• คงคิดกัน..ทำไมยัยนี่จะมาเปลี่ยนความคิดเรื่อง มะเขือเทศ ทำไมพูดมากพิมพ์มาก ว่ามะเขือเทผศอันตราย..ก็สอนกันมาว่าช่วยผิวดีบ้าง และประโยชน์สารพัด

    ถูกหลอกอยู่ ยังไม่รู้ตัวกัน ปีนี้ปี 2024จะเห็นอะไรมากมายทยอยออกมาเรื่อยๆ..คนที่ต้องซี้ไปก่อน จะมากมายเรื่อยๆไม่กระทันหันแต่จะทยอยไปเพราะกินดื่ม แย่ๆแฝงไว้ แถมไปรับ สิ่งไม่ดีฉีดในตัวมาอีก..รับแบบไร้สติ ไม่ตรอง ไม่ศึกษา..โตแล้ว แก่กันแล้วก้อตายๆไม่เปนไรแต่เด็กๆล่ะ..อนาคตพวกเขาจะอยู่แบบไหนเด็กกำพร้าก็เต็มไปหมด..กำพร้าผัว กำพร้าเมีย ก็เยอะ..เหมือนหุ่นยนต์กันไปทุกวัน ไร้ความรู้สึก..เพ้อเจ้อ สติแตก หลงๆลืมๆ

    กว่าจะรู้ตัวก็ช้าไปแล้ว คนแนะนำสิ่งดีดีก็ไม่เชื่อเขา..

    ย้อนมาเครื่องมะเขือเทศ(ศ..มันทพใก้ในร่างกายอักเสบ ติดเชื้อง่าย..

    Tomato was very high in lectin..
    คงคิดกัน..ทำไมยัยนี่จะมาเปลี่ยนความคิดเรื่อง มะเขือเทศ ทำไมพูดมากพิมพ์มาก ว่ามะเขือเทผศอันตราย..ก็สอนกันมาว่าช่วยผิวดีบ้าง และประโยชน์สารพัด ถูกหลอกอยู่ ยังไม่รู้ตัวกัน ปีนี้ปี 2024จะเห็นอะไรมากมายทยอยออกมาเรื่อยๆ..คนที่ต้องซี้ไปก่อน จะมากมายเรื่อยๆไม่กระทันหันแต่จะทยอยไปเพราะกินดื่ม แย่ๆแฝงไว้ แถมไปรับ สิ่งไม่ดีฉีดในตัวมาอีก..รับแบบไร้สติ ไม่ตรอง ไม่ศึกษา..โตแล้ว แก่กันแล้วก้อตายๆไม่เปนไรแต่เด็กๆล่ะ..อนาคตพวกเขาจะอยู่แบบไหนเด็กกำพร้าก็เต็มไปหมด..กำพร้าผัว กำพร้าเมีย ก็เยอะ..เหมือนหุ่นยนต์กันไปทุกวัน ไร้ความรู้สึก..เพ้อเจ้อ สติแตก หลงๆลืมๆ กว่าจะรู้ตัวก็ช้าไปแล้ว คนแนะนำสิ่งดีดีก็ไม่เชื่อเขา.. ย้อนมาเครื่องมะเขือเทศ(ศ..มันทพใก้ในร่างกายอักเสบ ติดเชื้อง่าย.. Tomato was very high in lectin..
    Sad
    1
    0 Comments 0 Shares 116 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • ดรามา Car Free Day กทม.ออกมาแถลงผลทดลองละเลงกิจกรรมที่บรรทัดทอง ประชุมสรุปแล้วนำผลลัพธ์ไปต่อยอดพัฒนาย่านอื่นต่อไป ท่ามกลางเสียงสะท้อนปัญหาผลกระทบต่อชุมชนหลังจบงาน

    26 กันยายน 2567 -นายเอกวรัญญู อัมระปาล ผู้ช่วยเลขาฯ ผู้ว่าฯ กทม. และโฆษก กทม. ได้เปิดเผยถึงการจัดการจราจร Car Free Day บรรทัดทองที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 กันยายนนี้ว่า ตามที่สังคมตั้งข้อสังเกตหลายประเด็น หนึ่งในนั้นคือเรื่องงบประมาณว่า กิจกรรมดังกล่าวสำเร็จได้ เพราะความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งรัฐ เอกชน ประชาชน เป็นต้น โดย กทม. เป็นเพียงแกนกลางประสานสนับสนุนเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ โดยไม่ได้ใช้งบจัดกิจกรรมแม้แต่บาทเดียว รวมถึงสีก็ได้รับการสนับสนุนจากเอกชน ไม่ใช่สีทาถนน เพราะตั้งใจให้ล้างออกง่าย เพื่อคืนสภาพถนนที่สมบูรณ์ให้ประชาชนใช้งานตามปกติ ย้ำไม่ได้ลาดยางมะตอยทับ แต่จุดใดที่ควรซ่อมแซมก็จะดำเนินการซ่อมแซมต่อไป

    โฆษก กทม. กล่าวต่อว่า การทาสีถนนเป็นการทดลองลดขนาดถนน (Street Diet) และการเดินข้ามถนนทแยงมุม เป็นการทดลองโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมการดำเนินนโยบายเพื่อเมืองอย่างยั่งยืน เป้าหมายระยะสั้นคือ การทดลองทำถนนคนเดิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม Bangkok Car Free 2024 ทั้งยังกระตุ้นเศรษฐกิจ จัดระเบียบทางเท้าและร้านค้า สร้างกิจกรรมนันทนาการ

    ขณะที่เพจ หวังสร้างเมืองก็ได้ลงสรุปปัญหาไว้ว่า

    “การทดลอง Car Free ที่บรรทัดทองจบแล้วครับ แต่ผลลัพธ์จะถูกนำไปพัฒนาย่านอย่างถาวรกันต่อ ทีมกำลังสรุปผลทั้งแบบสอบถาม พูดคุยกับร้านค้า ผู้อยู่อาศัย และจะมีการประชุมสรุปผลสัปดาห์นี้เพื่อต่อยอดการพัฒนาย่านต่อไปครับ นอกจากเสียงตอบรับที่มีผู้มาร่วมงานมากมายแล้ว ผมอยากทดปัญหาเบื้องต้นเอาไว้ด้วยในนี้ครับ ว่าเราเห็นปัญหาอะไรบ้างหากต้องทำต่อเนื่องที่นี่ และขยายผลไปเขตอื่นๆ

    1. ผลกระทบกับคนอยู่อาศัย
    ถึงแม้การปิดถนนจะทำให้เดินอย่างปลอดภัยมากขึ้นก็จริง แต่ผู้อยู่อาศัยในละแวกที่มีผู้สูงอายุอยู่ที่บ้านและจำเป็นต้องใช้รถยนต์ก็ได้รับผลกระทบมากไม่แพ้กัน การปิดถนนแบบร้อยเปอร์เซ็นต์เลย สร้างความลำบากให้ผู้อยู่อาศัยไม่น้อย และเสียงจากดนตรีและความสนุกเกินไปของย่าน ที่อาจรบกวนผู้อยู่อาศัย หากมีการทำต่อเนื่องน่าจะต้องคิดให้ละเอียดถี่ถ้วนมากขึ้น

    2. ปริมาณคนมาด้วยปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น
    การจัดการขยะของร้านค้าทุกร้าน เช่น ให้แยกขยะเศษอาหาร การเข้าร่วมโครงการไม่เทรวม การคัดแยกขยะต้นทางร่วมกับทางจุฬาฯ

    3. การจัดระเบียบร้านค้า การปรับปรุงทางเท้า และการนำสายไฟลงดิน ฯลฯ

    นอกจากนี้ยังมีเสียงเรื่องการทาสี มีความกังวลเรื่องสีผิดประเภทที่อาจทำให้รถยนต์ลื่น สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เราได้ข้อมูลแนะนำจากช่างเชี่ยวชาญของบริษัทผู้สนับสนุน เลยอยากขอใช้พื้นที่นี้ชี้แจงด้วยครับ

    1. สีที่ทาไม่เหมาะกับการเป็นสีทาผิวถนน และเป็นสีทนทาน 10 ปี ล้างไม่ออก

    เป็นข้อมูลที่ถูกต้องครับ เพราะจุดประสงค์ของการทาสีคือการทดลองลดเลนถนน (Street Diet) และการเดินข้ามถนนแทยงมุมในเวลากลางวัน พอหมดงานทีมก็ตั้งใจจะล้างออกทั้งหมด สีที่ใช้จึงเป็นสีที่จะไม่อยู่คงทนตลอด เราได้ขอคำปรึกษากับช่างเทคนิคของบริษัทผู้บริจาค และเลือกสีชนิดนี้ก่อนมาใช้ ด้วยเป็นสีทาอาคารไม่ใช่สีทาถนน สีฯ ดังกล่าว มีลักษณะการปกป้องพื้นผิว ประเภทอาคาร มีฟิล์มที่บางกว่า สีจราจร อย่างมาก ไม่ทนต่อแรงเสียดทาน ในการบดอัดของล้อยานพาหนะ ที่จะเสื่อมสภาพ ผิวฟิล์มหลุดล่อนได้ง่าย และ ไม่ทนต่อความชื้นของพื้นผิวถนน ที่จะเสื่อมสภาพในเวลาอันรวดเร็ว และทางทีมได้ล้างออกทั้งหมดในวันจันทร์แล้วครับ

    2. กรณีสีมีพิษ จากข้อมูลของบริษัทผู้บริจาค สีชนิดนี้เมื่อแห้งจะเป็นแผ่นฟิล์มและจะถูกกรองได้ ไม่ละลายลงแหล่งน้ำ และสีได้รับมาตรฐานที่ได้รับฉลากเขียวจาก สมอ. แต่อย่างไรจะขอนำความคิดเห็นนี้ไปพัฒนาต่อ และจะระวังไม่ให้กระทบกับสิ่งแวดล้อมมากกว่านี้ครับ

    3. เป็นการผลาญงบประมาณ
    งานนี้เกิดจากความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ไม่ได้ใช้เงินจากภาครัฐเลยครับ สีที่ทา เราได้รับสีบริจาคจากบริษัทเอกชน และทั้งงานเป็นความร่วมมือภาคประชาสังคมหลายภาคมาก กทม.เป็นเพียงส่วนหนึ่ง รับหน้าที่ดูแลหลังงาน ใช้อุปกรณ์ที่มี เจ้าหน้าที่รักษาฯ และได้ทำการล้างถนนไปเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาแล้วครับ ต้องขอบคุณพี่ๆข้าราชการที่ช่วยกันด้วยครับ

    อย่างไรก็ตาม ผมต้องขอน้อมรับทุกความเห็นไปปรับปรุง อยากย้ำวัตถุประสงค์หลักของงานที่เลือกที่นี่ คือ “การพัฒนาย่านบรรทัดทองระยะยาว” ไม่ใช่เพียงการจัดงานนี้ครั้งเดียวแล้วผ่านไปครับ เราจะมีการประชุมสรุปผลสัปดาห์นี้ร่วมกับจุฬาฯ และจะนำมาเล่าสู่กันฟังอีกครั้ง จะทาสีทางข้ามถาวรเลยหรือไม่ จะทำการลดเลนถนน (Street Diet) บ้างไหม หรือจะเป็นการปิดถนนบางเวลาเพื่อทำถนนคนเดิน

    ขอน้อมรับทุกความผิดพลาดและทุกอย่างไปปรับปรุงครับ หากใครมีความเห็นอย่างไรก็พิมพ์แจ้งไว้ได้เลยครับ

    ปล. รูปนี้คือภาพเมื่อเช้าหลังจากทีมงานล้างออกตั้งแต่เมื่อวานครับ
    ปล2. เพิ่มเติมที่มีคนถามเรื่องทายางมะตอยทับ เราเพียงล้างออกเท่านั้นครับ ไม่มีการเทยางมะตอยทับแต่อย่างใด พื้นถนนหลายจุดมีความชำรุดอยู่เดิมก็จะใช้โอกาสหลังจากนี้ซ่อมแซมด้วยครับ”

    ที่มา https://www.facebook.com/100086260703100/posts/pfbid02bHbrNVyqnsKQtz6bf2aStu9eR5MmkCGd3XcxMo4gtc4LZ4NR4G8TtshXa2XyMS7Ql/?
    #Thaitimes
    ดรามา Car Free Day กทม.ออกมาแถลงผลทดลองละเลงกิจกรรมที่บรรทัดทอง ประชุมสรุปแล้วนำผลลัพธ์ไปต่อยอดพัฒนาย่านอื่นต่อไป ท่ามกลางเสียงสะท้อนปัญหาผลกระทบต่อชุมชนหลังจบงาน 26 กันยายน 2567 -นายเอกวรัญญู อัมระปาล ผู้ช่วยเลขาฯ ผู้ว่าฯ กทม. และโฆษก กทม. ได้เปิดเผยถึงการจัดการจราจร Car Free Day บรรทัดทองที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 กันยายนนี้ว่า ตามที่สังคมตั้งข้อสังเกตหลายประเด็น หนึ่งในนั้นคือเรื่องงบประมาณว่า กิจกรรมดังกล่าวสำเร็จได้ เพราะความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งรัฐ เอกชน ประชาชน เป็นต้น โดย กทม. เป็นเพียงแกนกลางประสานสนับสนุนเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ โดยไม่ได้ใช้งบจัดกิจกรรมแม้แต่บาทเดียว รวมถึงสีก็ได้รับการสนับสนุนจากเอกชน ไม่ใช่สีทาถนน เพราะตั้งใจให้ล้างออกง่าย เพื่อคืนสภาพถนนที่สมบูรณ์ให้ประชาชนใช้งานตามปกติ ย้ำไม่ได้ลาดยางมะตอยทับ แต่จุดใดที่ควรซ่อมแซมก็จะดำเนินการซ่อมแซมต่อไป โฆษก กทม. กล่าวต่อว่า การทาสีถนนเป็นการทดลองลดขนาดถนน (Street Diet) และการเดินข้ามถนนทแยงมุม เป็นการทดลองโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมการดำเนินนโยบายเพื่อเมืองอย่างยั่งยืน เป้าหมายระยะสั้นคือ การทดลองทำถนนคนเดิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม Bangkok Car Free 2024 ทั้งยังกระตุ้นเศรษฐกิจ จัดระเบียบทางเท้าและร้านค้า สร้างกิจกรรมนันทนาการ ขณะที่เพจ หวังสร้างเมืองก็ได้ลงสรุปปัญหาไว้ว่า “การทดลอง Car Free ที่บรรทัดทองจบแล้วครับ แต่ผลลัพธ์จะถูกนำไปพัฒนาย่านอย่างถาวรกันต่อ ทีมกำลังสรุปผลทั้งแบบสอบถาม พูดคุยกับร้านค้า ผู้อยู่อาศัย และจะมีการประชุมสรุปผลสัปดาห์นี้เพื่อต่อยอดการพัฒนาย่านต่อไปครับ นอกจากเสียงตอบรับที่มีผู้มาร่วมงานมากมายแล้ว ผมอยากทดปัญหาเบื้องต้นเอาไว้ด้วยในนี้ครับ ว่าเราเห็นปัญหาอะไรบ้างหากต้องทำต่อเนื่องที่นี่ และขยายผลไปเขตอื่นๆ 1. ผลกระทบกับคนอยู่อาศัย ถึงแม้การปิดถนนจะทำให้เดินอย่างปลอดภัยมากขึ้นก็จริง แต่ผู้อยู่อาศัยในละแวกที่มีผู้สูงอายุอยู่ที่บ้านและจำเป็นต้องใช้รถยนต์ก็ได้รับผลกระทบมากไม่แพ้กัน การปิดถนนแบบร้อยเปอร์เซ็นต์เลย สร้างความลำบากให้ผู้อยู่อาศัยไม่น้อย และเสียงจากดนตรีและความสนุกเกินไปของย่าน ที่อาจรบกวนผู้อยู่อาศัย หากมีการทำต่อเนื่องน่าจะต้องคิดให้ละเอียดถี่ถ้วนมากขึ้น 2. ปริมาณคนมาด้วยปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น การจัดการขยะของร้านค้าทุกร้าน เช่น ให้แยกขยะเศษอาหาร การเข้าร่วมโครงการไม่เทรวม การคัดแยกขยะต้นทางร่วมกับทางจุฬาฯ 3. การจัดระเบียบร้านค้า การปรับปรุงทางเท้า และการนำสายไฟลงดิน ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีเสียงเรื่องการทาสี มีความกังวลเรื่องสีผิดประเภทที่อาจทำให้รถยนต์ลื่น สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เราได้ข้อมูลแนะนำจากช่างเชี่ยวชาญของบริษัทผู้สนับสนุน เลยอยากขอใช้พื้นที่นี้ชี้แจงด้วยครับ 1. สีที่ทาไม่เหมาะกับการเป็นสีทาผิวถนน และเป็นสีทนทาน 10 ปี ล้างไม่ออก เป็นข้อมูลที่ถูกต้องครับ เพราะจุดประสงค์ของการทาสีคือการทดลองลดเลนถนน (Street Diet) และการเดินข้ามถนนแทยงมุมในเวลากลางวัน พอหมดงานทีมก็ตั้งใจจะล้างออกทั้งหมด สีที่ใช้จึงเป็นสีที่จะไม่อยู่คงทนตลอด เราได้ขอคำปรึกษากับช่างเทคนิคของบริษัทผู้บริจาค และเลือกสีชนิดนี้ก่อนมาใช้ ด้วยเป็นสีทาอาคารไม่ใช่สีทาถนน สีฯ ดังกล่าว มีลักษณะการปกป้องพื้นผิว ประเภทอาคาร มีฟิล์มที่บางกว่า สีจราจร อย่างมาก ไม่ทนต่อแรงเสียดทาน ในการบดอัดของล้อยานพาหนะ ที่จะเสื่อมสภาพ ผิวฟิล์มหลุดล่อนได้ง่าย และ ไม่ทนต่อความชื้นของพื้นผิวถนน ที่จะเสื่อมสภาพในเวลาอันรวดเร็ว และทางทีมได้ล้างออกทั้งหมดในวันจันทร์แล้วครับ 2. กรณีสีมีพิษ จากข้อมูลของบริษัทผู้บริจาค สีชนิดนี้เมื่อแห้งจะเป็นแผ่นฟิล์มและจะถูกกรองได้ ไม่ละลายลงแหล่งน้ำ และสีได้รับมาตรฐานที่ได้รับฉลากเขียวจาก สมอ. แต่อย่างไรจะขอนำความคิดเห็นนี้ไปพัฒนาต่อ และจะระวังไม่ให้กระทบกับสิ่งแวดล้อมมากกว่านี้ครับ 3. เป็นการผลาญงบประมาณ งานนี้เกิดจากความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ไม่ได้ใช้เงินจากภาครัฐเลยครับ สีที่ทา เราได้รับสีบริจาคจากบริษัทเอกชน และทั้งงานเป็นความร่วมมือภาคประชาสังคมหลายภาคมาก กทม.เป็นเพียงส่วนหนึ่ง รับหน้าที่ดูแลหลังงาน ใช้อุปกรณ์ที่มี เจ้าหน้าที่รักษาฯ และได้ทำการล้างถนนไปเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาแล้วครับ ต้องขอบคุณพี่ๆข้าราชการที่ช่วยกันด้วยครับ อย่างไรก็ตาม ผมต้องขอน้อมรับทุกความเห็นไปปรับปรุง อยากย้ำวัตถุประสงค์หลักของงานที่เลือกที่นี่ คือ “การพัฒนาย่านบรรทัดทองระยะยาว” ไม่ใช่เพียงการจัดงานนี้ครั้งเดียวแล้วผ่านไปครับ เราจะมีการประชุมสรุปผลสัปดาห์นี้ร่วมกับจุฬาฯ และจะนำมาเล่าสู่กันฟังอีกครั้ง จะทาสีทางข้ามถาวรเลยหรือไม่ จะทำการลดเลนถนน (Street Diet) บ้างไหม หรือจะเป็นการปิดถนนบางเวลาเพื่อทำถนนคนเดิน ขอน้อมรับทุกความผิดพลาดและทุกอย่างไปปรับปรุงครับ หากใครมีความเห็นอย่างไรก็พิมพ์แจ้งไว้ได้เลยครับ ปล. รูปนี้คือภาพเมื่อเช้าหลังจากทีมงานล้างออกตั้งแต่เมื่อวานครับ ปล2. เพิ่มเติมที่มีคนถามเรื่องทายางมะตอยทับ เราเพียงล้างออกเท่านั้นครับ ไม่มีการเทยางมะตอยทับแต่อย่างใด พื้นถนนหลายจุดมีความชำรุดอยู่เดิมก็จะใช้โอกาสหลังจากนี้ซ่อมแซมด้วยครับ” ที่มา https://www.facebook.com/100086260703100/posts/pfbid02bHbrNVyqnsKQtz6bf2aStu9eR5MmkCGd3XcxMo4gtc4LZ4NR4G8TtshXa2XyMS7Ql/? #Thaitimes
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 947 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 3 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 3 Views 0 Reviews
  • เหลือบวิชาการ เปิดตัวแผ่นรองฉี่หมา สามารถใช้ตอนชุมนุมประท้ว.งม็อ.บสามกีบก็ได้
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    เหลือบวิชาการ เปิดตัวแผ่นรองฉี่หมา สามารถใช้ตอนชุมนุมประท้ว.งม็อ.บสามกีบก็ได้ #คิงส์โพธิ์แดง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    Haha
    2
    8 Comments 0 Shares 2859 Views 0 Reviews
  • ช่างภาพงานเกษียณ
    #วัยรุ่นช่างภาพ #ทีมงานStaffOnly
    #ครูยะออนเด้อ
    ช่างภาพงานเกษียณ #วัยรุ่นช่างภาพ #ทีมงานStaffOnly #ครูยะออนเด้อ
    0 Comments 0 Shares 51 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • Like
    6
    0 Comments 0 Shares 121 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 3 Views 0 Reviews
  • ชาวเน็ตเซ็ง Facebook มีแต่ Feed ขยะ 90% เป็นโพสต์ที่ไม่อยากดู
    .
    แทนที่จะได้เห็นเรื่องราวของเพื่อนหรือครอบครัว ผู้ใช้ Quora.com ชื่อ Leandro Mattos ตั้งกระทู้ถามหาวิธีลบเนื้อหาที่ไม่ได้สนใจและไม่ได้อยากชม โดยบอกว่าจากที่ใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์กนี้มาตั้งแต่ปี 2013 และไม่เคยใช้งานค่ายอื่นเลยมาตลอด 11 ปี แต่ตอนนี้เริ่มคิดจริงจังแล้วว่าจะเลิกใช้งาน
    .
    ผู้ใช้รายนี้ระบุว่าครั้งหนึ่ง facebook เคยเป็นเครือข่ายสังคมที่ดี มีเนื้อหาเฉพาะของแต่ละคน และสำหรับเขาก็เคยเป็นพื้นที่สนุกสนานที่ได้สังสรรค์กับเพื่อนบนเนื้อหาที่เกี่ยวกับเกมในดวงใจ แต่วันนี้ทุกอย่างยิ่งแย่ลง เนื้อหาที่เคยกดติดตามหรือถูกใจไว้นั้นไม่ปรากฏให้เห็นเลย ตรงกันข้ามหน้าฟีดกลับเต็มไปด้วยสิ่งที่ไม่ได้สนใจ และไม่ได้อยากอ่าน
    .
    ปรากฏว่ามีผู้คนมากมายเข้ามาตอบคำถามในทำนองว่า น่าเสียใจที่ขณะนี้ยังไม่มีวิธีแก้ปัญหานี้ได้แบบ 100% ซึ่งหลายคนบอกว่า Facebook เวอร์ชั่นดั้งเดิมนั้นตายไปแล้ว และจะไม่มีทางกลับมา
    .
    บางคนบอกว่าไม่มีคำตอบที่ดีให้กับคำถามนี้เลย เพราะว่าแทบทุกคนต้องพบปัญหาเดียวกัน ทั้งหมดนี้สะท้อนให้เห็นถึงความข้องใจของผู้ใช้ ซึ่งมีความรู้สึกว่าเมื่อใดที่กดไลค์ หรือกดติดตามเพจที่ชื่นชอบ เนื้อหาจากเพจนั้นจะหายวับไป จนอดคิดไม่ได้ว่า Facebook ตั้งใจปิดกั้น ไม่ให้เห็นเนื้อหาเพจนั้น แต่จะเลือกจากเพจอื่น ที่มี "ผู้แชร์เยอะๆ โต้ตอบเยอะๆ" แทน
    .
    ไม่แน่ นี่อาจเป็นกับดักของ Facebook ที่หวังจะเพิ่มรายได้โฆษณามากขึ้น เพราะในมุมของเพจ ผู้สร้างเนื้อหามักต้องการยอดแชร์และโต้ตอบที่คึกคัก ซึ่งการจะทำให้เกิดการแชร์และโต้ตอบได้นั้นก็จะต้องเริ่มจากการทำให้คนเห็นโพสต์ จึงต้องมีการซื้อโฆษณา และเมื่อระบบปัญญาประดิษฐ์หรือ AI ของ Facebook ได้เห็น ยอดชมจึงจะเพิ่มขึ้น กดดันให้เพจต้องทุ่มงบซื้อโฆษณากับ Facebook ในที่สุด
    .
    สิ่งที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็นว่า เนื้อหาจากเพจที่มีเงินซื้อโฆษณา ได้ถูกกระจายไปเต็มหน้าฟีด Facebook จนทำให้เกิดการแชร์มากกว่าเพจที่ไม่ได้ซื้อโฆษณาซึ่งผู้ใช้กดติดตามไว้ สะท้อนให้เห็นเป็นวงจรอุบาทว์ที่ทำให้ 90% ของหน้าฟีด Facebook แนะนำเนื้อหาจากเพจหรือคนที่ผู้ใช้ไม่รู้จัก ไม่ได้สนใจ และไม่ได้อยากจะดู แบบไม่รู้จบ
    .
    Cr : FB CyberBiz Online
    ชาวเน็ตเซ็ง Facebook มีแต่ Feed ขยะ 90% เป็นโพสต์ที่ไม่อยากดู . แทนที่จะได้เห็นเรื่องราวของเพื่อนหรือครอบครัว ผู้ใช้ Quora.com ชื่อ Leandro Mattos ตั้งกระทู้ถามหาวิธีลบเนื้อหาที่ไม่ได้สนใจและไม่ได้อยากชม โดยบอกว่าจากที่ใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์กนี้มาตั้งแต่ปี 2013 และไม่เคยใช้งานค่ายอื่นเลยมาตลอด 11 ปี แต่ตอนนี้เริ่มคิดจริงจังแล้วว่าจะเลิกใช้งาน . ผู้ใช้รายนี้ระบุว่าครั้งหนึ่ง facebook เคยเป็นเครือข่ายสังคมที่ดี มีเนื้อหาเฉพาะของแต่ละคน และสำหรับเขาก็เคยเป็นพื้นที่สนุกสนานที่ได้สังสรรค์กับเพื่อนบนเนื้อหาที่เกี่ยวกับเกมในดวงใจ แต่วันนี้ทุกอย่างยิ่งแย่ลง เนื้อหาที่เคยกดติดตามหรือถูกใจไว้นั้นไม่ปรากฏให้เห็นเลย ตรงกันข้ามหน้าฟีดกลับเต็มไปด้วยสิ่งที่ไม่ได้สนใจ และไม่ได้อยากอ่าน . ปรากฏว่ามีผู้คนมากมายเข้ามาตอบคำถามในทำนองว่า น่าเสียใจที่ขณะนี้ยังไม่มีวิธีแก้ปัญหานี้ได้แบบ 100% ซึ่งหลายคนบอกว่า Facebook เวอร์ชั่นดั้งเดิมนั้นตายไปแล้ว และจะไม่มีทางกลับมา . บางคนบอกว่าไม่มีคำตอบที่ดีให้กับคำถามนี้เลย เพราะว่าแทบทุกคนต้องพบปัญหาเดียวกัน ทั้งหมดนี้สะท้อนให้เห็นถึงความข้องใจของผู้ใช้ ซึ่งมีความรู้สึกว่าเมื่อใดที่กดไลค์ หรือกดติดตามเพจที่ชื่นชอบ เนื้อหาจากเพจนั้นจะหายวับไป จนอดคิดไม่ได้ว่า Facebook ตั้งใจปิดกั้น ไม่ให้เห็นเนื้อหาเพจนั้น แต่จะเลือกจากเพจอื่น ที่มี "ผู้แชร์เยอะๆ โต้ตอบเยอะๆ" แทน . ไม่แน่ นี่อาจเป็นกับดักของ Facebook ที่หวังจะเพิ่มรายได้โฆษณามากขึ้น เพราะในมุมของเพจ ผู้สร้างเนื้อหามักต้องการยอดแชร์และโต้ตอบที่คึกคัก ซึ่งการจะทำให้เกิดการแชร์และโต้ตอบได้นั้นก็จะต้องเริ่มจากการทำให้คนเห็นโพสต์ จึงต้องมีการซื้อโฆษณา และเมื่อระบบปัญญาประดิษฐ์หรือ AI ของ Facebook ได้เห็น ยอดชมจึงจะเพิ่มขึ้น กดดันให้เพจต้องทุ่มงบซื้อโฆษณากับ Facebook ในที่สุด . สิ่งที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็นว่า เนื้อหาจากเพจที่มีเงินซื้อโฆษณา ได้ถูกกระจายไปเต็มหน้าฟีด Facebook จนทำให้เกิดการแชร์มากกว่าเพจที่ไม่ได้ซื้อโฆษณาซึ่งผู้ใช้กดติดตามไว้ สะท้อนให้เห็นเป็นวงจรอุบาทว์ที่ทำให้ 90% ของหน้าฟีด Facebook แนะนำเนื้อหาจากเพจหรือคนที่ผู้ใช้ไม่รู้จัก ไม่ได้สนใจ และไม่ได้อยากจะดู แบบไม่รู้จบ . Cr : FB CyberBiz Online
    Like
    Haha
    Love
    Sad
    20
    1 Comments 1 Shares 623 Views 0 Reviews
  • พอ..ดี #กินดื่มง่ายๆ #Thaifoods #ว่างว่างก็แวะมา #Thaitimes
    พอ..ดี #กินดื่มง่ายๆ #Thaifoods #ว่างว่างก็แวะมา #Thaitimes
    Like
    3
    0 Comments 0 Shares 1090 Views 0 Reviews
  • 26 กันยายน 2567-Live รายการชวนคิดชวนคุย
    ที่มา : https://www.youtube.com/live/rs62wFs483M?si=8n_sg4BO4KeOXDrW

    #Thaitimes
    26 กันยายน 2567-Live รายการชวนคิดชวนคุย ที่มา : https://www.youtube.com/live/rs62wFs483M?si=8n_sg4BO4KeOXDrW #Thaitimes
    Like
    3
    0 Comments 0 Shares 914 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 4 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/jIriwJ_z-ms?si=f6RRS58yf58x2ogA
    คำสอนของพ่อฤาษีลิงดำ
    https://youtu.be/jIriwJ_z-ms?si=f6RRS58yf58x2ogA คำสอนของพ่อฤาษีลิงดำ
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 45 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 4 Views 0 Reviews
  • องค์พญานาคราช
    องค์พญานาคราช
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 28 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 8 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 8 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 4 Views 0 Reviews
  • ♣ ถึงเวลาช่วยเจ้าหนี้นอกระบบ ไปเก็บไปทวงกันที่อื่นนะ เงินหมื่นก็อย่าเอาไปหมด
    #7ดอกจิก
    ♣ ถึงเวลาช่วยเจ้าหนี้นอกระบบ ไปเก็บไปทวงกันที่อื่นนะ เงินหมื่นก็อย่าเอาไปหมด #7ดอกจิก
    Haha
    1
    0 Comments 0 Shares 219 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 4 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 9 Views 0 Reviews
  • ต้องเคยบ้างละ 😆
    ต้องเคยบ้างละ 😆
    0 Comments 0 Shares 10 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 86 Views 24 0 Reviews