ฝั่งนอกแห่งแม่น้ำอจิรวดีได้หรือหนอ ? “ไม่ได้แน่ ท่านพระโคดม !” วาเสฏฐะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้เรียกกันในอริยวินัย ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ กามฉันทนิวรณ์ พ๎ยาปาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์. วาเสฏฐะ ! นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้แล ซึ่งเรียกกันในอริยวินัย ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพททั้งหลาย ถูกนิวรณ์ ๕ อย่างเหล่านี้ ปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว. วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพทเหล่านั้น ละธรรมะที่ทำความเป็นพราหมณ์เสีย สมาทานธรรมะที่ไม่ทำความเป็นพราหมณ์ดำรงชีวิตให้เป็นไปอยู่ อัน นิวรณ์ทั้ง ๕ อย่างเปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว จักเป็นผู้เข้าถึงความเป็นสหายแห่งพรหม ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 164 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากายนครที่ปลอดภัย
    สัทธรรมลำดับที่ : 589
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589
    ชื่อบทธรรม :- กายนครที่ปลอดภัย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กายนครที่ปลอดภัย
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ
    และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม,
    ในกาลใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้เรียกได้ว่า เป็นผู้ที่มารอันมีบาปกระทำอะไรไม่ได้.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีเสาระเนียดอันมีรากลึก ฝังไว้ดี ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน
    สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตว่า
    “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น.... ฯลฯ .... เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้จำแนกธรรม”
    ดังนี้,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มี ๑.สัทธา เป็นเสาระเนียด
    ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษเจริญกรรมอันไม่มีโทษ
    บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หนึ่ง.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=สทฺโธ+ตถาคต

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีคูรอบทั้งลึกและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๒.หิริ
    ละอายต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
    ละอายต่อการถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีหิริเป็นคูล้อมรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล
    ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรม อันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่,
    ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=หิริ

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเชิงเทินเดินรอบ
    ทั้งสูงและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๓.โอตตัปปะ
    สะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
    สะดุ้งกลัวต่อความถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีโอตตัปปะเป็นเชิงเทินเดินรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล
    ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สาม.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=โอตฺตปฺ

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีอาวุธอันสั่งสมไว้เป็นอันมาก
    ทั้งชนิดที่ใช้ประหารใกล้ตัวและประหารไกลตัว
    สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๔.สุตะ
    อันตนสดับแล้วมาก ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ,
    ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด
    ที่เป็นการประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง
    พร้อมทั้งอรรถะพร้อมทั้งพยัญชนะ,
    ธรรมมีรูปเห็นปานนั้น อันเขาสดับแล้วมาก
    ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ.
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสุตะเป็นอาวุธ
    ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ
    เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่า ผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สี่.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=สุตา+พหุสฺสุโต

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกองพลประจำอยู่เป็นอันมาก
    คือกองช้าง กองม้า กองรถ กองธนู กองจัดธงประจำกอง กองเสนาธิการ กองพลาธิการ กองอุคคโยธี กองราชบุตร กองจู่โจมกองมหานาค กองคนกล้า กองโล้ไม้ กองเกราะโล้หนัง กองทาสกบุตร สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +-ภิกษุ ท. ! อริยสาวกมี ๕.ความเพียร(วิริยะ)​อันปรารภแล้ว
    เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม
    มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีวิริยะเป็นพลกาย
    ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ
    เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่ห้า.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=วิริยพลกาโย

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีนายทวาร
    ที่เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด มีปัญญา
    ห้ามเข้าแก่คนที่ไม่รู้จัก ให้เข้าแก่คนที่รู้จัก
    เพื่อคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๖.สติ
    ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษาอย่างยิ่ง
    ระลึกถึงตามระลึกถึงซึ่งกิจที่กระทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มี​สติเป็นนายทวาร ย่อมละอกุศล เจริญกุศล
    ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่ ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หก.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=สติโทวาริโก

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกำแพงทั้งสูงและกว้าง
    สมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ เพื่อคุ้มภัยในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๗.ปัญญา
    ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้
    อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีปัญญาเป็นความสมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ
    ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ
    เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่,
    ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่เจ็ด.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=ปญฺญาย

    --อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่(๔) อันประกอบในจิตอันยิ่ง
    เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เป็นอย่างไรเล่า ?
    ๑--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีหญ้า ไม้ และน้ำ สั่งสมไว้เป็นอันมาก
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตนเพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=นิพฺพานสฺส

    ๒--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีข้าวสาลีและข้าวยวะสะสมไว้เป็นอันมาก
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    เพราะความเข้าไปสงบระงับแห่งวิตกและวิจาร เข้าถึงทุติยฌาน
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส

    ๓--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีอปรัณณชาติ คืองา ถั่วเขียว ถั่วราชมาส เป็นต้น สั่งสมไว้เป็นอันมาก
    เพื่อความยินดีไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อันชนิดที่พระอริยเจ้ากล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส

    ๔--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีเภสัชสั่งสมไว้เป็นอันมาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย และเกลือ
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส

    --อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม
    เหล่านี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้
    และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่(๔)อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม
    เหล่านี้ด้วย, ในกาลใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้
    เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่มารอันมีบาป กระทำอะไรไม่ได้.-
    (กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร.
    กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ;
    เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และ
    มีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้
    จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก
    แห่งพระบาลีนี้).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/87-93/64.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/87/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐๗-๑๑๓/๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/107/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=589
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากายนครที่ปลอดภัย สัทธรรมลำดับที่ : 589 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589 ชื่อบทธรรม :- กายนครที่ปลอดภัย เนื้อความทั้งหมด :- --กายนครที่ปลอดภัย --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม, ในกาลใด ; --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้เรียกได้ว่า เป็นผู้ที่มารอันมีบาปกระทำอะไรไม่ได้. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเสาระเนียดอันมีรากลึก ฝังไว้ดี ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตว่า “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น.... ฯลฯ .... เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้จำแนกธรรม” ดังนี้, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มี ๑.สัทธา เป็นเสาระเนียด ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษเจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หนึ่ง. -http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=สทฺโธ+ตถาคต --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีคูรอบทั้งลึกและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๒.หิริ ละอายต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายต่อการถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีหิริเป็นคูล้อมรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรม อันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=หิริ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเชิงเทินเดินรอบ ทั้งสูงและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๓.โอตตัปปะ สะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุ้งกลัวต่อความถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีโอตตัปปะเป็นเชิงเทินเดินรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สาม. http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=โอตฺตปฺ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอาวุธอันสั่งสมไว้เป็นอันมาก ทั้งชนิดที่ใช้ประหารใกล้ตัวและประหารไกลตัว สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๔.สุตะ อันตนสดับแล้วมาก ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ, ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ที่เป็นการประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมทั้งอรรถะพร้อมทั้งพยัญชนะ, ธรรมมีรูปเห็นปานนั้น อันเขาสดับแล้วมาก ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ. +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสุตะเป็นอาวุธ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่า ผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สี่. -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=สุตา+พหุสฺสุโต --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกองพลประจำอยู่เป็นอันมาก คือกองช้าง กองม้า กองรถ กองธนู กองจัดธงประจำกอง กองเสนาธิการ กองพลาธิการ กองอุคคโยธี กองราชบุตร กองจู่โจมกองมหานาค กองคนกล้า กองโล้ไม้ กองเกราะโล้หนัง กองทาสกบุตร สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +-ภิกษุ ท. ! อริยสาวกมี ๕.ความเพียร(วิริยะ)​อันปรารภแล้ว เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีวิริยะเป็นพลกาย ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่ห้า. -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=วิริยพลกาโย --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีนายทวาร ที่เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด มีปัญญา ห้ามเข้าแก่คนที่ไม่รู้จัก ให้เข้าแก่คนที่รู้จัก เพื่อคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๖.สติ ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษาอย่างยิ่ง ระลึกถึงตามระลึกถึงซึ่งกิจที่กระทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มี​สติเป็นนายทวาร ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่ ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หก. http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=สติโทวาริโก --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกำแพงทั้งสูงและกว้าง สมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ เพื่อคุ้มภัยในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๗.ปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้ อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีปัญญาเป็นความสมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่เจ็ด. http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=ปญฺญาย --อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้แล. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่(๔) อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เป็นอย่างไรเล่า ? ๑--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีหญ้า ไม้ และน้ำ สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตนเพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=นิพฺพานสฺส ๒--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีข้าวสาลีและข้าวยวะสะสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความเข้าไปสงบระงับแห่งวิตกและวิจาร เข้าถึงทุติยฌาน อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส ๓--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอปรัณณชาติ คืองา ถั่วเขียว ถั่วราชมาส เป็นต้น สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดีไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อันชนิดที่พระอริยเจ้ากล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส ๔--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเภสัชสั่งสมไว้เป็นอันมาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย และเกลือ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส --อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้แล. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้ และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่(๔)อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้ด้วย, ในกาลใด ; --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้ เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่มารอันมีบาป กระทำอะไรไม่ได้.- (กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร. กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ; เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และ มีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้ จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก แห่งพระบาลีนี้). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/87-93/64. http://etipitaka.com/read/thai/23/87/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐๗-๑๑๓/๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/23/107/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=589 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กายนครที่ปลอดภัย
    -กายนครที่ปลอดภัย ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม, ในกาลใด ; ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้เรียกได้ว่า เป็นผู้ที่มารอันมีบาปกระทำอะไรไม่ได้. ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเสาระเนียดอันมีรากลึก ฝังไว้ดี ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตว่า “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น.... ฯลฯ .... เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้จำแนกธรรม” ดังนี้, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสัทธาเป็นเสาระเนียด ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษเจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หนึ่ง. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีคูรอบทั้งลึกและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีหิริ ละอายต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายต่อการถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีหิริเป็นคูล้อมรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรม อันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สอง. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเชิงเทินเดินรอบ ทั้งสูงและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีโอตตัปปะ สะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุ้งกลัวต่อความถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีโอตตัปปะเป็นเชิงเทินเดินรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สาม. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอาวุธอันสั่งสมไว้เป็นอันมาก ทั้งชนิดที่ใช้ประหารใกล้ตัวและประหารไกลตัว สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสุตะ อันตนสดับแล้วมาก ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ, ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ที่เป็นการประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมทั้งอรรถะพร้อมทั้งพยัญชนะ, ธรรมมีรูปเห็นปานนั้น อันเขาสดับแล้วมาก ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสุตะเป็นอาวุธ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่า ผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สี่. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกองพลประจำอยู่เป็นอันมาก คือกองช้าง กองม้า กองรถ กองธนู กองจัดธงประจำกอง กองเสนาธิการ กองพลาธิการ กองอุคคโยธี กองราชบุตร กองจู่โจมกองมหานาค กองคนกล้า กองโล้ไม้ กองเกราะโล้หนัง กองทาสกบุตร สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกมีความเพียรอันปรารภแล้ว เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีวิริยะเป็นพลกาย ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่ห้า. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีนายทวาร ที่เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด มีปัญญา ห้ามเข้าแก่คนที่ไม่รู้จัก ให้เข้าแก่คนที่รู้จัก เพื่อคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษาอย่างยิ่ง ระลึกถึง ตามระลึกถึงซึ่งกิจที่กระทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสติเป็นนายทวาร ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่ ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หก. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกำแพงทั้งสูงและกว้าง สมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ เพื่อคุ้มภัยในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้ อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีปัญญาเป็นความสมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่เจ็ด. อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้แล. ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีหญ้า ไม้ และน้ำ สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตนเพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีข้าวสาลีและข้าวยวะสะสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความเข้าไปสงบระงับแห่งวิตกและวิจาร เข้าถึงทุติยฌาน อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอปรัณณชาติ คืองา ถั่วเขียว ถั่วราชมาส เป็นต้น สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดีไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อันชนิดที่พระอริยเจ้า กล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเภสัชสั่งสมไว้เป็นอันมาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย และเกลือเพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบากซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้แล. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้ด้วย, ในกาลใด ; ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้ เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่มารอันมีบาป กระทำอะไรไม่ได้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 255 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 956
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956
    ชื่อบทธรรม :- ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ (การรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ)
    --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่เธอแล้ว
    ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว
    อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ.
    สัญญา ๑๐ ประการนั้นคือ
    อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา
    อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา
    สัพพโลเกอนภิรตสัญญา สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา
    อานาปานสติ.
    --อานนท์ ! อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ ว่า
    “รูป ไม่เที่ยง; เวทนา ไม่เที่ยง;
    สัญญา ไม่เที่ยง; สังขาร ไม่เที่ยง;
    วิญญาณ ไม่เที่ยง”
    ดังนี้
    เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่านี้
    อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนิจจสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=อนิจฺจสญฺญา

    --อานนท์ ! อนัตตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า
    “ตา เป็นอนัตตา รูป เป็นอนัตตา;
    หูเป็นอนัตตา เสียงเป็นอนัตตา;
    จมูกเป็นอนัตตา กลิ่นเป็นอนัตตา;
    ลิ้นเป็นอนัตตา รสเป็นอนัตตา;
    กายเป็นอนัตตา โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา;
    ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา”
    ดังนี้
    เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหก เหล่านี้
    อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนัตตสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/116/?keywords=อนตฺตสญฺญา

    --อานนท์ ! อสุภสัญญา เป็นอย่างไรเล่า?
    +--อานนท์! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นโดยประจักษ์ซึ่งกายนี้นี่แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาถึงเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มไปด้วยของอสุจิมีประการต่างๆ; คือกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนอง โลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร;
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้ อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อสุภสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อสุภสญฺญา

    --อานนท์ ! อาทีนวสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า
    “กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก; คือในกายนี้มีอาพาธต่างๆ เกิดขึ้น,
    กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย โรคที่ศีรษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด
    ไข้หวัด ไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม
    โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว
    โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร
    อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน
    ไข้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม
    ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความระหาย
    การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะ”
    ดังนี้;
    เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายนี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อาทีนวสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อาทีนวสญฺญา

    --อานนท์ ! ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง กามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป;
    ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง พยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป;
    ไม่ยอมรับไว้ซึ่งวิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา
    กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป;
    ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง อกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว
    ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป : นี้เรียกว่า #ปหานสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=ปหานสญฺญา

    --อานนท์ ! วิราคสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง
    พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อ ย่างนี้ว่า
    “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ
    ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับเย็น”
    ดังนี้ : นี้เรียกว่า วิราคสัญญา.
    --อานนท์ ! นิโรธสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง
    พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า
    “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต
    : กล่าวคือ
    ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความดับ เป็นความดับเย็น”
    ดังนี้
    : นี้เรียกว่า #นิโรธสัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=นิโรธสญฺญา

    --อานนท์ ! สัพพโลเกอนภิรตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ อนุสัย (ความเคยชิน)
    ในการตั้งทับในการฝังตัวเข้าไปยึดมั่นแห่งจิตด้วยตัณหาอุปาทาน ใดๆ ในโลก มีอยู่,
    เธอละอยู่ซึ่งอนุสัยนั้นๆ
    งดเว้นไม่เข้าไปยึดถืออยู่
    : นี้เรียกว่า #สัพพโลเกอนภิรตสัญญา (ความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดี).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพโลเก+อนภิรตสญฺญา

    --อานนท์ ! สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง ต่อสังขารทั้งหลายทั้งปวง
    : นี้เรียกว่า #สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง).
    -http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพสงฺขาเรสุ+อนิจฺจสญฺญา

    (สัญญาข้อที่เก้านี้ ควรจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา หรือมิฉะนั้นก็ควรจะมีชื่อว่าสัพพสังขาเรสุทุกขสัญญา จึงจะสมกับเนื้อความตามที่กล่าวอยู่,
    และสัญญาข้อที่แปดข้างบนแห่งข้อนี้ ที่มีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น น่าจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนุปาทานสัญญามากกว่า จึงจะมีความสมชื่อ, ด้วยเหตุผลอย่างเดียวกัน).

    --อานนท์ ! อานาปานสติ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปแล้วสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง ก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก.
    1. เมื่อ หายใจเข้า ยาว ก็รู้ว่าหายใจเข้ายาว ,
    เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ว่าหายใจออกยาว ;
    2. เมื่อ หายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น ,
    เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ว่าหายใจออกสั้น;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    3. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    4. ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า,
    ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก.
    ทำการศึกษาว่า เรา
    5. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    6. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    7. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    8. ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก.
    ทำการศึกษาว่า เรา
    9. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเข้า,
    รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    10. ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    11. ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    12. ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า,
    ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก.
    ทำการศึกษาว่า เรา
    13. ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า,
    ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    14. ตามเห็นความจางคลาย หายใจเข้า,
    ตามเห็นความจางคลาย หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    15. ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจเข้า,
    ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจออก;
    ทำการศึกษาว่า เรา
    16. ตามเห็นความสลัดคืน หายใจเข้า,
    ตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก.
    : นี้เรียกว่า #อานาปานสติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/119/?keywords=อานาปานสติ

    --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์
    แล้วกล่าวสัญญาสิบประการเหล่านี้ แก่เธอแล้ว
    ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว
    อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ.
    +--ลำดับนั้นแล ท่านอานนท์จำเอาสัญญาสิบประการเหล่านี้
    ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    แล้วเข้าไปหาท่านคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการแก่ท่าน
    เมื่อท่านพระคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธก็ระงับไปโดยฐานะอันควร.
    ท่านคิริมานนท์หาย แล้วจากอาพาธ และอาพาธก็เป็นเสมือนละไปแล้วด้วย
    แล.-

    (บาลีพระสูตรนี้ ได้ทำให้เกิดประเพณีสวดคิริมานนทสูตร
    ให้คนเจ็บฟัง เพื่อจะได้หายเจ็บไข้ เช่นเดียวกับโพชฌงคสูตร.
    บางคนอาจจะสงสัยว่า มิเป็นการผิดหลักกรรมหรือเหตุปัจจัยไป
    หรือ ที่ความทุกข์ดับไปโดยไม่มีการดับเหตุแห่งทุกข์ ตามหลักแห่งจตุราริยสัจ.
    ข้อนี้ขอให้เข้าใจว่า การฟังธรรมของพระคิริมานนท์ ทำให้มีธรรมปีติอย่างแรงกล้า
    อำนาจของธรรมปีตินั้นสามารถระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา ทุกขเวทนาจึงระงับไป
    ดุจดังว่าหายจากอาพาธ;
    กล่าวได้ว่ามีปัจจัยเพื่อการดับแห่งทุกข์อริยสัจ;
    ไม่ผิดไปจากกฎเกณฑ์แห่งกรรมหรือกฎเกณฑ์แห่งเหตุปัจจัยเลย;
    เป็นการดับทุกข์ได้วิธีหนึ่ง จึงนำข้อความนี้ มาใส่ไว้ในหมวดนี้
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/99 - 104/60.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/99/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๕ - ๑๒๐/๖๐
    http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=956
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ สัทธรรมลำดับที่ : 956 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956 ชื่อบทธรรม :- ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ (การรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ) --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. สัญญา ๑๐ ประการนั้นคือ อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา สัพพโลเกอนภิรตสัญญา สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา อานาปานสติ. --อานนท์ ! อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ ว่า “รูป ไม่เที่ยง; เวทนา ไม่เที่ยง; สัญญา ไม่เที่ยง; สังขาร ไม่เที่ยง; วิญญาณ ไม่เที่ยง” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนิจจสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=อนิจฺจสญฺญา --อานนท์ ! อนัตตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ตา เป็นอนัตตา รูป เป็นอนัตตา; หูเป็นอนัตตา เสียงเป็นอนัตตา; จมูกเป็นอนัตตา กลิ่นเป็นอนัตตา; ลิ้นเป็นอนัตตา รสเป็นอนัตตา; กายเป็นอนัตตา โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา; ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหก เหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อนัตตสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/116/?keywords=อนตฺตสญฺญา --อานนท์ ! อสุภสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? +--อานนท์! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นโดยประจักษ์ซึ่งกายนี้นี่แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาถึงเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มไปด้วยของอสุจิมีประการต่างๆ; คือกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนอง โลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร; เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้ อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อสุภสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อสุภสญฺญา --อานนท์ ! อาทีนวสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก; คือในกายนี้มีอาพาธต่างๆ เกิดขึ้น, กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย โรคที่ศีรษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด ไข้หวัด ไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน ไข้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความระหาย การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะ” ดังนี้; เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายนี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า #อาทีนวสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/117/?keywords=อาทีนวสญฺญา --อานนท์ ! ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง กามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง พยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่งวิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง อกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป : นี้เรียกว่า #ปหานสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=ปหานสญฺญา --อานนท์ ! วิราคสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อ ย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า วิราคสัญญา. --อานนท์ ! นิโรธสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความดับ เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า #นิโรธสัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=นิโรธสญฺญา --อานนท์ ! สัพพโลเกอนภิรตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ อนุสัย (ความเคยชิน) ในการตั้งทับในการฝังตัวเข้าไปยึดมั่นแห่งจิตด้วยตัณหาอุปาทาน ใดๆ ในโลก มีอยู่, เธอละอยู่ซึ่งอนุสัยนั้นๆ งดเว้นไม่เข้าไปยึดถืออยู่ : นี้เรียกว่า #สัพพโลเกอนภิรตสัญญา (ความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดี). http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพโลเก+อนภิรตสญฺญา --อานนท์ ! สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง ต่อสังขารทั้งหลายทั้งปวง : นี้เรียกว่า #สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง). -http://etipitaka.com/read/pali/24/118/?keywords=สพฺพสงฺขาเรสุ+อนิจฺจสญฺญา (สัญญาข้อที่เก้านี้ ควรจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา หรือมิฉะนั้นก็ควรจะมีชื่อว่าสัพพสังขาเรสุทุกขสัญญา จึงจะสมกับเนื้อความตามที่กล่าวอยู่, และสัญญาข้อที่แปดข้างบนแห่งข้อนี้ ที่มีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น น่าจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนุปาทานสัญญามากกว่า จึงจะมีความสมชื่อ, ด้วยเหตุผลอย่างเดียวกัน). --อานนท์ ! อานาปานสติ เป็นอย่างไรเล่า ? +--อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปแล้วสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง ก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก. 1. เมื่อ หายใจเข้า ยาว ก็รู้ว่าหายใจเข้ายาว , เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ว่าหายใจออกยาว ; 2. เมื่อ หายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น , เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ว่าหายใจออกสั้น; ทำการศึกษาว่า เรา 3. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 4. ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา 5. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 6. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 7. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 8. ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา 9. รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 10. ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 11. ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 12. ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา 13. ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า, ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 14. ตามเห็นความจางคลาย หายใจเข้า, ตามเห็นความจางคลาย หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 15. ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจเข้า, ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา 16. ตามเห็นความสลัดคืน หายใจเข้า, ตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก. : นี้เรียกว่า #อานาปานสติ. http://etipitaka.com/read/pali/24/119/?keywords=อานาปานสติ --อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการเหล่านี้ แก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. +--ลำดับนั้นแล ท่านอานนท์จำเอาสัญญาสิบประการเหล่านี้ ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเข้าไปหาท่านคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการแก่ท่าน เมื่อท่านพระคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธก็ระงับไปโดยฐานะอันควร. ท่านคิริมานนท์หาย แล้วจากอาพาธ และอาพาธก็เป็นเสมือนละไปแล้วด้วย แล.- (บาลีพระสูตรนี้ ได้ทำให้เกิดประเพณีสวดคิริมานนทสูตร ให้คนเจ็บฟัง เพื่อจะได้หายเจ็บไข้ เช่นเดียวกับโพชฌงคสูตร. บางคนอาจจะสงสัยว่า มิเป็นการผิดหลักกรรมหรือเหตุปัจจัยไป หรือ ที่ความทุกข์ดับไปโดยไม่มีการดับเหตุแห่งทุกข์ ตามหลักแห่งจตุราริยสัจ. ข้อนี้ขอให้เข้าใจว่า การฟังธรรมของพระคิริมานนท์ ทำให้มีธรรมปีติอย่างแรงกล้า อำนาจของธรรมปีตินั้นสามารถระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา ทุกขเวทนาจึงระงับไป ดุจดังว่าหายจากอาพาธ; กล่าวได้ว่ามีปัจจัยเพื่อการดับแห่งทุกข์อริยสัจ; ไม่ผิดไปจากกฎเกณฑ์แห่งกรรมหรือกฎเกณฑ์แห่งเหตุปัจจัยเลย; เป็นการดับทุกข์ได้วิธีหนึ่ง จึงนำข้อความนี้ มาใส่ไว้ในหมวดนี้ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/99 - 104/60. http://etipitaka.com/read/thai/24/99/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๕ - ๑๒๐/๖๐ http://etipitaka.com/read/pali/24/115/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=956 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=956 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ
    -ธรรมสัญญาในฐานะแห่งธรรมโอสถโดยธรรมปีติ (การรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ) อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญา ๑๐ ประการแก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. สัญญา ๑๐ ประการนั้นคือ อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา สัพพโลเกอนภิรตสัญญาสัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา อานาปานสติ. อานนท์ ! อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ ว่า “รูป ไม่เที่ยง; เวทนา ไม่เที่ยง; สัญญา ไม่เที่ยง; สังขาร ไม่เที่ยง; วิญญาณ ไม่เที่ยง” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อนิจจสัญญา. อานนท์ ! อนัตตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ตา เป็นอนัตตา รูป เป็นอนัตตา; หูเป็นอนัตตา เสียงเป็นอนัตตา; จมูกเป็นอนัตตา กลิ่นเป็นอนัตตา; ลิ้นเป็นอนัตตา รสเป็นอนัตตา; กายเป็นอนัตตา โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา; ใจเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา” ดังนี้ เป็นผู้ตามเห็นซึ่งความเป็นอนัตตา ในอายตนะทั้งภายในและภายนอกหก เหล่านี้ อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อนัตตสัญญา. อานนท์ ! อสุภสัญญา เป็นอย่างไรเล่า? อานนท์! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นโดยประจักษ์ซึ่งกายนี้นี่แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไปถึงเบื้องบน แต่ปลายผมลงมาถึงเบื้องล่าง ว่ามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มไปด้วยของอสุจิมีประการต่างๆ; คือกายนี้มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ลำไส้ ลำไส้สุด อาหารในกระเพาะ อุจจาระ น้ำดี เสลด หนอง โลหิต เหงื่อ มัน น้ำตา น้ำเหลือง น้ำลาย น้ำเมือก น้ำลื่นหล่อข้อ น้ำมูตร; เป็นผู้ตามเห็นความไม่งาม ในกายนี้ อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อสุภสัญญา. อานนท์ ! อาทีนวสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก; คือในกายนี้มีอาพาธต่างๆ เกิดขึ้น, กล่าวคือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรคกาย โรคที่ศีรษะ โรคที่หู โรคที่ปาก โรคที่ฟัน โรคไอ โรคหืด ไข้หวัด ไข้มีพิษร้อน ไข้เซื่องซึม โรคกระเพาะ โรคลมสลบ ลงแดง จุกเสียด เจ็บเสียว โรคเรื้อรัง โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน คุดทะราด โรคละออง โรคโลหิต โรคดีซ่าน เบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง ริดสีดวงทวาร อาพาธมีดีเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฎฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน ไข้สันนิบาต ไข้เพราะฤดูแปรปรวน ไข้เพราะบริหารกายไม่สม่ำเสมอ ไข้เพราะออกกำลังเกิน ไข้เพราะวิบากกรรม ความไม่สบายเพราะความหนาว ความร้อน ความหิว ความระหาย การถ่ายอุจจาระ การถ่ายปัสสาวะ” ดังนี้; เป็นผู้ตามเห็นโทษในกายนี้อยู่ ด้วยอาการอย่างนี้ : นี้เรียกว่า อาทีนวสัญญา. อานนท์ ! ปหานสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง กามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง พยาบาทวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่งวิหิงสาวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป; ไม่ยอมรับไว้ซึ่ง อกุศลธรรมทั้งหลาย อันลามกที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละ ย่อมบรรเทา กระทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มีอีกต่อไป : นี้เรียกว่า ปหานสัญญา. อานนท์ ! วิราคสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อ ย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า วิราคสัญญา. อานนท์ ! นิโรธสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง พิจารณาอยู่โดยประจักษ์อย่างนี้ว่า “ธรรมชาตินั่นสงบ ธรรมชาตินั่นประณีต : กล่าวคือ ธรรมชาติอันเป็นที่ระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความดับ เป็นความดับเย็น” ดังนี้ : นี้เรียกว่า นิโรธสัญญา. อานนท์ ! สัพพโลเกอนภิรตสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ อนุสัย (ความเคยชิน) ในการตั้งทับในการฝังตัวเข้าไปยึดมั่นแห่งจิตด้วยตัณหาอุปาทาน ใดๆ ในโลก มีอยู่, เธอละอยู่ซึ่งอนุสัยนั้นๆ งดเว้นไม่เข้าไปยึดถืออยู่ : นี้เรียกว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา (ความสำคัญในโลกทั้งปวงว่าเป็นสิ่งไม่น่ายินดี). อานนท์ ! สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง ต่อสังขารทั้งหลายทั้งปวง : นี้เรียกว่า สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง). (สัญญาข้อที่เก้านี้ ควรจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา หรือมิฉะนั้นก็ควรจะมีชื่อว่าสัพพสังขาเรสุทุกขสัญญา จึงจะสมกับเนื้อความตามที่กล่าวอยู่, และสัญญาข้อที่แปดข้างบนแห่งข้อนี้ ที่มีชื่อว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญานั้น น่าจะมีชื่อว่า สัพพโลเกอนุปาทานสัญญามากกว่า จึงจะมีความสมชื่อ, ด้วยเหตุผลอย่างเดียวกัน). อานนท์ ! อานาปานสติ เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ไปแล้วสู่ป่า สู่โคนไม้ หรือสู่เรือนว่าง ก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก. เมื่อ หายใจเข้า ยาว ก็รู้ว่าหายใจเข้ายาว , เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ว่าหายใจออกยาว ; เมื่อ หายใจเข้าสั้น ก็รู้ว่าหายใจเข้าสั้น , เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ว่าหายใจออกสั้น; ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เราทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำกายสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปีติ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เราทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตตสังขารให้ระงับอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเข้า, รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ปราโมทย์ยิ่งอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจเข้า, ทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า ทำจิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก. ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า, ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความจางคลาย หายใจเข้า, ตามเห็นความจางคลาย หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจเข้า, ตามเห็นความดับไม่เหลือ หายใจออก; ทำการศึกษาว่า เรา ตามเห็นความสลัดคืน หายใจเข้า, ตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก. นี้เรียกว่า อานาปานสติ. อานนท์ ! ถ้าเธอจะเข้าไปหาภิกษุคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการเหล่านี้ แก่เธอแล้ว ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือภิกษุคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธอันเป็นทุกข์หนักของเธอก็จะระงับไป โดยควรแก่ฐานะ. ลำดับนั้นแล ท่านอานนท์จำเอาสัญญาสิบประการเหล่านี้ ในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเข้าไปหาท่านคิริมานนท์ แล้วกล่าวสัญญาสิบประการแก่ท่าน เมื่อท่านพระคิริมานนท์ฟังสัญญาสิบประการแล้ว อาพาธก็ระงับไปโดยฐานะอันควร. ท่านคิริมานนท์หาย แล้วจากอาพาธ และอาพาธก็เป็นเสมือนละไปแล้วด้วย แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 317 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    สัทธรรมลำดับที่ : 585
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    --ภิกษุ ท. ! ปุถุชน ผู้ไม่ได้ยิน ได้ฟัง ย่อมพูดว่า ‘สมุทร-สมุทร’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น ไม่ใช่สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า.
    --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น เป็นเพียงแอ่งน้ำใหญ่ เป็นเพียงห้วงน้ำใหญ่.
    --ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็นด้วยตา
    อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา
    น่ารักใคร่น่าพอใจ
    ที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่
    และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ‘#สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า’.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=อริยสฺส+สมุทฺโท

    โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก,
    หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น.
    เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
    เกิดประสานกันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ,
    สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้.

    --ภิกษุ ท. ! เสียง ที่ฟังด้วยหู .... ฯลฯ ....
    --ภิกษุ ท. ! กลิ่น ที่ดมด้วยจมูก .... ฯลฯ ....
    --ภิกษุ ท. ! รส ที่ลิ้มด้วยลิ้น .... ฯลฯ ....
    --ภิกษุ ท. ! โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกาย .... ฯลฯ ....

    --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ ที่รู้ด้วยใจ อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้เราเรียกว่า
    ‘สมุทรใน วินัยของพระอริยเจ้า’.
    โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก,
    หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์
    โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น.
    เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
    เกิดประสาน กันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ,
    สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้.

    (คาถาผนวกท้ายพระสูตร)
    ราคะ โทสะ และอวิชชา ของท่านผู้ใด จางคลายไปแล้ว
    ท่านผู้นั้นชื่อว่า ข้ามสมุทรนี้ได้แล้ว
    ซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ร้าย มีทั้งรากษส มีทั้งคลื่นวังวน
    ภัยน่ากลัว แสนจะข้ามได้ยากนัก.
    เราตถาคตกล่าวว่าท่านนั้น เป็นผู้ล่วงเสียได้จากเครื่องข้อง
    ละขาดจากการต้องตาย ไม่มีอุปธิกิเลส ;
    ท่านนั้น หย่าขาดจากความทุกข์ที่ต้องมาเกิดอีกต่อไป ;
    ท่านนั้น มอดดับไป ไม่กลับอีก ลวงเอาพญามัจจุราชให้หลงได้
    http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=อโมหยี+มจฺจุราชนฺติ

    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/176/287-288.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๖/๒๘๗-๒๘๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=585
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ลวงมัจจุราชให้หลง สัทธรรมลำดับที่ : 585 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585 ชื่อบทธรรม :- ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง --ภิกษุ ท. ! ปุถุชน ผู้ไม่ได้ยิน ได้ฟัง ย่อมพูดว่า ‘สมุทร-สมุทร’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น ไม่ใช่สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า. --ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น เป็นเพียงแอ่งน้ำใหญ่ เป็นเพียงห้วงน้ำใหญ่. --ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็นด้วยตา อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ‘#สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า’. http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=อริยสฺส+สมุทฺโท โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสานกันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. --ภิกษุ ท. ! เสียง ที่ฟังด้วยหู .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! กลิ่น ที่ดมด้วยจมูก .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! รส ที่ลิ้มด้วยลิ้น .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกาย .... ฯลฯ .... --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ ที่รู้ด้วยใจ อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้เราเรียกว่า ‘สมุทรใน วินัยของพระอริยเจ้า’. โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสาน กันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) ราคะ โทสะ และอวิชชา ของท่านผู้ใด จางคลายไปแล้ว ท่านผู้นั้นชื่อว่า ข้ามสมุทรนี้ได้แล้ว ซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ร้าย มีทั้งรากษส มีทั้งคลื่นวังวน ภัยน่ากลัว แสนจะข้ามได้ยากนัก. เราตถาคตกล่าวว่าท่านนั้น เป็นผู้ล่วงเสียได้จากเครื่องข้อง ละขาดจากการต้องตาย ไม่มีอุปธิกิเลส ; ท่านนั้น หย่าขาดจากความทุกข์ที่ต้องมาเกิดอีกต่อไป ; ท่านนั้น มอดดับไป ไม่กลับอีก ลวงเอาพญามัจจุราชให้หลงได้ http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=อโมหยี+มจฺจุราชนฺติ ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/176/287-288. http://etipitaka.com/read/thai/18/179/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๖/๒๘๗-๒๘๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/196/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=585 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=585 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง
    -ผู้ลวงมัจจุราชให้หลง ภิกษุ ท. ! ปุถุชน ผู้ไม่ได้ยิน ได้ฟัง ย่อมพูดว่า ‘สมุทร-สมุทร’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น ไม่ใช่สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า. ภิกษุ ท. ! สมุทรเช่นที่กล่าวนั้น เป็นเพียงแอ่งน้ำใหญ่ เป็นเพียงห้วงน้ำใหญ่. ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็นด้วยตา อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ‘สมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า’. โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสานกันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. ภิกษุ ท. ! เสียง ที่ฟังด้วยหู .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! กลิ่น ที่ดมด้วยจมูก .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! รส ที่ลิ้มด้วยลิ้น .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกาย .... ฯลฯ .... ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ ที่รู้ด้วยใจ อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้เราเรียกว่า ‘สมุทรใน วินัยของพระอริยเจ้า’. โลกนี้ พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ โดยมากตกอยู่จมอยู่ ในสมุทรนั้น. เป็นสัตว์ที่มีความใคร่ มีจิตยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย เกิดประสาน กันสับสนดุจรังนก เหมือนพงหญ้ามุญชะและปัพพชะ, สัตว์ทั้งหลายในสมุทรนั้น จึงไม่ล่วงพ้นอบาย ทุคติ วินิบาต และสังสารวัฏฏ์ไปได้. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) ราคะ โทสะ และอวิชชา ของท่านผู้ใด จางคลายไปแล้ว ท่านผู้นั้นชื่อว่า ข้ามสมุทรนี้ได้แล้ว ซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ร้าย มีทั้งรากษส มีทั้งคลื่นวังวน ภัยน่ากลัว แสนจะข้ามได้ยากนัก. เราตถาคตกล่าวว่าท่านนั้น เป็นผู้ล่วงเสียได้จากเครื่องข้อง ละขาดจากการต้องตาย ไม่มีอุปธิกิเลส ; ท่านนั้น หย่าขาดจากความทุกข์ที่ต้องมาเกิดอีกต่อไป ; ท่านนั้นมอดดับไป ไม่กลับอีก ลวงเอาพญามัจจุราชให้หลงได้ ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 186 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 955
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=955
    ชื่อบทธรรม : -ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ
    --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาตถาคตพลญาน ๖ ประการเหล่านั้น
    http://etipitaka.com/read/pali/22/469/?keywords=ตถาคต+ฌานวิโมกฺขสมาธิสมาปตฺตีนํ
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นฐานะโดยความเป็นฐานะ
    และในสิ่งซึ่งเป็นอฐานะโดยความเป็นอฐานะ
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นวิบาก
    โดยฐานะโดยเหตุ ของกัมมสมาทาน อันเป็นอดีต อนาคตและปัจจุบัน
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในความเศร้าหมอง ความผ่องแผ้ว
    ความออกแห่งฌาน วิโมกข์ สมาธิ และสมาบัติ
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในปุพเพนิวาสานุสสติ
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในการจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น.
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #สมาธิเป็นมรรค(แท้) อสมาธิเป็นมรรคลวง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/22/471/?keywords=สมาธิ+อสมาธิ

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/372/335.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/372/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๙/๓๓๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/469/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=955
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=955
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 955 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=955 ชื่อบทธรรม : -ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ --ภิกษุ ท. ! ในบรรดาตถาคตพลญาน ๖ ประการเหล่านั้น http://etipitaka.com/read/pali/22/469/?keywords=ตถาคต+ฌานวิโมกฺขสมาธิสมาปตฺตีนํ +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นฐานะโดยความเป็นฐานะ และในสิ่งซึ่งเป็นอฐานะโดยความเป็นอฐานะ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นวิบาก โดยฐานะโดยเหตุ ของกัมมสมาทาน อันเป็นอดีต อนาคตและปัจจุบัน ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในความเศร้าหมอง ความผ่องแผ้ว ความออกแห่งฌาน วิโมกข์ สมาธิ และสมาบัติ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในปุพเพนิวาสานุสสติ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในการจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. +--เรากล่าว ยถาภูตญาณ ในความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #สมาธิเป็นมรรค(แท้) อสมาธิเป็นมรรคลวง.- http://etipitaka.com/read/pali/22/471/?keywords=สมาธิ+อสมาธิ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/372/335. http://etipitaka.com/read/thai/22/372/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๙/๓๓๕. http://etipitaka.com/read/pali/22/469/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=955 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=955 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ
    -ญาณในตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ภิกษุ ท. ! ในบรรดาตถาคตพลญาน ๖ ประการเหล่านั้น เรากล่าวยถาภูตญาณในสิ่งซึ่งเป็นฐานะโดยความเป็นฐานะ และในสิ่งซึ่งเป็นอฐานะโดยความเป็นอฐานะ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในสิ่งซึ่งเป็นวิบาก โดยฐานะโดยเหตุ ของกัมมสมาทาน อันเป็นอดีต อนาคตและปัจจุบัน ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับ ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในความเศร้าหมอง ความผ่องแผ้ว ความออกแห่งฌาน วิโมกข์ สมาธิ และสมาบัติ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในปุพเพนิวาสานุสสติ ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในการจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. เรากล่าว ยถาภูตญาณในความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ว่าญาณนั้น มีได้สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่ใช่สำหรับผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น. ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้แล สมาธิ เป็นมรรค (แท้) อสมาธิเป็นมรรคลวง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 150 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น (ด้วยอำนาจราคะ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 584
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
    --ภิกษุ ท. ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น.
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอารูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาเวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    +-​-ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้ง อยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิ (ความเพลิน) เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้.
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า
    “เราจักบัญญัติ ซึ่งการมาการไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม
    และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดย
    เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นสังขาร”
    ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าราคะ
    ในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ
    เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว ;
    #เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง
    ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ภิกฺขุโน+ราโค+ปหีโน+โหติ
    เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่นเพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง ;
    เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว ;
    เมื่อไม่หวั่นไหวก็ #ปรินิพพานเฉพาะตน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ปรินิพฺพายติ

    ย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว
    กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/53/105.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/53/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=584
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น (ด้วยอำนาจราคะ) สัทธรรมลำดับที่ : 584 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น --ภิกษุ ท. ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น. +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอารูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาเวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; +-​-ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้ง อยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ (ความเพลิน) เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้. --ภิกษุ ท. ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เราจักบัญญัติ ซึ่งการมาการไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย. --ภิกษุ ท. ! ถ้าราคะ ในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว ; #เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง ; http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ภิกฺขุโน+ราโค+ปหีโน+โหติ เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่นเพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง ; เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว ; เมื่อไม่หวั่นไหวก็ #ปรินิพพานเฉพาะตน ; http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ปรินิพฺพายติ ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/53/105. http://etipitaka.com/read/thai/17/53/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=584 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
    -ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น ภิกษุ ท. ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอารูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณ ที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอาเวทนาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้. เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัยมีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอาสัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอาสังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้ง อยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ (ความเพลิน) เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้. ภิกษุ ท. ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เราจักบัญญัติ ซึ่งการมาการไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย. ภิกษุ ท. ! ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว ; เพราะละราคะได้ อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง ; เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่นเพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง ; เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว ; เมื่อไม่หวั่นไหวก็ปรินิพพานเฉพาะตน ; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 169 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    ๑.ความรักเกิดจากความรัก
    ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก
    ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด
    ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น.
    ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน
    http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง
    &ทุติยฌาน ....
    &ตติยฌาน ....
    &จตุตถฌาน ....
    http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ
    แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.

    (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ
    ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก
    พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว”
    ).-

    ​#สัมมาสมาธิ​
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เนื้อความทั้งหมด :- --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ๑.ความรักเกิดจากความรัก ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง &ทุติยฌาน .... &ตติยฌาน .... &จตุตถฌาน .... http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ).- ​#สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200. http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    -(ในสูตรอื่น (ฉกฺก.อํ. ๒๒/๓๔๘/๒๙๖) ตรัสว่า การระลึกถึง ตถาคต ถึงพระธรรม ถึงพระสงฆ์ ถึงศีล ถึงจาคะ ถึงธรรมทำความเป็นเทวดา ๖ ประการนี้ ทำให้จิตไม่ถูกกลุ้มรุมด้วยราคะ-โทสะ-โมหะ เป็นจิตไปตรง ก้าวออก หลุดพ้น ออกจากตัณหาซึ่งเป็นการเปลื้องจิตออกมาเสียจากการครอบงำของกิเลส ด้วยเหมือนกัน; ผู้สนใจพึงอ่านดูจากที่มานั้น). ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ความรักเกิดจากความรัก ความเกลียดเกิดจากความรัก ความรักเกิดจากความเกลียด ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึงทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน .... แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ที่หน้า ๖๓๗ แห่งหนังสือนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 163 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่า ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 583
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    --ภิกษุ ท. !
    รูป ที่เห็น ด้วยตาก็ดี,
    เสียง ที่ฟัง ด้วยหูก็ดี,
    กลิ่น ที่ดม ด้วยจมูกก็ดี,
    รส ที่ลิ้ม ด้วยลิ้นก็ดี,
    โผฏฐัพพะ ที่สัมผัส ด้วยกายก็ดี, และ
    ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้ง ด้วยใจก็ดี,
    อัน
    เป็นสิ่งที่ น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ
    เป็นที่ ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่ เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และ
    เป็นที่ ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    ถ้าภิกษุใด
    ๑.ไม่เพลิดเพลิน ๒.ไม่พร่ำเพ้อถึง ๓.ไม่เมาหมกติดอกติดใจอยู่
    ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=อภินนฺทติ+รูป
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุอย่างนี้ เราเรียกว่า
    #เป็นผู้ไม่กลืนเบ็ดของมารได้ทำลายเบ็ดหักเบ็ด แหลกละเอียดแล้ว
    ไม่ถึงความวิบัติ ไม่ถึงความพินาศฉิบหาย ไม่เป็นผู้ที่มารใจบาป
    จะทำอะไรให้ได้ตามใจเลย ;
    ดังนี้แล.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/180/290.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๘/๒๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=583
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่า ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร สัทธรรมลำดับที่ : 583 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร --ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็น ด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟัง ด้วยหูก็ดี, กลิ่น ที่ดม ด้วยจมูกก็ดี, รส ที่ลิ้ม ด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัส ด้วยกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้ง ด้วยใจก็ดี, อัน เป็นสิ่งที่ น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่ เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และ เป็นที่ ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุใด ๑.ไม่เพลิดเพลิน ๒.ไม่พร่ำเพ้อถึง ๓.ไม่เมาหมกติดอกติดใจอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=อภินนฺทติ+รูป --ภิกษุ ท. ! ภิกษุอย่างนี้ เราเรียกว่า #เป็นผู้ไม่กลืนเบ็ดของมารได้ทำลายเบ็ดหักเบ็ด แหลกละเอียดแล้ว ไม่ถึงความวิบัติ ไม่ถึงความพินาศฉิบหาย ไม่เป็นผู้ที่มารใจบาป จะทำอะไรให้ได้ตามใจเลย ; ดังนี้แล. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/180/290. http://etipitaka.com/read/thai/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๘/๒๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=583 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    -ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็น ด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี, กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี, รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุใดไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำเพ้อถึง ไม่เมาหมกติดอกติดใจอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุอย่างนี้ เราเรียกว่า เป็นผู้ไม่กลืนเบ็ดของมารได้ทำลายเบ็ดหักเบ็ดแหลกละเอียดแล้ว ไม่ถึงความวิบัติ ไม่ถึงความพินาศฉิบหาย ไม่เป็นผู้ที่มารใจบาป จะทำอะไรให้ได้ตามใจเลย ; ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 175 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​อย่างนี้​ว่า​ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต
    สัทธรรมลำดับที่ : 953
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=953
    ชื่อบทธรรม : -ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ แล้ว
    ย่อม ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้
    และภิกษุนั้นก็ ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต.
    เจ็ดประการอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! เจ็ดประการ ในกรณีนี้คือ :-
    ๑. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในสมาธิ;
    ๒. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการเข้าสู่สมาธิ;
    ๓. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการดำรงอยู่ในสมาธิ;
    ๔. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการออกจากสมาธิ;
    ๕. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในความเหมาะสมแห่งสมาธิ;
    ๖. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในธรรมเป็นโคจรแห่งสมาธิ;
    ๗. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในอภินิหารสมาธิ;
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุประกอบแล้วด้วยธรรมเจ็ดประการเหล่านี้แล
    ย่อมทำให้จิตอยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และ #ภิกษุนั้นก็ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต.-
    http://etipitaka.com/read/pali/32/36/?keywords=จิตฺตมุปฺปชฺชิ

    (ในสูตรอื่น ตรัสว่า การระลึก
    ๑.ถึงตถาคต
    ๒.ถึงพระธรรม
    ๓.ถึงพระสงฆ์
    ๔ถึงศีล
    ๕.ถึงจาคะ
    ๖.ถึงธรรมทำความเป็นเทวดา
    -- ๖ ประการนี้
    ทำให้จิตไม่ถูกกลุ้มรุมด้วย ราคะ-โทสะ-โมหะ
    เป็นจิตไปตรง ก้าวออก หลุดพ้น
    ออกจากตัณหาซึ่งเป็นการเปลื้องจิต
    ออกมาเสียจากการครอบงำของกิเลส ด้วยเหมือนกัน;
    ผู้สนใจพึงอ่านดูจากที่มานั้นจาก
    -- ฉกฺก.อํ. ๒๒/๓๔๘/๒๙๖
    http://etipitaka.com/read/pali/22/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%96
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 32/93/37.
    http://etipitaka.com/read/thai/32/93/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๓๒/๓๕/๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/32/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=953
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=953
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​อย่างนี้​ว่า​ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต สัทธรรมลำดับที่ : 953 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=953 ชื่อบทธรรม : -ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ แล้ว ย่อม ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และภิกษุนั้นก็ ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต. เจ็ดประการอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เจ็ดประการ ในกรณีนี้คือ :- ๑. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในสมาธิ; ๒. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการเข้าสู่สมาธิ; ๓. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการดำรงอยู่ในสมาธิ; ๔. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการออกจากสมาธิ; ๕. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในความเหมาะสมแห่งสมาธิ; ๖. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในธรรมเป็นโคจรแห่งสมาธิ; ๗. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในอภินิหารสมาธิ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบแล้วด้วยธรรมเจ็ดประการเหล่านี้แล ย่อมทำให้จิตอยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และ #ภิกษุนั้นก็ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต.- http://etipitaka.com/read/pali/32/36/?keywords=จิตฺตมุปฺปชฺชิ (ในสูตรอื่น ตรัสว่า การระลึก ๑.ถึงตถาคต ๒.ถึงพระธรรม ๓.ถึงพระสงฆ์ ๔ถึงศีล ๕.ถึงจาคะ ๖.ถึงธรรมทำความเป็นเทวดา -- ๖ ประการนี้ ทำให้จิตไม่ถูกกลุ้มรุมด้วย ราคะ-โทสะ-โมหะ เป็นจิตไปตรง ก้าวออก หลุดพ้น ออกจากตัณหาซึ่งเป็นการเปลื้องจิต ออกมาเสียจากการครอบงำของกิเลส ด้วยเหมือนกัน; ผู้สนใจพึงอ่านดูจากที่มานั้นจาก -- ฉกฺก.อํ. ๒๒/๓๔๘/๒๙๖ http://etipitaka.com/read/pali/22/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%96 ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 32/93/37. http://etipitaka.com/read/thai/32/93/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๓๒/๓๕/๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/32/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=953 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=953 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต
    -ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ แล้ว ย่อม ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และภิกษุนั้นก็ ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต. เจ็ดประการอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เจ็ดประการ ในกรณีนี้คือ : ๑. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในสมาธิ; ๒. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการเข้าสู่สมาธิ; ๓. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการดำรงอยู่ในสมาธิ; ๔. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการออกจากสมาธิ; ๕. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในความเหมาะสมแห่งสมาธิ; ๖. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในธรรมเป็นโคจรแห่งสมาธิ; ๗. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในอภินิหารสมาธิ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบแล้วด้วยธรรมเจ็ดประการเหล่านี้แล ย่อมทำให้จิตอยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และภิกษุนั้นก็ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 203 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 582
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582
    ชื่อบทธรรม :- ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    --ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
    ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ
    เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า
    “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ)
    นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)”
    ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=เนโสหมสฺมิ

    บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว
    เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้.

    (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ).

    --ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ
    ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน)
    ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน)
    ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=ราหุล

    --ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้
    ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว
    ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว
    ดังนี้แล.-

    #สัมมาทิฏฐิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก.อํ. 21/159/177.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/159/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก - จตุกฺก.อํ. ๒๑/๒๒๒/๑๗๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=582
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 582 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582 ชื่อบทธรรม :- ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ --ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)” ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=เนโสหมสฺมิ บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้. (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ). --ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน) ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้. -http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=ราหุล --ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้ ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว ดังนี้แล.- #สัมมาทิฏฐิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก.อํ. 21/159/177. http://etipitaka.com/read/thai/21/159/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก - จตุกฺก.อํ. ๒๑/๒๒๒/๑๗๗. http://etipitaka.com/read/pali/21/222/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=582 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=582 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่
    -ผู้รับผลของการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุสี่ ราหุล ! ปฐวีธาตุ ทั้งที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ทั้งสองอย่างนั้นล้วนแต่เป็นเพียงปฐวีธาตุ เธอพึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามความเป็นจริงว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา (น เมโส อตฺตา)”ดังนี้. บุคคล เห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้แล้ว เขาย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ยังจิตให้คลายกำหนัดจากปฐวีธาตุได้. (ในกรณีแห่ง อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐวีธาตุ). ราหุล ! เมื่อใด ภิกษุ ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตา (ตัวตน) ไม่ตามเห็นว่าเป็นอัตตนิยา (ของตน) ในธาตุทั้งสี่เหล่านี้. ราหุล ! ภิกษุนี้ เรากล่าวว่าได้ ตัดตัณหาขาดแล้ว รื้อถอนสังโยชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ เพราะรู้เฉพาะซึ่งมานะโดยชอบแล้ว ดังนี้แล.
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 183 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts