• https://youtube.com/shorts/n_d6zROsQQk?si=Bpy2I8FPzOGtBz4u
    https://youtube.com/shorts/n_d6zROsQQk?si=Bpy2I8FPzOGtBz4u
    0 Comments 0 Shares 22 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/hxKbncqjD2s?si=kVLkn7TM5rWYJUh8
    https://youtube.com/shorts/hxKbncqjD2s?si=kVLkn7TM5rWYJUh8
    0 Comments 0 Shares 24 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/1BLTrhFjrww?si=QGBdJt8EgkQ1YwQA
    https://youtube.com/shorts/1BLTrhFjrww?si=QGBdJt8EgkQ1YwQA
    0 Comments 0 Shares 28 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/QB06cGSk4FE?si=Tu09oqr2OHMuMcBx
    https://youtube.com/shorts/QB06cGSk4FE?si=Tu09oqr2OHMuMcBx
    0 Comments 0 Shares 36 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/QanNh2vT-Aw?si=xDL4zs7zpZVlGzgY
    https://youtube.com/shorts/QanNh2vT-Aw?si=xDL4zs7zpZVlGzgY
    0 Comments 0 Shares 40 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/dhVgtSzLRPc?si=Sgf9pTC0ejw071O6
    https://youtube.com/shorts/dhVgtSzLRPc?si=Sgf9pTC0ejw071O6
    0 Comments 0 Shares 34 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/LhAizLL2snI?si=6rAQRyGwrQWo8QBQ
    https://youtube.com/shorts/LhAizLL2snI?si=6rAQRyGwrQWo8QBQ
    0 Comments 0 Shares 40 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/4sMOvlhk4QA?si=PjSe-DmibA8Igxe2
    https://youtube.com/shorts/4sMOvlhk4QA?si=PjSe-DmibA8Igxe2
    0 Comments 0 Shares 31 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/tnLJhLClV3E?si=d2DaWCwZha0CoHy7
    https://youtube.com/shorts/tnLJhLClV3E?si=d2DaWCwZha0CoHy7
    0 Comments 0 Shares 31 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/13eYMcgbWUc?si=RyVrAkSaF6UmIu8N
    https://youtu.be/13eYMcgbWUc?si=RyVrAkSaF6UmIu8N
    0 Comments 0 Shares 39 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/sBt7e9ZiVLc?si=yRKy3f_wbU2zJLk0
    https://youtu.be/sBt7e9ZiVLc?si=yRKy3f_wbU2zJLk0
    0 Comments 0 Shares 27 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/sBt7e9ZiVLc?si=yRKy3f_wbU2zJLk0
    https://youtu.be/sBt7e9ZiVLc?si=yRKy3f_wbU2zJLk0
    0 Comments 0 Shares 27 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/YPnL6EXxP5U?si=pbSM-eKuv65VBcj8
    https://youtu.be/YPnL6EXxP5U?si=pbSM-eKuv65VBcj8
    0 Comments 0 Shares 35 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/AeWqEBy298I?si=ZgG_6TCT0b5SZ2wq
    https://youtu.be/AeWqEBy298I?si=ZgG_6TCT0b5SZ2wq
    0 Comments 0 Shares 37 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/hNloSb5r204?si=76JT_2i_YxyfPej8
    https://youtube.com/shorts/hNloSb5r204?si=76JT_2i_YxyfPej8
    0 Comments 0 Shares 35 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/axu_GJB7jIg?si=VV4g-JeEABtWhNSx
    https://youtu.be/axu_GJB7jIg?si=VV4g-JeEABtWhNSx
    0 Comments 0 Shares 35 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/IaSq77W-VJ0?si=K_VygAMV8OIO3zjd
    https://youtube.com/shorts/IaSq77W-VJ0?si=K_VygAMV8OIO3zjd
    0 Comments 0 Shares 33 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/wqp2LQTbEBg?si=QDZscHr3XIxg3txP
    https://youtube.com/shorts/wqp2LQTbEBg?si=QDZscHr3XIxg3txP
    0 Comments 0 Shares 33 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/-9HgfMDSzmg?si=p9L8u_D4qJdQoTEJ
    https://youtube.com/shorts/-9HgfMDSzmg?si=p9L8u_D4qJdQoTEJ
    0 Comments 0 Shares 34 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/X9cxyuQbqsw?si=-wl8mbICfU5c5G9e
    https://youtu.be/X9cxyuQbqsw?si=-wl8mbICfU5c5G9e
    0 Comments 0 Shares 37 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/YKVtxtIudls?si=BqP6wKw-bi1tlJAf
    https://youtube.com/shorts/YKVtxtIudls?si=BqP6wKw-bi1tlJAf
    0 Comments 0 Shares 41 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/zTyztN0g2ng?si=MgDLaFaew1nlDAPL
    https://youtube.com/shorts/zTyztN0g2ng?si=MgDLaFaew1nlDAPL
    0 Comments 0 Shares 50 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 153
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
    ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
    --สัญญาหกประการ
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ
    สัญญาในรูป,
    สัญญาในเสียง,
    สัญญาในกลิ่น,
    สัญญาในรส,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153

    สัทธรรมลำดับที่ : 154
    ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา”
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “สัญญา”
    --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา
    สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ?
    สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง,
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง,
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ
    ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง
    (ดังนี้เป็นต้น).
    ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154

    สัทธรรมลำดับที่ : 155
    ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งสัญญา
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่,
    ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา
    เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง
    มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 153 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153 ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์ --สัญญาหกประการ --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ สัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153 สัทธรรมลำดับที่ : 154 ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา” เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “สัญญา” --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง, ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง, ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง (ดังนี้เป็นต้น). ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154 สัทธรรมลำดับที่ : 155 ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งสัญญา --ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่, ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ; ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244. http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
    -๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์ สัญญาหก ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ สัญญาในรูป, สัญญาในเสียง, สัญญาในกลิ่น, สัญญาในรส, สัญญาในโผฏฐัพพะ, และสัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สัญญา.
    0 Comments 0 Shares 166 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากายนครที่ปลอดภัย
    สัทธรรมลำดับที่ : 589
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589
    ชื่อบทธรรม :- กายนครที่ปลอดภัย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กายนครที่ปลอดภัย
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ
    และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม,
    ในกาลใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้เรียกได้ว่า เป็นผู้ที่มารอันมีบาปกระทำอะไรไม่ได้.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีเสาระเนียดอันมีรากลึก ฝังไว้ดี ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน
    สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตว่า
    “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น.... ฯลฯ .... เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้จำแนกธรรม”
    ดังนี้,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มี ๑.สัทธา เป็นเสาระเนียด
    ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษเจริญกรรมอันไม่มีโทษ
    บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หนึ่ง.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=สทฺโธ+ตถาคต

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีคูรอบทั้งลึกและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๒.หิริ
    ละอายต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
    ละอายต่อการถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีหิริเป็นคูล้อมรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล
    ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรม อันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่,
    ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=หิริ

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเชิงเทินเดินรอบ
    ทั้งสูงและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๓.โอตตัปปะ
    สะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
    สะดุ้งกลัวต่อความถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีโอตตัปปะเป็นเชิงเทินเดินรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล
    ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สาม.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=โอตฺตปฺ

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีอาวุธอันสั่งสมไว้เป็นอันมาก
    ทั้งชนิดที่ใช้ประหารใกล้ตัวและประหารไกลตัว
    สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๔.สุตะ
    อันตนสดับแล้วมาก ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ,
    ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด
    ที่เป็นการประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง
    พร้อมทั้งอรรถะพร้อมทั้งพยัญชนะ,
    ธรรมมีรูปเห็นปานนั้น อันเขาสดับแล้วมาก
    ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ.
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสุตะเป็นอาวุธ
    ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ
    เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่า ผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สี่.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=สุตา+พหุสฺสุโต

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกองพลประจำอยู่เป็นอันมาก
    คือกองช้าง กองม้า กองรถ กองธนู กองจัดธงประจำกอง กองเสนาธิการ กองพลาธิการ กองอุคคโยธี กองราชบุตร กองจู่โจมกองมหานาค กองคนกล้า กองโล้ไม้ กองเกราะโล้หนัง กองทาสกบุตร สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +-ภิกษุ ท. ! อริยสาวกมี ๕.ความเพียร(วิริยะ)​อันปรารภแล้ว
    เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม
    มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีวิริยะเป็นพลกาย
    ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ
    เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่ห้า.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=วิริยพลกาโย

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีนายทวาร
    ที่เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด มีปัญญา
    ห้ามเข้าแก่คนที่ไม่รู้จัก ให้เข้าแก่คนที่รู้จัก
    เพื่อคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๖.สติ
    ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษาอย่างยิ่ง
    ระลึกถึงตามระลึกถึงซึ่งกิจที่กระทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มี​สติเป็นนายทวาร ย่อมละอกุศล เจริญกุศล
    ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่ ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หก.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=สติโทวาริโก

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกำแพงทั้งสูงและกว้าง
    สมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ เพื่อคุ้มภัยในและป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๗.ปัญญา
    ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้
    อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ,
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีปัญญาเป็นความสมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ
    ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ
    เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่,
    ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่เจ็ด.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=ปญฺญาย

    --อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่(๔) อันประกอบในจิตอันยิ่ง
    เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เป็นอย่างไรเล่า ?
    ๑--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีหญ้า ไม้ และน้ำ สั่งสมไว้เป็นอันมาก
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตนเพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=นิพฺพานสฺส

    ๒--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีข้าวสาลีและข้าวยวะสะสมไว้เป็นอันมาก
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    เพราะความเข้าไปสงบระงับแห่งวิตกและวิจาร เข้าถึงทุติยฌาน
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส

    ๓--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีอปรัณณชาติ คืองา ถั่วเขียว ถั่วราชมาส เป็นต้น สั่งสมไว้เป็นอันมาก
    เพื่อความยินดีไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อันชนิดที่พระอริยเจ้ากล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า
    เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส

    ๔--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
    มีเภสัชสั่งสมไว้เป็นอันมาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย และเกลือ
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก,
    นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก
    เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้
    เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่
    เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน,
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส

    --อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม
    เหล่านี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้
    และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก
    ซึ่งฌานทั้งสี่(๔)อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม
    เหล่านี้ด้วย, ในกาลใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้
    เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่มารอันมีบาป กระทำอะไรไม่ได้.-
    (กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร.
    กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ;
    เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และ
    มีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้
    จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก
    แห่งพระบาลีนี้).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/87-93/64.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/87/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐๗-๑๑๓/๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/107/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=589
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษากายนครที่ปลอดภัย สัทธรรมลำดับที่ : 589 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589 ชื่อบทธรรม :- กายนครที่ปลอดภัย เนื้อความทั้งหมด :- --กายนครที่ปลอดภัย --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม, ในกาลใด ; --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้เรียกได้ว่า เป็นผู้ที่มารอันมีบาปกระทำอะไรไม่ได้. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเสาระเนียดอันมีรากลึก ฝังไว้ดี ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตว่า “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น.... ฯลฯ .... เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้จำแนกธรรม” ดังนี้, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มี ๑.สัทธา เป็นเสาระเนียด ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษเจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หนึ่ง. -http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=สทฺโธ+ตถาคต --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีคูรอบทั้งลึกและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๒.หิริ ละอายต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายต่อการถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีหิริเป็นคูล้อมรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรม อันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=หิริ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเชิงเทินเดินรอบ ทั้งสูงและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๓.โอตตัปปะ สะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุ้งกลัวต่อความถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีโอตตัปปะเป็นเชิงเทินเดินรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สาม. http://etipitaka.com/read/pali/23/110/?keywords=โอตฺตปฺ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอาวุธอันสั่งสมไว้เป็นอันมาก ทั้งชนิดที่ใช้ประหารใกล้ตัวและประหารไกลตัว สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มี ๔.สุตะ อันตนสดับแล้วมาก ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ, ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ที่เป็นการประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมทั้งอรรถะพร้อมทั้งพยัญชนะ, ธรรมมีรูปเห็นปานนั้น อันเขาสดับแล้วมาก ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ. +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสุตะเป็นอาวุธ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่า ผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สี่. -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=สุตา+พหุสฺสุโต --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกองพลประจำอยู่เป็นอันมาก คือกองช้าง กองม้า กองรถ กองธนู กองจัดธงประจำกอง กองเสนาธิการ กองพลาธิการ กองอุคคโยธี กองราชบุตร กองจู่โจมกองมหานาค กองคนกล้า กองโล้ไม้ กองเกราะโล้หนัง กองทาสกบุตร สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +-ภิกษุ ท. ! อริยสาวกมี ๕.ความเพียร(วิริยะ)​อันปรารภแล้ว เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีวิริยะเป็นพลกาย ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่ห้า. -http://etipitaka.com/read/pali/23/111/?keywords=วิริยพลกาโย --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีนายทวาร ที่เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด มีปัญญา ห้ามเข้าแก่คนที่ไม่รู้จัก ให้เข้าแก่คนที่รู้จัก เพื่อคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๖.สติ ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษาอย่างยิ่ง ระลึกถึงตามระลึกถึงซึ่งกิจที่กระทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มี​สติเป็นนายทวาร ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่ ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หก. http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=สติโทวาริโก --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกำแพงทั้งสูงและกว้าง สมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ เพื่อคุ้มภัยในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มี ๗.ปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้ อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ, +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีปัญญาเป็นความสมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่เจ็ด. http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=ปญฺญาย --อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้แล. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่(๔) อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เป็นอย่างไรเล่า ? ๑--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีหญ้า ไม้ และน้ำ สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตนเพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/112/?keywords=นิพฺพานสฺส ๒--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีข้าวสาลีและข้าวยวะสะสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความเข้าไปสงบระงับแห่งวิตกและวิจาร เข้าถึงทุติยฌาน อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส ๓--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอปรัณณชาติ คืองา ถั่วเขียว ถั่วราชมาส เป็นต้น สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดีไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อันชนิดที่พระอริยเจ้ากล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส ๔--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเภสัชสั่งสมไว้เป็นอันมาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย และเกลือ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. -http://etipitaka.com/read/pali/23/113/?keywords=นิพฺพานสฺส --อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้แล. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้ และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่(๔)อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้ด้วย, ในกาลใด ; --ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้ เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่มารอันมีบาป กระทำอะไรไม่ได้.- (กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร. กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ; เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และ มีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้ จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก แห่งพระบาลีนี้). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/87-93/64. http://etipitaka.com/read/thai/23/87/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐๗-๑๑๓/๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/23/107/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=589 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=589 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กายนครที่ปลอดภัย
    -กายนครที่ปลอดภัย ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม, ในกาลใด ; ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้เรียกได้ว่า เป็นผู้ที่มารอันมีบาปกระทำอะไรไม่ได้. ภิกษุ ท. ! อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเสาระเนียดอันมีรากลึก ฝังไว้ดี ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสัทธา เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตว่า “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น.... ฯลฯ .... เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้จำแนกธรรม” ดังนี้, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสัทธาเป็นเสาระเนียด ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษเจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หนึ่ง. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีคูรอบทั้งลึกและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีหิริ ละอายต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายต่อการถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีหิริเป็นคูล้อมรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรม อันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สอง. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเชิงเทินเดินรอบ ทั้งสูงและกว้าง สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีโอตตัปปะ สะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุ้งกลัวต่อความถึงพร้อมด้วยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีโอตตัปปะเป็นเชิงเทินเดินรอบ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สาม. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอาวุธอันสั่งสมไว้เป็นอันมาก ทั้งชนิดที่ใช้ประหารใกล้ตัวและประหารไกลตัว สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกก็มีสุตะ อันตนสดับแล้วมาก ทรงสุตะ สั่งสมสุตะ, ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ที่เป็นการประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมทั้งอรรถะพร้อมทั้งพยัญชนะ, ธรรมมีรูปเห็นปานนั้น อันเขาสดับแล้วมาก ทรงไว้ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสุตะเป็นอาวุธ ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่า ผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่สี่. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกองพลประจำอยู่เป็นอันมาก คือกองช้าง กองม้า กองรถ กองธนู กองจัดธงประจำกอง กองเสนาธิการ กองพลาธิการ กองอุคคโยธี กองราชบุตร กองจู่โจมกองมหานาค กองคนกล้า กองโล้ไม้ กองเกราะโล้หนัง กองทาสกบุตร สำหรับคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกมีความเพียรอันปรารภแล้ว เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อยังกุศลธรรมทั้งหลายให้ถึงพร้อม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีวิริยะเป็นพลกาย ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่. ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่ห้า. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีนายทวาร ที่เป็นบัณฑิต เฉลียวฉลาด มีปัญญา ห้ามเข้าแก่คนที่ไม่รู้จัก ให้เข้าแก่คนที่รู้จัก เพื่อคุ้มภัยในภายในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษาอย่างยิ่ง ระลึกถึง ตามระลึกถึงซึ่งกิจที่กระทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้ มีสติเป็นนายทวาร ย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่ ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่หก. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีกำแพงทั้งสูงและกว้าง สมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ เพื่อคุ้มภัยในและป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกเป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่องถึงธรรมสัจจะแห่งการตั้งขึ้นและการตั้งอยู่ไม่ได้ อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ, ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีปัญญาเป็นความสมบูรณ์ด้วยการก่อและการฉาบ ย่อมละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมอันมีโทษ เจริญกรรมอันไม่มีโทษ บริหารตนให้หมดจดอยู่, ฉันนั้นเหมือนกัน : นี้ชื่อว่าผู้ประกอบด้วย สัทธรรมประการที่เจ็ด. อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้แล. ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่ อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีหญ้า ไม้ และน้ำ สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตนเพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีข้าวสาลีและข้าวยวะสะสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความเข้าไปสงบระงับแห่งวิตกและวิจาร เข้าถึงทุติยฌาน อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีอปรัณณชาติ คืองา ถั่วเขียว ถั่วราชมาส เป็นต้น สั่งสมไว้เป็นอันมาก เพื่อความยินดีไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อันชนิดที่พระอริยเจ้า กล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีเภสัชสั่งสมไว้เป็นอันมาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย และเกลือเพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก ในภายใน เพื่อป้องกันในภายนอก, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวก เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสองในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ เพื่อความยินดี ไม่สะดุ้งกลัว อยู่เป็นผาสุก แห่งตน เพื่อก้าวลงสู่นิพพาน, ฉันนั้นเหมือนกัน. อริยสาวก เป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบากซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้แล. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกประกอบพร้อมด้วยสัทธรรม ๗ ประการเหล่านี้และเป็นผู้มีปกติได้ตามปรารถนา ได้ไม่ยาก ได้ไม่ลำบาก ซึ่งฌานทั้งสี่อันประกอบในจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม เหล่านี้ด้วย, ในกาลใด ; ภิกษุ ท. ! ในกาลนั้น อริยสาวกนี้ เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่มารอันมีบาป กระทำอะไรไม่ได้.
    0 Comments 0 Shares 244 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​--นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 957
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957
    ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ
    --นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    --วาเสฏฐะ ! เปรียบเหมือนแม่น้ำอจิรวดีนี้ มีน้ำเต็มเปี่ยม กายืนดื่มได้.
    ครั้งนั้น มีบุรุษคนหนึ่งมาถึงเข้า เขามีประโยชน์ที่ฝั่งโน้น
    แสวงหาฝั่งโน้น มีการไปสู่ฝั่งโน้น ประสงค์จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้น
    แต่เขานอนคลุมศีรษะของตนอยู่ที่ริมฝั่งนี้.
    --วาเสฏฐะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : บุรุษนั้นจะไปจากฝั่งในสู่ฝั่งนอกแห่งแม่น้ำอจิรวดีได้หรือหนอ ?
    “ไม่ได้แน่ ท่านพระโคดม !”
    --วาเสฏฐะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้เรียกกันในอริยวินัย
    http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=นีวรณา+ปญฺจ
    ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง.
    ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ
    กามฉันทนิวรณ์
    พ๎ยาปาทนิวรณ์
    ถีนมิทธนิวรณ์
    อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์
    วิจิกิจฉานิวรณ์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=วิจิกิจฺฉานีวรณํ
    --วาเสฏฐะ ! นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้แล ซึ่งเรียกกันในอริยวินัย
    ว่า “เครื่องปิด” บ้าง
    ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง
    ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง
    ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง.
    --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพททั้งหลาย ถูกนิวรณ์ ๕ อย่างเหล่านี้
    ปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว.
    --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพทเหล่านั้น
    ละธรรมะที่ทำความเป็นพราหมณ์เสีย
    สมาทานธรรมะที่ไม่ทำความเป็นพราหมณ์ดำรงชีวิตให้เป็นไปอยู่
    อัน นิวรณ์ทั้ง ๕ อย่างเปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว
    จักเป็นผู้เข้าถึงความเป็นสหายแห่งพรหม
    ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย
    ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/366-367/378-379.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๓๐๖-๓๐๗/๓๗๘-๓๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=957
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​--นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 957 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957 ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ --นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ --วาเสฏฐะ ! เปรียบเหมือนแม่น้ำอจิรวดีนี้ มีน้ำเต็มเปี่ยม กายืนดื่มได้. ครั้งนั้น มีบุรุษคนหนึ่งมาถึงเข้า เขามีประโยชน์ที่ฝั่งโน้น แสวงหาฝั่งโน้น มีการไปสู่ฝั่งโน้น ประสงค์จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้น แต่เขานอนคลุมศีรษะของตนอยู่ที่ริมฝั่งนี้. --วาเสฏฐะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นจะไปจากฝั่งในสู่ฝั่งนอกแห่งแม่น้ำอจิรวดีได้หรือหนอ ? “ไม่ได้แน่ ท่านพระโคดม !” --วาเสฏฐะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้เรียกกันในอริยวินัย http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=นีวรณา+ปญฺจ ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ กามฉันทนิวรณ์ พ๎ยาปาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์. http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=วิจิกิจฺฉานีวรณํ --วาเสฏฐะ ! นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้แล ซึ่งเรียกกันในอริยวินัย ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพททั้งหลาย ถูกนิวรณ์ ๕ อย่างเหล่านี้ ปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว. --วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพทเหล่านั้น ละธรรมะที่ทำความเป็นพราหมณ์เสีย สมาทานธรรมะที่ไม่ทำความเป็นพราหมณ์ดำรงชีวิตให้เป็นไปอยู่ อัน นิวรณ์ทั้ง ๕ อย่างเปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว จักเป็นผู้เข้าถึงความเป็นสหายแห่งพรหม ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/366-367/378-379. http://etipitaka.com/read/thai/9/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๓๐๖-๓๐๗/๓๗๘-๓๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=957 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=957 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ--นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ
    -(บาลีพระสูตรนี้ ได้ทำให้เกิดประเพณีสวดคิริมานนทสูตร ให้คนเจ็บฟัง เพื่อจะได้หายเจ็บไข้ เช่นเดียวกับโพชฌงคสูตร. บางคนอาจจะสงสัยว่า มิเป็นการผิดหลักกรรมหรือเหตุปัจจัยไปหรือ ที่ความทุกข์ดับไปโดยไม่มีการดับเหตุแห่งทุกข์ ตามหลักแห่งจตุราริยสัจ. ข้อนี้ขอให้เข้าใจว่า การฟังธรรมของพระคิริมานนท์ ทำให้มีธรรมปีติอย่างแรงกล้า อำนาจของธรรมปีตินั้นสามารถระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา ทุกขเวทนาจึงระงับไป ดุจดังว่าหายจากอาพาธ; กล่าวได้ว่ามีปัจจัยเพื่อการดับแห่งทุกข์อริยสัจ; ไม่ผิดไปจากกฎเกณฑ์แห่งกรรมหรือกฎเกณฑ์แห่งเหตุปัจจัยเลย; เป็นการดับทุกข์ได้วิธีหนึ่ง จึงนำข้อความนี้ มาใส่ไว้ในหมวดนี้). หมวด ฉ. ว่าด้วย โทษของการขาดสัมมาสมาธิ นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ วาเสฏฐะ ! เปรียบเหมือนแม่น้ำอจิรวดีนี้ มีน้ำเต็มเปี่ยม กายืนดื่มได้. ครั้งนั้น มีบุรุษคนหนึ่งมาถึงเข้า เขามีประโยชน์ที่ฝั่งโน้น แสวงหาฝั่งโน้น มีการไปสู่ฝั่งโน้น ประสงค์จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้น แต่เขานอนคลุมศีรษะของตนอยู่ที่ริมฝั่งนี้. วาเสฏฐะ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นจะไปจากฝั่งในสู่ฝั่งนอกแห่งแม่น้ำอจิรวดีได้หรือหนอ ? “ไม่ได้แน่ ท่านพระโคดม !” วาเสฏฐะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้เรียกกันในอริยวินัย ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่างคือ กามฉันทนิวรณ์ พ๎ยาปาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์. วาเสฏฐะ ! นิวรณ์ ๕ อย่าง เหล่านี้แล ซึ่งเรียกกันในอริยวินัย ว่า “เครื่องปิด” บ้าง ว่า “เครื่องกั้น” บ้าง ว่า “เครื่องคลุม” บ้าง ว่า “เครื่องร้อยรัด” บ้าง. วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพททั้งหลาย ถูกนิวรณ์ ๕ อย่างเหล่านี้ ปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว. วาเสฏฐะ ! พราหมณ์ไตรเพทเหล่านั้น ละธรรมะที่ทำความเป็นพราหมณ์เสีย สมาทานธรรมะที่ไม่ทำความเป็นพราหมณ์ดำรงชีวิตให้เป็นไปอยู่ อัน นิวรณ์ทั้ง ๕ อย่างเปิดแล้ว กั้นแล้ว คลุมแล้ว ร้อยรัดแล้ว จักเป็นผู้เข้าถึงความเป็นสหายแห่งพรหม ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้.
    0 Comments 0 Shares 162 Views 0 Reviews