อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาปกิณณกทุกข์
สัทธรรมลำดับที่ : 312
ชื่อบทธรรม :- ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูลและตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312
เนื้อความทั้งหมด :-
--ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง.
เก้าอย่าง อย่างไรเล่า ?
๑--เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา (ปริเยสนา) ;
๒--เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได้ (ลาโภ) ;
๓--เพราะอาศัยการได้ จึงมีความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ;
๔--เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมีความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ;
๕--เพราะอาศัยความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ;
๖--เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ;
๗--เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ;
๘--เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข) ;
๙--เพราะอาศัยการหวงกั้น จึงมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) ;
http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=อารกฺขาธิกร
กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม
การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท
การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด
และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อม.

--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ชื่อว่าธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง.
*อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก -- นวก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๗;
http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97
(สอบทานด้วย - มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙).
http://etipitaka.com/read/pali/10/69/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99

--ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก
--ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ สิ่งอันเป็นที่รัก,
ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก ;
เมื่อพ้นแล้วจากสิ่งเป็นที่รัก, ความโศก ย่อมไม่มี แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
--ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก,
ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก ;
เมื่อพ้นแล้วจา ความรัก, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
--ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี,
ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี ;
เมื่อพ้นแล้วจากความยินดี, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
--ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่,
ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่ ;
เมื่อพ้นแล้วจากความใคร่, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
--ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา,
ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา ;
เมื่อพ้นแล้วตัณหา, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.-

#ทุกขสมุทัย #อริยสัจ​สี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/43/26.
http://etipitaka.com/read/thai/25/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๔๓/๒๖.
http://etipitaka.com/read/pali/25/43/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=312
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาปกิณณกทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 312 ชื่อบทธรรม :- ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูลและตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312 เนื้อความทั้งหมด :- --ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. เก้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ๑--เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา (ปริเยสนา) ; ๒--เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได้ (ลาโภ) ; ๓--เพราะอาศัยการได้ จึงมีความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ; ๔--เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมีความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ; ๕--เพราะอาศัยความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ; ๖--เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ; ๗--เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ; ๘--เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข) ; ๙--เพราะอาศัยการหวงกั้น จึงมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) ; http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=อารกฺขาธิกร กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อม. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ชื่อว่าธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. *อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก -- นวก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๗; http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97 (สอบทานด้วย - มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙). http://etipitaka.com/read/pali/10/69/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 --ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ สิ่งอันเป็นที่รัก, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก ; เมื่อพ้นแล้วจากสิ่งเป็นที่รัก, ความโศก ย่อมไม่มี แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก ; เมื่อพ้นแล้วจา ความรัก, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี ; เมื่อพ้นแล้วจากความยินดี, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่ ; เมื่อพ้นแล้วจากความใคร่, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา ; เมื่อพ้นแล้วตัณหา, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจ​สี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/43/26. http://etipitaka.com/read/thai/25/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๔๓/๒๖. http://etipitaka.com/read/pali/25/43/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=312 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล
-ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. เก้าอย่าง อย่างไรเล่า ? เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา (ปริเยสนา) ; เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได้ (ลาโภ) ; เพราะอาศัยการได้ จึงมีความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ; เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมีความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ; เพราะอาศัยความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ; เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ; เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ; เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข) ; เพราะอาศัยการหวงกั้น จึงมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) ; กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อม. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ชื่อว่าธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. นวก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๗; (สอบทานด้วย - มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙). ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก ความโศก ย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก, ความกลัวย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก ; เมื่อพ้นแล้วจากสิ่งเป็นที่รัก, ความโศก ย่อมไม่มี แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ความรัก, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ความรัก ; เมื่อพ้นแล้วจา ความรัก, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ความยินดี, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ความยินดี ; เมื่อพ้นแล้วจากความยินดี, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ความใคร่, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ความใคร่ ; เมื่อพ้นแล้วจากความใคร่, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ตัณหา, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ตัณหา ; เมื่อพ้นแล้วตัณหา, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
0 Comments 0 Shares 54 Views 0 Reviews