• เพื่อไทย 888 กาสิโนสุดซอย

    การประชุมสภาผู้แทนราษฎรนัดสุดท้าย ก่อนปิดสมัยประชุมสภาฯ สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง ในวันที่ 9 เม.ย. ที่จะถึงนี้ วาระที่สังคมกำลังจับตามอง คือการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ. .... หรือ เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ที่มีกาสิโนเป็นหลักใหญ่ใจความ หลังจากนายอนุสรณ์ เอี่ยมสะอาด สส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย เสนอเลื่อนขึ้นมาพิจารณาเป็นอันดับ 1 พร้อมกับร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม และร่าง พ.ร.บ.สร้างเสริมสังคมสันติสุข 4 ฉบับ เสมือนเหล้าพ่วงเบียร์ที่ต้องการบีบให้ สส. ยอมรับเพื่อแลกกับได้พิจารณาร่างกฎหมายที่ค้างในสภาฯ

    สื่อหลายค่ายรายงานว่า นายใหญ่อย่างอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตร บิดา น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้แจ้งแกนนำพรรคร่วมรัฐบาลโดยตรง ให้ สส.ในพรรคลงมติวาระรับหลักการ ร่าง พ.ร.บ.สถานบันเทิงครบวงจร หากพบว่าพรรคไหนแตกแถว ไม่เห็นชอบ จะพิจารณาให้ออกจากรัฐบาลทันที ท่ามกลางเสียง สส.ในสภาฯ จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจล่าสุด 319 เสียง พบว่ามีบางพรรคลังเลใจ เช่น พรรคประชาชาติ ที่มี สส.ในสภา 8 คนเป็นชาวมุสลิมจาก 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ก่อนหน้านี้ พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รมว.ยุติธรรม ยื่นหนังสือถึงประธานวิปรัฐบาล กังวลว่าอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อเยาวชนในเรื่องการละเว้นอบายมุข ตามคำสอนและหลักการของแต่ละศาสนา จึงเห็นควรให้มีบทบัญญัติที่คำนึงถึงหลักการดังกล่าวด้วย

    อย่างไรก็ตาม นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รมว.คลัง ให้สัมภาษณ์เครือเนชั่น มั่นใจว่าจะผ่านวาระรับหลักการ เตรียมตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ 31 คน เป็นประธานเอง คัดรายชื่อเอง เน้นคนเข้ามาทำงานจริง ตั้งตามจำนวนที่จำเป็น และให้พรรคร่วมรัฐบาลส่งคนที่มีภาพลักษณ์ดีไม่เข้ามาหาประโยชน์ คาดว่าจะเสนอพิจารณาวาระ 2-3 ในเดือน ก.ค.2568 รวมทั้งรัฐบาลตั้งเป้าผลักดันนโยบาย ตั้งสำนักงานคณะกรรมการนโยบายฯ ออกกฎหมายลูก อาจเปิดประมูลเพื่อให้เกิดการลงทุนได้ทันทีในรัฐบาลหน้า

    เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ชาวเน็ตต่างแห่ตั้งฉายาพรรคเพื่อไทยว่า "เพื่อไทย 888" ตอบโต้กรณีที่พรรคเพื่อไทยชี้แจงข้อกล่าวหาในการประชุมสภาฯ ว่า กาสิโนมาก่อนแผ่นดินไหวไม่เป็นความจริง อีกด้านหนึ่ง แม้การชุมนุมของเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฎิรูปประเทศไทย (คปท.) กลุ่ม ศปปส. และกองทัพธรรมยังไม่เป็นข่าวมากนัก แต่ก็พบว่าหลายองค์กรภาคประชาชนทั้งกลุ่มผู้นำทางศาสนา กลุ่มนักวิชาการ นักรัฐศาสตร์ ต่างออกแถลงการณ์ไม่เห็นด้วยกับกฎหมายเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ แม้จะห้ามไม่ได้ที่ฝ่ายรัฐบาลจะผลักดันกฎหมายฉบับนี้แบบสุดซอย ไม่สนใจเสียงคัดค้านก็ตาม

    #Newskit
    เพื่อไทย 888 กาสิโนสุดซอย การประชุมสภาผู้แทนราษฎรนัดสุดท้าย ก่อนปิดสมัยประชุมสภาฯ สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง ในวันที่ 9 เม.ย. ที่จะถึงนี้ วาระที่สังคมกำลังจับตามอง คือการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ. .... หรือ เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ที่มีกาสิโนเป็นหลักใหญ่ใจความ หลังจากนายอนุสรณ์ เอี่ยมสะอาด สส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย เสนอเลื่อนขึ้นมาพิจารณาเป็นอันดับ 1 พร้อมกับร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม และร่าง พ.ร.บ.สร้างเสริมสังคมสันติสุข 4 ฉบับ เสมือนเหล้าพ่วงเบียร์ที่ต้องการบีบให้ สส. ยอมรับเพื่อแลกกับได้พิจารณาร่างกฎหมายที่ค้างในสภาฯ สื่อหลายค่ายรายงานว่า นายใหญ่อย่างอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตร บิดา น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้แจ้งแกนนำพรรคร่วมรัฐบาลโดยตรง ให้ สส.ในพรรคลงมติวาระรับหลักการ ร่าง พ.ร.บ.สถานบันเทิงครบวงจร หากพบว่าพรรคไหนแตกแถว ไม่เห็นชอบ จะพิจารณาให้ออกจากรัฐบาลทันที ท่ามกลางเสียง สส.ในสภาฯ จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจล่าสุด 319 เสียง พบว่ามีบางพรรคลังเลใจ เช่น พรรคประชาชาติ ที่มี สส.ในสภา 8 คนเป็นชาวมุสลิมจาก 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ก่อนหน้านี้ พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รมว.ยุติธรรม ยื่นหนังสือถึงประธานวิปรัฐบาล กังวลว่าอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อเยาวชนในเรื่องการละเว้นอบายมุข ตามคำสอนและหลักการของแต่ละศาสนา จึงเห็นควรให้มีบทบัญญัติที่คำนึงถึงหลักการดังกล่าวด้วย อย่างไรก็ตาม นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รมว.คลัง ให้สัมภาษณ์เครือเนชั่น มั่นใจว่าจะผ่านวาระรับหลักการ เตรียมตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ 31 คน เป็นประธานเอง คัดรายชื่อเอง เน้นคนเข้ามาทำงานจริง ตั้งตามจำนวนที่จำเป็น และให้พรรคร่วมรัฐบาลส่งคนที่มีภาพลักษณ์ดีไม่เข้ามาหาประโยชน์ คาดว่าจะเสนอพิจารณาวาระ 2-3 ในเดือน ก.ค.2568 รวมทั้งรัฐบาลตั้งเป้าผลักดันนโยบาย ตั้งสำนักงานคณะกรรมการนโยบายฯ ออกกฎหมายลูก อาจเปิดประมูลเพื่อให้เกิดการลงทุนได้ทันทีในรัฐบาลหน้า เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ชาวเน็ตต่างแห่ตั้งฉายาพรรคเพื่อไทยว่า "เพื่อไทย 888" ตอบโต้กรณีที่พรรคเพื่อไทยชี้แจงข้อกล่าวหาในการประชุมสภาฯ ว่า กาสิโนมาก่อนแผ่นดินไหวไม่เป็นความจริง อีกด้านหนึ่ง แม้การชุมนุมของเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฎิรูปประเทศไทย (คปท.) กลุ่ม ศปปส. และกองทัพธรรมยังไม่เป็นข่าวมากนัก แต่ก็พบว่าหลายองค์กรภาคประชาชนทั้งกลุ่มผู้นำทางศาสนา กลุ่มนักวิชาการ นักรัฐศาสตร์ ต่างออกแถลงการณ์ไม่เห็นด้วยกับกฎหมายเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ แม้จะห้ามไม่ได้ที่ฝ่ายรัฐบาลจะผลักดันกฎหมายฉบับนี้แบบสุดซอย ไม่สนใจเสียงคัดค้านก็ตาม #Newskit
    Like
    Sad
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 329 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายอแรกของเรา
    รายอแรกของเรา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • 2.หวงรักกลับคืน EP1 ถึง EP100 จบเรื่อง
    2.หวงรักกลับคืน EP1 ถึง EP100 จบเรื่อง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 152 มุมมอง 15 0 รีวิว
  • 3.อัจฉริยะ พระชายา EP1 ถึง EP30 จบเรื่อง
    3.อัจฉริยะ พระชายา EP1 ถึง EP30 จบเรื่อง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 72 มุมมอง 4 0 รีวิว
  • 4.วิวาห์อลเวง EP1 ถึง EP90 จบเรื่อง
    4.วิวาห์อลเวง EP1 ถึง EP90 จบเรื่อง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 79 มุมมอง 4 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตัวอย่าง . วิธีสมัครเป็นสมาชิก SONDHITALK ในยูทูป
    ตัวอย่าง . วิธีสมัครเป็นสมาชิก SONDHITALK ในยูทูป
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 87 มุมมอง 6 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    สัทธรรมลำดับที่ : 147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น,
    ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม,
    หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป
    อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ
    อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม,
    หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน
    ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น.
    ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส).

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา
    อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้แล้ว
    เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์
    ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่
    อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ”
    ดังนี้.
    เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้
    ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย.
    ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส)
    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่
    คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก
    ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง.
    อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น
    ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน.

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้
    แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้
    อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล.
    --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147
    หรือ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ สัทธรรมลำดับที่ : 147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่ คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630. http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147 หรือ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    -เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้นเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขา ย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่าความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจาก เหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่าอุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 141 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่า ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 583
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    --ภิกษุ ท. !
    รูป ที่เห็น ด้วยตาก็ดี,
    เสียง ที่ฟัง ด้วยหูก็ดี,
    กลิ่น ที่ดม ด้วยจมูกก็ดี,
    รส ที่ลิ้ม ด้วยลิ้นก็ดี,
    โผฏฐัพพะ ที่สัมผัส ด้วยกายก็ดี, และ
    ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้ง ด้วยใจก็ดี,
    อัน
    เป็นสิ่งที่ น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ
    เป็นที่ ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่ เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และ
    เป็นที่ ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.
    ถ้าภิกษุใด
    ๑.ไม่เพลิดเพลิน ๒.ไม่พร่ำเพ้อถึง ๓.ไม่เมาหมกติดอกติดใจอยู่
    ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=อภินนฺทติ+รูป
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุอย่างนี้ เราเรียกว่า
    #เป็นผู้ไม่กลืนเบ็ดของมารได้ทำลายเบ็ดหักเบ็ด แหลกละเอียดแล้ว
    ไม่ถึงความวิบัติ ไม่ถึงความพินาศฉิบหาย ไม่เป็นผู้ที่มารใจบาป
    จะทำอะไรให้ได้ตามใจเลย ;
    ดังนี้แล.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/180/290.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๘/๒๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=583
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่า ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร สัทธรรมลำดับที่ : 583 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร --ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็น ด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟัง ด้วยหูก็ดี, กลิ่น ที่ดม ด้วยจมูกก็ดี, รส ที่ลิ้ม ด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัส ด้วยกายก็ดี, และ ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้ง ด้วยใจก็ดี, อัน เป็นสิ่งที่ น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่ เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และ เป็นที่ ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุใด ๑.ไม่เพลิดเพลิน ๒.ไม่พร่ำเพ้อถึง ๓.ไม่เมาหมกติดอกติดใจอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=อภินนฺทติ+รูป --ภิกษุ ท. ! ภิกษุอย่างนี้ เราเรียกว่า #เป็นผู้ไม่กลืนเบ็ดของมารได้ทำลายเบ็ดหักเบ็ด แหลกละเอียดแล้ว ไม่ถึงความวิบัติ ไม่ถึงความพินาศฉิบหาย ไม่เป็นผู้ที่มารใจบาป จะทำอะไรให้ได้ตามใจเลย ; ดังนี้แล. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/180/290. http://etipitaka.com/read/thai/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๘/๒๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/198/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=583 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=583 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร
    -ผู้ไม่กลืนเบ็ดของมาร ภิกษุ ท. ! รูป ที่เห็น ด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี, กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี, รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี, อันเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ เป็นที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่. ถ้าภิกษุใดไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำเพ้อถึง ไม่เมาหมกติดอกติดใจอยู่ ซึ่งอารมณ์มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุอย่างนี้ เราเรียกว่า เป็นผู้ไม่กลืนเบ็ดของมารได้ทำลายเบ็ดหักเบ็ดแหลกละเอียดแล้ว ไม่ถึงความวิบัติ ไม่ถึงความพินาศฉิบหาย ไม่เป็นผู้ที่มารใจบาป จะทำอะไรให้ได้ตามใจเลย ; ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 152 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/lUP63FE3knA?si=JXaYznFKmDk8czBn
    https://youtu.be/lUP63FE3knA?si=JXaYznFKmDk8czBn
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    ๑.ความรักเกิดจากความรัก
    ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก
    ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด
    ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง,
    มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ;
    บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า
    “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ
    ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ”
    ดังนี้ ;
    บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น.
    ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน
    http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.
    --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง
    &ทุติยฌาน ....
    &ตติยฌาน ....
    &จตุตถฌาน ....
    http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ
    แล้วแลอยู่;
    สมัยนั้น
    ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี,
    ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี,
    ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี.

    (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ
    ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก
    พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว”
    ).-

    ​#สัมมาสมาธิ​
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​ฌาน(สัมมาสมาธิ)​ระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 ชื่อบทธรรม :- ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เนื้อความทั้งหมด :- --ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ๑.ความรักเกิดจากความรัก ๒.ความเกลียดเกิดจากความรัก ๓.ความรักเกิดจากความเกลียด ๔.ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน http://etipitaka.com/read/pali/21/291/?keywords=ปฐม+ฌานํ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. --ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึง &ทุติยฌาน .... &ตติยฌาน .... &จตุตถฌาน .... http://etipitaka.com/read/pali/21/292/?keywords=จตุตฺถํ+ฌานํ แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “#ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ).- ​#สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/290-292/200. http://etipitaka.com/read/thai/21/202/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๙๐-๒๙๒/๒๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/290/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=954 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
    -(ในสูตรอื่น (ฉกฺก.อํ. ๒๒/๓๔๘/๒๙๖) ตรัสว่า การระลึกถึง ตถาคต ถึงพระธรรม ถึงพระสงฆ์ ถึงศีล ถึงจาคะ ถึงธรรมทำความเป็นเทวดา ๖ ประการนี้ ทำให้จิตไม่ถูกกลุ้มรุมด้วยราคะ-โทสะ-โมหะ เป็นจิตไปตรง ก้าวออก หลุดพ้น ออกจากตัณหาซึ่งเป็นการเปลื้องจิตออกมาเสียจากการครอบงำของกิเลส ด้วยเหมือนกัน; ผู้สนใจพึงอ่านดูจากที่มานั้น). ฌานระงับความรัก - เกลียดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! ธรรมารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. สี่ประการอย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ความรักเกิดจากความรัก ความเกลียดเกิดจากความรัก ความรักเกิดจากความเกลียด ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งเป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาน่ารักใคร่พอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความรัก. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความพอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่ารักใคร่พอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความรักให้เกิดขึ้นในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความรักเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ มีบุคคลซึ่งไม่เป็นที่ปรารถนารักใคร่พอใจของบุคคลคนหนึ่ง, มีบุคคลพวกอื่นมาประพฤติกระทำต่อบุคคลนั้น ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ ; บุคคลโน้นก็จะเกิดความไม่พอใจขึ้นมาอย่างนี้ว่า “บุคคลเหล่านั้นประพฤติกระทำต่อบุคคลที่เราไม่ปรารถนารักใคร่พอใจ ด้วยอาการที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่น่าพอใจ” ดังนี้ ; บุคคลนั้นชื่อว่า ย่อมทำความเกลียดให้เกิดในบุคคลเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ความเกลียดเกิดจากความเกลียด. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือธรรมารมณ์ ย่อมเกิดอยู่เป็น ๔ ประการ. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เข้าถึงทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน .... แล้วแลอยู่; สมัยนั้น ความรักใดที่เกิดจากความรัก ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความรัก ความเกลียดนั้นก็ไม่มี, ความรักใดที่เกิดจากความเกลียด ความรักนั้นก็ไม่มี, ความเกลียดใดที่เกิดจากความเกลียด ความเกลียดนั้นก็ไม่มี. (ข้อความตอนต่อไปจากนี้ กล่าวถึงการบรรลุวิมุตติ ซึ่งระงับความรักและความเกลียดอย่างถอนราก พึงดูรายละเอียดจากหัวข้อ ว่า “ผู้ถอนรากแห่งความรักและความเกลียดได้แล้ว” ที่หน้า ๖๓๗ แห่งหนังสือนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 153 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/rm_fB8BKsKM?si=KN-ALHyng16zm4ru
    https://youtu.be/rm_fB8BKsKM?si=KN-ALHyng16zm4ru
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/i4PfoHhvh_g?si=r8NjPeylyEg33GX3
    https://youtube.com/shorts/i4PfoHhvh_g?si=r8NjPeylyEg33GX3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว
  • เนทันนาฮูเดินทางถึงอเมริกาแล้ว สิ่งแรกที่เขาต้องการคือ "ต้องการให้สหรัฐทำสงครามกับอิหร่านอย่างเต็มรูปแบบ"

    สำนักข่าว Axios รายงานว่า เนทันยาฮูเชื่อว่าโอกาสที่สหรัฐและอิหร่านจะบรรลุข้อตกลงนิวเคลียร์นั้นน้อยมาก ดังนั้นเขาจะเสนอแนะต่อประธานาธิบดีทรัมป์ว่า "ข้อตกลงที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร" ในการประชุมที่ห้องโอวัลออฟฟิศในทำเนียบขาววันนี้

    จากข้อมูลที่สื่อได้รับ เนทันยาฮูจะแจ้งให้ทรัมป์ทราบว่าอิสราเอลต้องการให้อิหร่านเป็นไปใน "รูปแบบของลิเบีย" ซึ่งรวมถึงการปลดอาวุธนิวเคลียร์อิหร่านทั้งหมด
    เนทันนาฮูเดินทางถึงอเมริกาแล้ว สิ่งแรกที่เขาต้องการคือ "ต้องการให้สหรัฐทำสงครามกับอิหร่านอย่างเต็มรูปแบบ" สำนักข่าว Axios รายงานว่า เนทันยาฮูเชื่อว่าโอกาสที่สหรัฐและอิหร่านจะบรรลุข้อตกลงนิวเคลียร์นั้นน้อยมาก ดังนั้นเขาจะเสนอแนะต่อประธานาธิบดีทรัมป์ว่า "ข้อตกลงที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร" ในการประชุมที่ห้องโอวัลออฟฟิศในทำเนียบขาววันนี้ จากข้อมูลที่สื่อได้รับ เนทันยาฮูจะแจ้งให้ทรัมป์ทราบว่าอิสราเอลต้องการให้อิหร่านเป็นไปใน "รูปแบบของลิเบีย" ซึ่งรวมถึงการปลดอาวุธนิวเคลียร์อิหร่านทั้งหมด
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 137 มุมมอง 0 รีวิว
  • เกี่ยวกับฉนวนกาซา:

    ดูเหมือนว่าประธานาธิบดีทรัมป์ของสหรัฐฯ กำลังหว่านล้อมเนทันยาฮู โดยกล่าวถึงฉนวนกาซาว่าเป็น "อสังหาริมทรัพย์" และพูดถึงการที่สหรัฐฯ อาจควบคุมและเป็นเจ้าของฉนวนกาซา

    "คุณคงรู้ว่าผมรู้สึกอย่างไรกับฉนวนกาซา ผมคิดว่ามันเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่สำคัญมาก และผมคิดว่ามันเป็นสิ่งที่เรา(อเมริกา)ควรต้องเข้าไปเกี่ยวข้อง
    การมีกองกำลังรักษาสันติภาพอย่างสหรัฐฯอยู่ที่นั่นเพื่อคอยควบคุมและเป็นเจ้าของฉนวนกาซาจะเป็นเรื่องดี"
    เกี่ยวกับฉนวนกาซา: ดูเหมือนว่าประธานาธิบดีทรัมป์ของสหรัฐฯ กำลังหว่านล้อมเนทันยาฮู โดยกล่าวถึงฉนวนกาซาว่าเป็น "อสังหาริมทรัพย์" และพูดถึงการที่สหรัฐฯ อาจควบคุมและเป็นเจ้าของฉนวนกาซา "คุณคงรู้ว่าผมรู้สึกอย่างไรกับฉนวนกาซา ผมคิดว่ามันเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่สำคัญมาก และผมคิดว่ามันเป็นสิ่งที่เรา(อเมริกา)ควรต้องเข้าไปเกี่ยวข้อง การมีกองกำลังรักษาสันติภาพอย่างสหรัฐฯอยู่ที่นั่นเพื่อคอยควบคุมและเป็นเจ้าของฉนวนกาซาจะเป็นเรื่องดี"
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 164 มุมมอง 13 0 รีวิว
  • ระดับความเคารพที่รัฐบาลทรัมป์มอบให้เบนจามิน เนทันยาฮู ดูได้จากทีมเจ้าหน้าที่ระดับสูงในรัฐบาลทรัมป์ต้องออกมายืนเรียงแถวรอต้อนรับ

    ระดับความเคารพที่รัฐบาลทรัมป์มอบให้เบนจามิน เนทันยาฮู ดูได้จากทีมเจ้าหน้าที่ระดับสูงในรัฐบาลทรัมป์ต้องออกมายืนเรียงแถวรอต้อนรับ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 133 มุมมอง 19 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 34 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทรัมป์ประกาศว่าสหรัฐกำลังเจรจาโดยตรงกับอิหร่านเกี่ยวกับโครงการนิวเคลียร์ของพวกเขาในวันเสาร์นี้ ซึ่งจะเป็นการหาทางออกทางการทูต

    ทางด้านเนทันยาฮูยังแสดงความไม่เห็นด้วยเกี่ยวกับอิหร่าน โดยเน้นย้ำว่าอิหร่านไม่ควรได้รับอนุญาตให้ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ และเสนอทางออกทางการทูต "ในลักษณะเดียวกับที่สหรัฐทำในลิเบีย"
    ทรัมป์ประกาศว่าสหรัฐกำลังเจรจาโดยตรงกับอิหร่านเกี่ยวกับโครงการนิวเคลียร์ของพวกเขาในวันเสาร์นี้ ซึ่งจะเป็นการหาทางออกทางการทูต ทางด้านเนทันยาฮูยังแสดงความไม่เห็นด้วยเกี่ยวกับอิหร่าน โดยเน้นย้ำว่าอิหร่านไม่ควรได้รับอนุญาตให้ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ และเสนอทางออกทางการทูต "ในลักษณะเดียวกับที่สหรัฐทำในลิเบีย"
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 146 มุมมอง 17 0 รีวิว
  • เนทันยาฮู พูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ในซีเรีย:

    เราเคยมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนบ้านอย่างตุรกี แต่ตอนนี้ความสัมพันธ์กำลังเสื่อมทรามลง

    เราไม่ต้องการให้ซีเรียถูกใช้เป็นฐานในการโจมตีอิสราเอลโดยใครก็ตาม รวมถึงตุรกีด้วย ตุรกีเป็นประเทศที่มีความสัมพันธ์ที่ดีกับสหรัฐ ประธานาธิบดี (ทรัมป์) มีความสัมพันธ์กับประธานาธิบดีตุรกี (เออร์โดกัน) เรากำลังพูดคุยกันถึงวิธีต่างๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งนี้ ผมคิดว่าเราไม่สามารถหาคนกลางที่ดีไปกว่าประธานาธิบดีสหรัฐสำหรับจุดประสงค์นี้
    เนทันยาฮู พูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ในซีเรีย: เราเคยมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนบ้านอย่างตุรกี แต่ตอนนี้ความสัมพันธ์กำลังเสื่อมทรามลง เราไม่ต้องการให้ซีเรียถูกใช้เป็นฐานในการโจมตีอิสราเอลโดยใครก็ตาม รวมถึงตุรกีด้วย ตุรกีเป็นประเทศที่มีความสัมพันธ์ที่ดีกับสหรัฐ ประธานาธิบดี (ทรัมป์) มีความสัมพันธ์กับประธานาธิบดีตุรกี (เออร์โดกัน) เรากำลังพูดคุยกันถึงวิธีต่างๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งนี้ ผมคิดว่าเราไม่สามารถหาคนกลางที่ดีไปกว่าประธานาธิบดีสหรัฐสำหรับจุดประสงค์นี้
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 161 มุมมอง 18 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 27 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในระหว่างการประชุมทวิภาคีกับนายกรัฐมนตรีเนทันยาฮูของอิสราเอล ประธานาธิบดีทรัมป์ยังคงยืนยันแนวคิดในการย้ายชาวปาเลสไตน์ออกจากฉนวนกาซาไปยังประเทศอื่น ซึ่งเป็นการกวาดล้างชาติพันธุ์ในฉนวนกาซา

    ทางด้านเนทันยาฮูกล่าวเสริมว่า ฉนวนกาซาเป็นสถานที่ถูกปิดล้อม แต่ไม่ใช่อิสราเอลที่เป็นฝ่ายปิดล้อม เราเพียงต้องการให้ผู้อยู่อาศัย(ชั่วคราว)ในฉนวนกาซามีทางเลือกที่จะย้ายไปยังประเทศอื่นแค่นั้น
    ในระหว่างการประชุมทวิภาคีกับนายกรัฐมนตรีเนทันยาฮูของอิสราเอล ประธานาธิบดีทรัมป์ยังคงยืนยันแนวคิดในการย้ายชาวปาเลสไตน์ออกจากฉนวนกาซาไปยังประเทศอื่น ซึ่งเป็นการกวาดล้างชาติพันธุ์ในฉนวนกาซา ทางด้านเนทันยาฮูกล่าวเสริมว่า ฉนวนกาซาเป็นสถานที่ถูกปิดล้อม แต่ไม่ใช่อิสราเอลที่เป็นฝ่ายปิดล้อม เราเพียงต้องการให้ผู้อยู่อาศัย(ชั่วคราว)ในฉนวนกาซามีทางเลือกที่จะย้ายไปยังประเทศอื่นแค่นั้น
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 206 มุมมอง 17 0 รีวิว
  • หากวันวาน...ไม่ใช่ผู้รู้
    Cr.Wiwan
    หากวันวาน...ไม่ใช่ผู้รู้ Cr.Wiwan
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 37 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว