• https://youtu.be/ivMSEulPcJs?si=khGADQkRsVMj1k99
    https://youtu.be/ivMSEulPcJs?si=khGADQkRsVMj1k99
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/aLnzYWNdOLI?si=7Kut47Ons0V4JVGF
    https://youtube.com/shorts/aLnzYWNdOLI?si=7Kut47Ons0V4JVGF
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/lScgA0Eli6I?si=IIvat6lSpNQ0i1Ds
    https://youtube.com/shorts/lScgA0Eli6I?si=IIvat6lSpNQ0i1Ds
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 12 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/XDBfxnVxy6I?si=Soji-f7B-c-m25_p
    https://youtube.com/shorts/XDBfxnVxy6I?si=Soji-f7B-c-m25_p
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/TPlwKqRUV8A?si=AFX4zu5rG1HVdkhw
    https://youtu.be/TPlwKqRUV8A?si=AFX4zu5rG1HVdkhw
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/vEWMvPNoPlY?si=kPqzYG-o1a193yjJ
    https://youtube.com/shorts/vEWMvPNoPlY?si=kPqzYG-o1a193yjJ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 11 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง
    สัทธรรมลำดับที่ : 183
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=183
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง
    --ภิกษุ !
    บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า มีเครื่องผูกแห่งมาร.
    บุคคลผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/91/?keywords=มารสฺส
    +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว.
    ข้าแต่พระสุคต ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว”.
    --ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ ได้โดยพิสดาร ว่าอย่างไร ?
    +--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !

    --บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่
    ซึ่งรูป ...ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ
    ชื่อว่า มีเครื่องผูกแห่งมาร ;
    --ส่วนผู้ไม่ยึดมั่นอยู่
    ซึ่งรูป ...ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ
    ชื่อว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร.
    ข้าพระองค์เข้าใจเนื้อความแห่งคำ อันพระผู้มีพระภาคตรัสแล้วโดยย่อนี้
    ได้โดยพิสดารอย่างนี้ พระเจ้าข้า !”

    +--สาธุ สาธุ ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ
    ได้โดยพิสดารอย่างดี.
    --ภิกษุ ! เนื้อความแห่งคำอันเรากล่าวแล้วโดยย่อ นี้
    บุคคลพึงเห็นโดยพิสดาร อย่างนั้นแหละ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/72/138.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/72/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๙๑/๑๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/91/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=183
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=183
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง สัทธรรมลำดับที่ : 183 ชื่อบทธรรม :- ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=183 เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง --ภิกษุ ! บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า มีเครื่องผูกแห่งมาร. บุคคลผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร. http://etipitaka.com/read/pali/17/91/?keywords=มารสฺส +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว. ข้าแต่พระสุคต ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว”. --ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ ได้โดยพิสดาร ว่าอย่างไร ? +--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! --บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ ซึ่งรูป ...ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ ชื่อว่า มีเครื่องผูกแห่งมาร ; --ส่วนผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ ซึ่งรูป ...ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ ชื่อว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร. ข้าพระองค์เข้าใจเนื้อความแห่งคำ อันพระผู้มีพระภาคตรัสแล้วโดยย่อนี้ ได้โดยพิสดารอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” +--สาธุ สาธุ ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ ได้โดยพิสดารอย่างดี. --ภิกษุ ! เนื้อความแห่งคำอันเรากล่าวแล้วโดยย่อ นี้ บุคคลพึงเห็นโดยพิสดาร อย่างนั้นแหละ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/72/138. http://etipitaka.com/read/thai/17/72/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๙๑/๑๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/91/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=183 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=183 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง
    -ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง ภิกษุ ! บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ เรียกว่ามีเครื่องผูกแห่งมาร. ผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร. “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว. ข้าแต่พระสุคต ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว”. ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ ได้โดยพิสดาร ว่าอย่างไร ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ ซึ่งรูป ... ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ ชื่อว่ามีเครื่องผูกแห่งมาร ; ส่วนผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ ซึ่งรูป ... ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ ชื่อว่าพ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร. ข้าพระองค์เข้าใจเนื้อความแห่งคำ อันพระผู้มีพระภาคตรัสแล้วโดยย่อนี้ ได้โดยพิสดารอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” สาธุ สาธุ ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อได้โดยพิสดารอย่างดี. ภิกษุ ! เนื้อความแห่งคำอันเรากล่าวแล้วโดยย่อ นี้ บุคคลพึงเห็นโดยพิสดาร อย่างนั้นแหละ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาสมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น
    สัทธรรมลำดับที่ : 600
    ชื่อบทธรรม :- สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=600
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น
    (ระบบลัทธิพรหมจรรย์จึงไม่เหมือนกัน)
    --ภิกษุทั้งหลาย(ท. !) พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ผู้มีวาทะอย่างนี้
    อันพวกเธอพึงกล่าวตอบอย่างนี้ว่าท่านผู้มีอายุทั้งหลาย
    ธรรม ๔ ประการ อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้รู้ ผู้เห็น
    เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสแล้ว มีอยู่
    ที่พวกเราเห็นธรรมเหล่านี้ในตน
    จึงกล่าวอย่างนี้ว่า
    --ภิกษุ ท. !
    สมณะ (ที่หนึ่ง) มีในธรรมวินัยนี้แหละ ;
    สมณะที่สอง มีในธรรมวินัยนี้ ;
    สมณะที่สาม มีในธรรมวินัยนี้ ;
    สมณะที่สี่ มีในธรรมวินัยนี้.
    ลัทธิอื่น ว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น :
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบ อย่างนี้เถิด.-

    ธรรม ๔ อย่างเป็นไฉน?๔ อย่าง คือ
    ๑. ความเลื่อมใสในพระศาสดาของพวกเรา มีอยู่
    ๒. ความเลื่อมใสในพระธรรม มีอยู่
    ๓. ความกระทำให้บริบูรณ์ในศีล มีอยู่
    ๔. ทั้งคฤหัสถ์(ครองเรือน)​และบรรพชิต(ออกบวช)​
    ผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน เป็นที่น่ารัก น่าพอใจ มีอยู่
    --ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสแล้ว
    ที่พวกเราเล็งเห็นธรรมเหล่านี้ในตน

    (บาลีนี้แสดงว่า ไม่อาจจะถือเอาคำพูดเป็นหลัก
    เพราะคำๆเดียวกันมีความหมายต่างกันได้ และเป็นเหตุให้เถียงกันหรือดูหมิ่นกัน;
    เป็นสิ่งที่ต้องระวัง).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/128/154.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๒๘/๑๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=600
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=600
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาสมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น สัทธรรมลำดับที่ : 600 ชื่อบทธรรม :- สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=600 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น (ระบบลัทธิพรหมจรรย์จึงไม่เหมือนกัน) --ภิกษุทั้งหลาย(ท. !) พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ผู้มีวาทะอย่างนี้ อันพวกเธอพึงกล่าวตอบอย่างนี้ว่าท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการ อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสแล้ว มีอยู่ ที่พวกเราเห็นธรรมเหล่านี้ในตน จึงกล่าวอย่างนี้ว่า --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) มีในธรรมวินัยนี้แหละ ; สมณะที่สอง มีในธรรมวินัยนี้ ; สมณะที่สาม มีในธรรมวินัยนี้ ; สมณะที่สี่ มีในธรรมวินัยนี้. ลัทธิอื่น ว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น : --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบ อย่างนี้เถิด.- ธรรม ๔ อย่างเป็นไฉน?๔ อย่าง คือ ๑. ความเลื่อมใสในพระศาสดาของพวกเรา มีอยู่ ๒. ความเลื่อมใสในพระธรรม มีอยู่ ๓. ความกระทำให้บริบูรณ์ในศีล มีอยู่ ๔. ทั้งคฤหัสถ์(ครองเรือน)​และบรรพชิต(ออกบวช)​ ผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน เป็นที่น่ารัก น่าพอใจ มีอยู่ --ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสแล้ว ที่พวกเราเล็งเห็นธรรมเหล่านี้ในตน (บาลีนี้แสดงว่า ไม่อาจจะถือเอาคำพูดเป็นหลัก เพราะคำๆเดียวกันมีความหมายต่างกันได้ และเป็นเหตุให้เถียงกันหรือดูหมิ่นกัน; เป็นสิ่งที่ต้องระวัง). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/128/154. http://etipitaka.com/read/thai/12/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๒๘/๑๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/12/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=600 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=600 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น
    -สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น (ระบบลัทธิพรหมจรรย์จึงไม่เหมือนกัน) ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) มีในธรรมวินัยนี้แหละ ; สมณะที่สอง มีในธรรมวินัยนี้ ; สมณะที่สาม มีในธรรมวินัยนี้ ; สมณะที่สี่ มีในธรรมวินัยนี้. ลัทธิอื่น ว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น : ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบ อย่างนี้เถิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 968
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ.
    เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    มิจฉาปฏิปทานี้คือ
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #มิจฉาปฏิปทา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=มิจฺฉาปฏิปทา

    --ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    สัมมาปฏิปทานี้คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สัมมาปฏิปทา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/23/?keywords=สมฺมาปฏิปทา
    -
    [สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา ;
    ในสูตรอื่น
    (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    )
    ตรัสเรียกว่า #สัมมาปฏิบัติ ก็มี.อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา
    ในสูตรบางแห่ง
    (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    )

    ตรัสเรียก #ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี.

    (ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี -
    ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91
    ).
    เป็นอันว่า
    ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร
    ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ;
    ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง
    ]

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/65-67.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๕-๖๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=968
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 968 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น. --ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? มิจฉาปฏิปทานี้คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #มิจฉาปฏิปทา. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=มิจฺฉาปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? สัมมาปฏิปทานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สัมมาปฏิปทา. http://etipitaka.com/read/pali/19/23/?keywords=สมฺมาปฏิปทา - [สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา ; ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑ http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ) ตรัสเรียกว่า #สัมมาปฏิบัติ ก็มี.อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา ในสูตรบางแห่ง (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑ http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 ) ตรัสเรียก #ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี. (ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑ http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91 ). เป็นอันว่า ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ; ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง ] #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/65-67. http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๕-๖๗. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=968 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    -(ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์ พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม; แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน, และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย. เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้. อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่นจำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็น กัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง, ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น ซึ่งได้กล่าวไว้ในหมายเหตุท้ายหัวข้อนั้นๆ ที่หน้า ๑๔๑๙, ๑๔๒๑, ๑๔๕๘ แห่งหนังสือนี้ ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง, นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง). อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น. ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? มิจฉาปฏิปทานี้คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มิจฉาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? สัมมาปฏิปทานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สัมาปฏิปทา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 12 มุมมอง 0 รีวิว
  • เล่าเรื่อง #tiktokพี่หมอ #ท่องเที่ยว #วิถีไทย #นาเกลือ #บ้านแหลมเพชรบุรี #ไทย #amazingthailand #ว่างว่างก็แวะมา
    เล่าเรื่อง #tiktokพี่หมอ #ท่องเที่ยว #วิถีไทย #นาเกลือ #บ้านแหลมเพชรบุรี #ไทย #amazingthailand #ว่างว่างก็แวะมา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 4 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 4 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 4 มุมมอง 0 รีวิว