• https://youtu.be/eJlQX8qa3cg?si=lNzEzfJbtAAMdnDo
    https://youtu.be/eJlQX8qa3cg?si=lNzEzfJbtAAMdnDo
    0 Comments 0 Shares 32 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/axYpUtAn1Cg?si=H9lE0O3G_U2h9TJB
    https://youtu.be/axYpUtAn1Cg?si=H9lE0O3G_U2h9TJB
    0 Comments 0 Shares 30 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/SRJUeK9ZvtY?si=OS5wVDgdcGMuma3R
    https://youtu.be/SRJUeK9ZvtY?si=OS5wVDgdcGMuma3R
    0 Comments 0 Shares 27 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/lO5Vqzos1Xc?si=93cc-050XLXZ-vO-
    https://youtube.com/shorts/lO5Vqzos1Xc?si=93cc-050XLXZ-vO-
    0 Comments 0 Shares 26 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/ymE7p1SmHwE?si=SWvdDOWIZcTP2VeN
    https://youtube.com/shorts/ymE7p1SmHwE?si=SWvdDOWIZcTP2VeN
    0 Comments 0 Shares 17 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/j0d0fYvMFjE?si=Z4syqM8tXECbkw_B
    https://youtube.com/shorts/j0d0fYvMFjE?si=Z4syqM8tXECbkw_B
    0 Comments 0 Shares 16 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/k5aW4_Q8Mss?si=tjawQKOPixXBVCS7
    https://youtu.be/k5aW4_Q8Mss?si=tjawQKOPixXBVCS7
    0 Comments 0 Shares 25 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/WnWjPnE3XlE?si=7H8S2UP8i8FEm-8w
    https://youtu.be/WnWjPnE3XlE?si=7H8S2UP8i8FEm-8w
    0 Comments 0 Shares 11 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/oPJMxd-cnpY?si=nXzPnXtB-ZA0Uw3J
    https://youtu.be/oPJMxd-cnpY?si=nXzPnXtB-ZA0Uw3J
    0 Comments 0 Shares 28 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/K6wDMK8Tca0?si=-eRMuRY_XsjMPyYf
    https://youtube.com/shorts/K6wDMK8Tca0?si=-eRMuRY_XsjMPyYf
    0 Comments 0 Shares 29 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/o6J34sEmzdc?si=wpgMNNPQ5ELTnPwY
    https://youtube.com/shorts/o6J34sEmzdc?si=wpgMNNPQ5ELTnPwY
    0 Comments 0 Shares 24 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/aacJTaPgq2o?si=exLgdv9g01K9DDku
    https://youtube.com/shorts/aacJTaPgq2o?si=exLgdv9g01K9DDku
    0 Comments 0 Shares 36 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/WtJUvj6vdmI?si=ydyEyIzDYALuvu5p
    https://youtube.com/shorts/WtJUvj6vdmI?si=ydyEyIzDYALuvu5p
    0 Comments 0 Shares 41 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/4ZCizpbhZ2I?si=J6P0YhfeEq-6TB1h
    https://youtube.com/shorts/4ZCizpbhZ2I?si=J6P0YhfeEq-6TB1h
    0 Comments 0 Shares 43 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาปกิณณกทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 312
    ชื่อบทธรรม :- ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูลและตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง.
    เก้าอย่าง อย่างไรเล่า ?
    ๑--เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา (ปริเยสนา) ;
    ๒--เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได้ (ลาโภ) ;
    ๓--เพราะอาศัยการได้ จึงมีความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ;
    ๔--เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมีความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ;
    ๕--เพราะอาศัยความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ;
    ๖--เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ;
    ๗--เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ;
    ๘--เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข) ;
    ๙--เพราะอาศัยการหวงกั้น จึงมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=อารกฺขาธิกร
    กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม
    การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท
    การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด
    และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อม.

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ชื่อว่าธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง.
    *อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก -- นวก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๗;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97
    (สอบทานด้วย - มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙).
    http://etipitaka.com/read/pali/10/69/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99

    --ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ สิ่งอันเป็นที่รัก,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก ;
    เมื่อพ้นแล้วจากสิ่งเป็นที่รัก, ความโศก ย่อมไม่มี แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก ;
    เมื่อพ้นแล้วจา ความรัก, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี ;
    เมื่อพ้นแล้วจากความยินดี, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่ ;
    เมื่อพ้นแล้วจากความใคร่, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา ;
    เมื่อพ้นแล้วตัณหา, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจ​สี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/43/26.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๔๓/๒๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/43/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=312
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาปกิณณกทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 312 ชื่อบทธรรม :- ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูลและตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312 เนื้อความทั้งหมด :- --ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. เก้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ๑--เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา (ปริเยสนา) ; ๒--เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได้ (ลาโภ) ; ๓--เพราะอาศัยการได้ จึงมีความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ; ๔--เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมีความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ; ๕--เพราะอาศัยความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ; ๖--เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ; ๗--เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ; ๘--เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข) ; ๙--เพราะอาศัยการหวงกั้น จึงมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) ; http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=อารกฺขาธิกร กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อม. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ชื่อว่าธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. *อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก -- นวก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๗; http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97 (สอบทานด้วย - มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙). http://etipitaka.com/read/pali/10/69/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 --ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ สิ่งอันเป็นที่รัก, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก ; เมื่อพ้นแล้วจากสิ่งเป็นที่รัก, ความโศก ย่อมไม่มี แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก ; เมื่อพ้นแล้วจา ความรัก, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี ; เมื่อพ้นแล้วจากความยินดี, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่ ; เมื่อพ้นแล้วจากความใคร่, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา ; เมื่อพ้นแล้วตัณหา, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจ​สี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/43/26. http://etipitaka.com/read/thai/25/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๔๓/๒๖. http://etipitaka.com/read/pali/25/43/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=312 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล
    -ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. เก้าอย่าง อย่างไรเล่า ? เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา (ปริเยสนา) ; เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได้ (ลาโภ) ; เพราะอาศัยการได้ จึงมีความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ; เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมีความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ; เพราะอาศัยความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ; เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ; เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ; เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข) ; เพราะอาศัยการหวงกั้น จึงมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) ; กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อม. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ชื่อว่าธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. นวก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๗; (สอบทานด้วย - มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙). ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก ความโศก ย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก, ความกลัวย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก ; เมื่อพ้นแล้วจากสิ่งเป็นที่รัก, ความโศก ย่อมไม่มี แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ความรัก, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ความรัก ; เมื่อพ้นแล้วจา ความรัก, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ความยินดี, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ความยินดี ; เมื่อพ้นแล้วจากความยินดี, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ความใคร่, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ความใคร่ ; เมื่อพ้นแล้วจากความใคร่, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ตัณหา, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ตัณหา ; เมื่อพ้นแล้วตัณหา, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    0 Comments 0 Shares 75 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/aRckvaEMAiM?si=YSPSPjRYIMgYzqOa
    https://youtube.com/shorts/aRckvaEMAiM?si=YSPSPjRYIMgYzqOa
    0 Comments 0 Shares 43 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ตโปชิคุจฉิวัตร(การเกียจกันบาปด้วยตบะ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 681
    ชื่อบทธรรม :- ตโปชิคุจฉิวัตร-เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=681
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ตโปชิคุจฉิวัตร
    --เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ
    ....
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติการรื้อถอนซึ่งโอฆะ
    โดยข้อปฏิบัติซึ่งประกอบด้วยธรรม ๒ อย่าง คือ
    ด้วยสีลวิสุทธิ์ และด้วยตโปชิคุจฉะ (การเกียจกันบาปด้วยตบะ).
    http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=ตโปชิคุจฺฉ
    +--ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในเรื่องนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่าอย่างไร?”
    --สาฬ๎หะเอ๋ย ! เรากล่าวสีลวิสุทธิ์ว่าเป็นองค์แห่งสามัญญปฏิบัติองค์ใดองค์หนึ่ง
    http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=สีลวิสุทฺธิ
    ส่วนสมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท (การสอนเกียจกันบาปด้วยตบะ)
    มีตโปชิคุจฉะเป็นสาระ เกลือกกลั้วพัวพันอยู่ในตโปชิคุจฉะ
    เป็นพวกที่ไม่สมควรที่จะรื้อถอนซึ่งโอฆะ ;
    ถึงแม้สมณพราหมณ์พวกที่
    มีกายสมาจารไม่บริสุทธิ์
    มีวจีสมาจารไม่บริสุทธิ์
    มีมโนสมาจารไม่บริสุทธิ์
    มีอาชีวะไม่บริสุทธิ์
    พวกนั้นไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ
    และแก่ความรู้พร้อมอันไม่มีอะไรยิ่งกว่า (อนุตฺต สมฺโพธ).
    http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=อนุตฺต+สมฺโพธ
    --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะข้ามแม่น้ำ ถือขวานกุฏฐารี
    เข้าไปสู่ป่า เห็นต้นสาละใหญ่ ลำต้นตรง ยังหนุ่ม ไม่มีส่วนน่ารังเกียจ
    เขาตัดต้นไม้นั้นที่โคน แล้วตัดที่ปลาย ริดกิ่งและใบออกหมดจด
    แล้วถากด้วยขวานกุฏฐารี แล้วถากด้วยมีด ขูดด้วยเครื่องขูด
    ขัดให้เกลี้ยงด้วยก้อนหินกลม แล้วปล่อยลงน้ำ.
    --สาฬ๎หะ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : บุรุษนั้นอาจจะข้ามแม่น้ำไปได้หรือหนอ ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !”
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    “+--ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะท่อนไม้สาละนั้น
    ทำบริกรรมถูกต้องแต่ภายนอก ภายในไม่ถูกต้อง (สำหรับความเป็นเรือ) เลย
    สิ่งที่บุรุษนั้นจะหวังได้คือ ท่อนไม้สาละนั้นจักจมลง
    บุรุษนั้นจักถึงความพินาศ พระเจ้าข้า ! ”
    --สาฬ๎หะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น
    : สมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท ก็ไม่อาจที่จะถอนซึ่งโอฆะ;
    แม้พวกที่มีสมาจารไม่บริสุทธิ์ ก็ไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ
    และแก่อนุตตรสัมโพธะ ฉันนั้นเหมือนกัน.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=อนุตฺต+สมฺโพธ
    ...
    (ต่อไปได้ตรัสข้อความอันเป็นปฏิปักขนัย(ฝ่ายตรงข้าม)​
    ซึ่งผู้อ่านอาจจะเปรียบเทียบได้เองจนตลอดเรื่อง...)​.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/190-193/196.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๑-๒๗๔/๑๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=681
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=681
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ตโปชิคุจฉิวัตร(การเกียจกันบาปด้วยตบะ) สัทธรรมลำดับที่ : 681 ชื่อบทธรรม :- ตโปชิคุจฉิวัตร-เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=681 เนื้อความทั้งหมด :- --ตโปชิคุจฉิวัตร --เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ .... --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติการรื้อถอนซึ่งโอฆะ โดยข้อปฏิบัติซึ่งประกอบด้วยธรรม ๒ อย่าง คือ ด้วยสีลวิสุทธิ์ และด้วยตโปชิคุจฉะ (การเกียจกันบาปด้วยตบะ). http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=ตโปชิคุจฺฉ +--ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในเรื่องนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่าอย่างไร?” --สาฬ๎หะเอ๋ย ! เรากล่าวสีลวิสุทธิ์ว่าเป็นองค์แห่งสามัญญปฏิบัติองค์ใดองค์หนึ่ง http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=สีลวิสุทฺธิ ส่วนสมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท (การสอนเกียจกันบาปด้วยตบะ) มีตโปชิคุจฉะเป็นสาระ เกลือกกลั้วพัวพันอยู่ในตโปชิคุจฉะ เป็นพวกที่ไม่สมควรที่จะรื้อถอนซึ่งโอฆะ ; ถึงแม้สมณพราหมณ์พวกที่ มีกายสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีวจีสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีมโนสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีอาชีวะไม่บริสุทธิ์ พวกนั้นไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ และแก่ความรู้พร้อมอันไม่มีอะไรยิ่งกว่า (อนุตฺต สมฺโพธ). http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=อนุตฺต+สมฺโพธ --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะข้ามแม่น้ำ ถือขวานกุฏฐารี เข้าไปสู่ป่า เห็นต้นสาละใหญ่ ลำต้นตรง ยังหนุ่ม ไม่มีส่วนน่ารังเกียจ เขาตัดต้นไม้นั้นที่โคน แล้วตัดที่ปลาย ริดกิ่งและใบออกหมดจด แล้วถากด้วยขวานกุฏฐารี แล้วถากด้วยมีด ขูดด้วยเครื่องขูด ขัดให้เกลี้ยงด้วยก้อนหินกลม แล้วปล่อยลงน้ำ. --สาฬ๎หะ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นอาจจะข้ามแม่น้ำไปได้หรือหนอ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? “+--ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะท่อนไม้สาละนั้น ทำบริกรรมถูกต้องแต่ภายนอก ภายในไม่ถูกต้อง (สำหรับความเป็นเรือ) เลย สิ่งที่บุรุษนั้นจะหวังได้คือ ท่อนไม้สาละนั้นจักจมลง บุรุษนั้นจักถึงความพินาศ พระเจ้าข้า ! ” --สาฬ๎หะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : สมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท ก็ไม่อาจที่จะถอนซึ่งโอฆะ; แม้พวกที่มีสมาจารไม่บริสุทธิ์ ก็ไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ และแก่อนุตตรสัมโพธะ ฉันนั้นเหมือนกัน. http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=อนุตฺต+สมฺโพธ ... (ต่อไปได้ตรัสข้อความอันเป็นปฏิปักขนัย(ฝ่ายตรงข้าม)​ ซึ่งผู้อ่านอาจจะเปรียบเทียบได้เองจนตลอดเรื่อง...)​.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/190-193/196. http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๑-๒๗๔/๑๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=681 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=681 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ตโปชิคุจฉิวัตร
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า คำว่า “กามสุขัลลิกานุโยค“ กับคำว่า “สุขัลลิกานุโยค“ มิใช่คำคำเดียวกัน และมีความหมายแคบกว่ากัน คือกามสุขัลลิกานุโยคนั้น มุ่งความสุขเกิดแต่กามอย่างเดียว ส่วนสุขัลลิกานุโยคนั้น รวมเอาความสุขของคนบาปก็ได้ ของคนบริโภคกามก็ได้ ของคนมีความสุขเกิดจากฌานหรือสมาธิก็ได้, กล่าวได้ว่า มีความหมายกว้างกว่ากามสุขัลลิกานุโยคสามเท่าตัวเป็นอย่างน้อย). ตโปชิคุจฉิวัตร เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติการรื้อถอนซึ่งโอฆะ โดยข้อปฏิบัติซึ่งประกอบด้วยธรรม ๒ อย่าง คือ ด้วยสีลวิสุทธิ์ และด้วยตโปชิคุจฉะ (การเกียจกันบาปด้วยตบะ). ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในเรื่องนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่าอย่างไร?”. สาฬ๎หะเอ๋ย ! เรากล่าวสีลวิสุทธิ์ว่าเป็นองค์แห่งสามัญญปฏิบัติองค์ใดองค์หนึ่ง ส่วนสมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท (การสอนเกียจกันบาป ด้วยตบะ) มีตโปชิคุจฉะเป็นสาระ เกลือกกลั้วพัวพันอยู่ในตโปชิคุจฉะ เป็นพวกที่ไม่สมควรที่จะรื้อถอนซึ่งโอฆะ ; ถึงแม้สมณพราหมณ์พวกที่มีกายสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีวจีสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีมโนสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีอาชีวะไม่บริสุทธิ์ พวกนั้นไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ และแก่ความรู้พร้อมอันไม่มีอะไรยิ่งกว่า (อนุตฺตรสมฺโพธ). สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะข้ามแม่น้ำ ถือขวานกุฏฐารี เข้าไปสู่ป่า เห็นต้นสาละใหญ่ ลำต้นตรง ยังหนุ่ม ไม่มีส่วนน่ารังเกียจ เขาตัดต้นไม้นั้นที่โคน แล้วตัดที่ปลาย ริดกิ่งและใบออกหมดจด แล้วถากด้วยขวานกุฏฐารี แล้วถากด้วยมีด ขูดด้วยเครื่องขูด ขัดให้เกลี้ยงด้วยก้อนหินกลม แล้วปล่อยลงน้ำ. สาฬ๎หะ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นอาจจะข้ามแม่น้ำไปได้หรือหนอ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะท่อนไม้สาละนั้น ทำบริกรรมถูกต้องแต่ภายนอก ภายในไม่ถูกต้อง (สำหรับความเป็นเรือ) เลย สิ่งที่บุรุษนั้นจะหวังได้คือ ท่อนไม้สาละนั้นจักจมลง บุรุษนั้น จักถึงความพินาศ พระเจ้าข้า ! ” สาฬ๎หะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : สมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท ก็ไม่อาจที่จะถอนซึ่งโอฆะ; แม้พวกที่มีสมาจารไม่บริสุทธิ์ ก็ไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ และแก่อนุตตรสัมโพธะ ฉันนั้นเหมือนกัน. (ต่อไปได้ตรัสข้อความอันเป็นปฏิปักขนัย ฝ่ายตรงข้าม ซึ่งผู้อ่านอาจจะเปรียบเทียบได้เองจนตลอดเรื่อง).
    0 Comments 0 Shares 77 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/nCXJ0S3oYao?si=q1Mwc1z8ufGnUJNa
    https://youtube.com/shorts/nCXJ0S3oYao?si=q1Mwc1z8ufGnUJNa
    0 Comments 0 Shares 47 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    สัทธรรมลำดับที่ : 1048
    ชื่อบทธรรม :- เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด
    ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
    เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า
    “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสาคือ “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์”)
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อุปนิสา
    ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล
    ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
    เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?”
    ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า
    วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น
    อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า?
    สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า
    “นี้คือทุกข์
    นี้คือทุกขสมุทัย”
    ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ;
    และ
    “นี้คือทุกขนิโรธ
    นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้ : นี้เป็นอนุปัสสนา หมวดที่สอง.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม
    อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้
    เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่;
    ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง
    คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ
    หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.-
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อนาคามี

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/351/390.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๓/๓๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1048
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก สัทธรรมลำดับที่ : 1048 ชื่อบทธรรม :- เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048 เนื้อความทั้งหมด :- --เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสาคือ “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์”) http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อุปนิสา ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?” ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า? สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า “นี้คือทุกข์ นี้คือทุกขสมุทัย” ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ; และ “นี้คือทุกขนิโรธ นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ : นี้เป็นอนุปัสสนา หมวดที่สอง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่; ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.- http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อนาคามี #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/351/390. http://etipitaka.com/read/thai/25/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๓/๓๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1048 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    -เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่. ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสา๑) ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออก ๑. อุปนิสา คำนี้ ในที่บางแห่ง (ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๕๔๙ บรรทัดที่ ๗) ได้แปลว่า “ประโยชน์” นั้นไม่ถูก, ที่ถูกต้องแปลว่า “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์” ; ขอให้เข้าใจตามนี้ด้วย. จากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?” ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า? สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า “นี้คือทุกข์ นี้คือทุกขสมุทัย” ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ; และ “นี้คือทุกขนิโรธ นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ นี้เป็นอนุปัสสนาหมวด ที่สอง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่; ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.
    0 Comments 0 Shares 98 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/HoCyyuGOJ6I?si=6rNL3lgWgwX2qDqQ
    https://youtube.com/shorts/HoCyyuGOJ6I?si=6rNL3lgWgwX2qDqQ
    0 Comments 0 Shares 49 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/6fEfDINLaGM?si=yFSnmpLyzwjgP4t2
    https://youtube.com/shorts/6fEfDINLaGM?si=yFSnmpLyzwjgP4t2
    0 Comments 0 Shares 51 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/mFMVyF4ROzU?si=YBUAxuY4Yp5fVA7d
    https://youtube.com/shorts/mFMVyF4ROzU?si=YBUAxuY4Yp5fVA7d
    0 Comments 0 Shares 57 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/EG3JOBPI-cY?si=jhCIV_OUfS005hwY
    https://youtube.com/shorts/EG3JOBPI-cY?si=jhCIV_OUfS005hwY
    0 Comments 0 Shares 59 Views 0 Reviews
  • ใครที่คุยโทรศัพท์กัน​ แล้วได้ยินคนอื่นเสียงแทรกเข้ามาในสาย​ ทั้งที่ความจริงไม่มี​ จนทำให้เข้าใจผิดกัน​ ใครที่ทำแบบนี้ได้น่ะ​ ระดับพี่ๆคอลเซ็นเตอร์เลยนะ​ ไม่ใช่ระดับน้องๆ​ ใครจึ้งๆอย่าประมาท​ ระวังตัวไว้เลย​ ตั้งสติให้ดี
    ใครที่คุยโทรศัพท์กัน​ แล้วได้ยินคนอื่นเสียงแทรกเข้ามาในสาย​ ทั้งที่ความจริงไม่มี​ จนทำให้เข้าใจผิดกัน​ ใครที่ทำแบบนี้ได้น่ะ​ ระดับพี่ๆคอลเซ็นเตอร์เลยนะ​ ไม่ใช่ระดับน้องๆ​ ใครจึ้งๆอย่าประมาท​ ระวังตัวไว้เลย​ ตั้งสติให้ดี
    0 Comments 0 Shares 34 Views 0 Reviews
  • แกะคำพูด การกระทำ บอกพฤติกรรมคน (ไม่ใช่มนุษย์) https://www.youtube.com/live/NXN6iUAfT4U?si=YLeaDKMCBKCO-tbm
    แกะคำพูด การกระทำ บอกพฤติกรรมคน (ไม่ใช่มนุษย์) https://www.youtube.com/live/NXN6iUAfT4U?si=YLeaDKMCBKCO-tbm
    - YouTube
    เพลิดเพลินไปกับวิดีโอและเพลงที่คุณชอบ อัปโหลดเนื้อหาต้นฉบับ และแชร์เนื้อหาทั้งหมดกับเพื่อน ครอบครัว และผู้คนทั่วโลกบน YouTube
    0 Comments 0 Shares 46 Views 0 Reviews