• กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ แถลงการณ์ประณามการโจมตีพลเรือนตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศร้ายแรง ส่งผลกระทบกลุ่มเปราะบาง-สวัสดิภาพทางสังคม-ความมั่นคงของมนุษย์

    MSDHS issued an official statement, Condemning the Attacks on Civilians along the Thai-Cambodian Border: Serious Violations of International Humanitarian Law with Adverse Impacts on Vulnerable People, Social Welfare, and Human Security.
    #cambodiaopenedFlre
    กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ แถลงการณ์ประณามการโจมตีพลเรือนตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศร้ายแรง ส่งผลกระทบกลุ่มเปราะบาง-สวัสดิภาพทางสังคม-ความมั่นคงของมนุษย์ MSDHS issued an official statement, Condemning the Attacks on Civilians along the Thai-Cambodian Border: Serious Violations of International Humanitarian Law with Adverse Impacts on Vulnerable People, Social Welfare, and Human Security. #cambodiaopenedFlre
    0 Comments 0 Shares 158 Views 0 0 Reviews
  • "วราวุธ" แถลงการณ์เดือด! ชี้กัมพูชาโจมตีพลเรือน-ทุ่นระเบิดทำทหารพิการ "ไม่ใช่แค่ละเมิดพรมแดน แต่คือละเมิดความเป็นมนุษย์"
    https://www.thai-tai.tv/news/20549/
    .
    #พม #วราวุธศิลปอาชา #ประณามกัมพูชา #อาชญากรรมสงคราม #ชายแดนไทยกัมพูชา #ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรม #พลเรือนเสียชีวิต #ทุ่นระเบิด #สิทธิเด็ก #ความมั่นคงของมนุษย์
    "วราวุธ" แถลงการณ์เดือด! ชี้กัมพูชาโจมตีพลเรือน-ทุ่นระเบิดทำทหารพิการ "ไม่ใช่แค่ละเมิดพรมแดน แต่คือละเมิดความเป็นมนุษย์" https://www.thai-tai.tv/news/20549/ . #พม #วราวุธศิลปอาชา #ประณามกัมพูชา #อาชญากรรมสงคราม #ชายแดนไทยกัมพูชา #ละเมิดกฎหมายมนุษยธรรม #พลเรือนเสียชีวิต #ทุ่นระเบิด #สิทธิเด็ก #ความมั่นคงของมนุษย์
    0 Comments 0 Shares 87 Views 0 Reviews
  • มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม มอบรถเข็นวีลแชร์ 100 คัน พร้อมค่าพาหนะแก่ผู้พิการด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม

    วันนี้ (วันอังคารที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2568) มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง นำโดย นายสุรพงศ์ เสรฐภักดี กรรมการและรองเหรัญญิก พร้อมด้วย นางสาวดวงชุตา ติยะพจนพรกุล ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายสังคมสงเคราะห์ และนางสาวศุภรัตน์ สมบัติเจริญไทย หัวหน้าแผนกส่งเสริมการศึกษาและอาชีพ นำทีมลงพื้นที่มอบรถเข็นวีลแชร์ให้แก่ผู้พิการด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม รวม 100 คันพร้อมค่าพาหนะ คนละ 500 บาท ในโครงการ ป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม รวมมูลค่าทั้งสิ้น 290,000 บาท (สองแสนเก้าหมื่นบาทถ้วน) เพื่อบรรเทาความยากลำบากในการดำรงชีวิตและเพื่อให้มีความสามารถในการช่วยเหลือตนเองได้ โดยมี นายกองเอก เสนีย์ มะโน รองผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วย นางสาวชลลดา ชนะศรีรัตนกุล พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดมหาสารคาม ร่วมในพิธี และคณะมูลนิธิมหาสารคามการกุศล “เต็กก่า” จีเสียงเกาะ เป็นผู้ประสานงานและร่วมในพิธี ณ มูลนิธิมหาสารคามการกุศล “เต็กก่า” จีเสียงเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
    .
    โครงการ ป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม โดยการมอบรถเข็นวีลแชร์นี้ เป็นส่วนหนึ่งที่มูลนิธิฯได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 โดยมูลนิธิฯ ได้กระจายความช่วยเหลือไปสู่ภาคต่างๆของประเทศไทยเรื่อยมา ซึ่งตลอดระยะเวลากว่า 115 ปี ที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ได้ขยายขอบข่ายโครงการต่าง ๆ ออกไปอย่างกว้างขวาง ไม่เพียงแต่บำบัดทุกข์ บำรุงสุข แก่ผู้ตกทุกข์ได้ยากโดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา เท่านั้น แต่ยังได้พัฒนาคุณภาพชีวิตอีกในหลายทาง เพื่อเป็นองค์กรสาธารณกุศลที่ช่วยเหลือประชาชนครบวงจรในทุกๆ ด้าน ต่อไป ดังปณิธาน “มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ช่วยชีวิต รักษาชีวิต สร้างชีวิต”
    .
    ติดตามข่าวสาร และกิจกรรมการช่วยเหลือของมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ได้ที่เว็บไซต์ www.pohtecktung.org และ เฟซบุ๊ก แฟนเพจ www.facebook.com/atpohtecktung
    .
    ## ป่อเต็กตึ๊ง ช่วยชีวิต รักษาชีวิต สร้างชีวิต ##
    #แอปพลิเคชันป่อเต็กตึ๊ง1418 #ช่วยจริงอุ่นใจแม้ในนาทีฉุกเฉิน
    มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม มอบรถเข็นวีลแชร์ 100 คัน พร้อมค่าพาหนะแก่ผู้พิการด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม วันนี้ (วันอังคารที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2568) มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง นำโดย นายสุรพงศ์ เสรฐภักดี กรรมการและรองเหรัญญิก พร้อมด้วย นางสาวดวงชุตา ติยะพจนพรกุล ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายสังคมสงเคราะห์ และนางสาวศุภรัตน์ สมบัติเจริญไทย หัวหน้าแผนกส่งเสริมการศึกษาและอาชีพ นำทีมลงพื้นที่มอบรถเข็นวีลแชร์ให้แก่ผู้พิการด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม รวม 100 คันพร้อมค่าพาหนะ คนละ 500 บาท ในโครงการ ป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม รวมมูลค่าทั้งสิ้น 290,000 บาท (สองแสนเก้าหมื่นบาทถ้วน) เพื่อบรรเทาความยากลำบากในการดำรงชีวิตและเพื่อให้มีความสามารถในการช่วยเหลือตนเองได้ โดยมี นายกองเอก เสนีย์ มะโน รองผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วย นางสาวชลลดา ชนะศรีรัตนกุล พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดมหาสารคาม ร่วมในพิธี และคณะมูลนิธิมหาสารคามการกุศล “เต็กก่า” จีเสียงเกาะ เป็นผู้ประสานงานและร่วมในพิธี ณ มูลนิธิมหาสารคามการกุศล “เต็กก่า” จีเสียงเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม . โครงการ ป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม โดยการมอบรถเข็นวีลแชร์นี้ เป็นส่วนหนึ่งที่มูลนิธิฯได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 โดยมูลนิธิฯ ได้กระจายความช่วยเหลือไปสู่ภาคต่างๆของประเทศไทยเรื่อยมา ซึ่งตลอดระยะเวลากว่า 115 ปี ที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ได้ขยายขอบข่ายโครงการต่าง ๆ ออกไปอย่างกว้างขวาง ไม่เพียงแต่บำบัดทุกข์ บำรุงสุข แก่ผู้ตกทุกข์ได้ยากโดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา เท่านั้น แต่ยังได้พัฒนาคุณภาพชีวิตอีกในหลายทาง เพื่อเป็นองค์กรสาธารณกุศลที่ช่วยเหลือประชาชนครบวงจรในทุกๆ ด้าน ต่อไป ดังปณิธาน “มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ช่วยชีวิต รักษาชีวิต สร้างชีวิต” . ติดตามข่าวสาร และกิจกรรมการช่วยเหลือของมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ได้ที่เว็บไซต์ www.pohtecktung.org และ เฟซบุ๊ก แฟนเพจ www.facebook.com/atpohtecktung . ## ป่อเต็กตึ๊ง ช่วยชีวิต รักษาชีวิต สร้างชีวิต ## #แอปพลิเคชันป่อเต็กตึ๊ง1418 #ช่วยจริงอุ่นใจแม้ในนาทีฉุกเฉิน
    0 Comments 0 Shares 588 Views 0 Reviews
  • มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม มอบรถเข็นวีลแชร์ 100 คัน พร้อมค่าพาหนะแก่ผู้พิการด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม

    วันนี้ (วันอังคารที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2568) มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง นำโดย นายสุรพงศ์ เสรฐภักดี กรรมการและรองเหรัญญิก พร้อมด้วย นางสาวดวงชุตา ติยะพจนพรกุล ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายสังคมสงเคราะห์ และนางสาวศุภรัตน์ สมบัติเจริญไทย หัวหน้าแผนกส่งเสริมการศึกษาและอาชีพ นำทีมลงพื้นที่มอบรถเข็นวีลแชร์ให้แก่ผู้พิการด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม รวม 100 คันพร้อมค่าพาหนะ คนละ 500 บาท ในโครงการ ป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม รวมมูลค่าทั้งสิ้น 290,000 บาท (สองแสนเก้าหมื่นบาทถ้วน) เพื่อบรรเทาความยากลำบากในการดำรงชีวิตและเพื่อให้มีความสามารถในการช่วยเหลือตนเองได้ โดยมี นายกองเอก เสนีย์ มะโน รองผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วย นางสาวชลลดา ชนะศรีรัตนกุล พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดมหาสารคาม ร่วมในพิธี และคณะมูลนิธิมหาสารคามการกุศล “เต็กก่า” จีเสียงเกาะ เป็นผู้ประสานงานและร่วมในพิธี ณ มูลนิธิมหาสารคามการกุศล “เต็กก่า” จีเสียงเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
    .
    โครงการ ป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม โดยการมอบรถเข็นวีลแชร์นี้ เป็นส่วนหนึ่งที่มูลนิธิฯได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 โดยมูลนิธิฯ ได้กระจายความช่วยเหลือไปสู่ภาคต่างๆของประเทศไทยเรื่อยมา ซึ่งตลอดระยะเวลากว่า 115 ปี ที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ได้ขยายขอบข่ายโครงการต่าง ๆ ออกไปอย่างกว้างขวาง ไม่เพียงแต่บำบัดทุกข์ บำรุงสุข แก่ผู้ตกทุกข์ได้ยากโดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา เท่านั้น แต่ยังได้พัฒนาคุณภาพชีวิตอีกในหลายทาง เพื่อเป็นองค์กรสาธารณกุศลที่ช่วยเหลือประชาชนครบวงจรในทุกๆ ด้าน ต่อไป ดังปณิธาน “มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ช่วยชีวิต รักษาชีวิต สร้างชีวิต”
    .
    ติดตามข่าวสาร และกิจกรรมการช่วยเหลือของมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ได้ที่เว็บไซต์ www.pohtecktung.org และ เฟซบุ๊ก แฟนเพจ www.facebook.com/atpohtecktung
    .
    ## ป่อเต็กตึ๊ง ช่วยชีวิต รักษาชีวิต สร้างชีวิต ##
    #แอปพลิเคชันป่อเต็กตึ๊ง1418 #ช่วยจริงอุ่นใจแม้ในนาทีฉุกเฉิน
    มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม มอบรถเข็นวีลแชร์ 100 คัน พร้อมค่าพาหนะแก่ผู้พิการด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม วันนี้ (วันอังคารที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2568) มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง นำโดย นายสุรพงศ์ เสรฐภักดี กรรมการและรองเหรัญญิก พร้อมด้วย นางสาวดวงชุตา ติยะพจนพรกุล ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายสังคมสงเคราะห์ และนางสาวศุภรัตน์ สมบัติเจริญไทย หัวหน้าแผนกส่งเสริมการศึกษาและอาชีพ นำทีมลงพื้นที่มอบรถเข็นวีลแชร์ให้แก่ผู้พิการด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม รวม 100 คันพร้อมค่าพาหนะ คนละ 500 บาท ในโครงการ ป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม รวมมูลค่าทั้งสิ้น 290,000 บาท (สองแสนเก้าหมื่นบาทถ้วน) เพื่อบรรเทาความยากลำบากในการดำรงชีวิตและเพื่อให้มีความสามารถในการช่วยเหลือตนเองได้ โดยมี นายกองเอก เสนีย์ มะโน รองผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วย นางสาวชลลดา ชนะศรีรัตนกุล พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดมหาสารคาม ร่วมในพิธี และคณะมูลนิธิมหาสารคามการกุศล “เต็กก่า” จีเสียงเกาะ เป็นผู้ประสานงานและร่วมในพิธี ณ มูลนิธิมหาสารคามการกุศล “เต็กก่า” จีเสียงเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม . โครงการ ป่อเต็กตึ๊ง สงเคราะห์สังคม โดยการมอบรถเข็นวีลแชร์นี้ เป็นส่วนหนึ่งที่มูลนิธิฯได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 โดยมูลนิธิฯ ได้กระจายความช่วยเหลือไปสู่ภาคต่างๆของประเทศไทยเรื่อยมา ซึ่งตลอดระยะเวลากว่า 115 ปี ที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ได้ขยายขอบข่ายโครงการต่าง ๆ ออกไปอย่างกว้างขวาง ไม่เพียงแต่บำบัดทุกข์ บำรุงสุข แก่ผู้ตกทุกข์ได้ยากโดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา เท่านั้น แต่ยังได้พัฒนาคุณภาพชีวิตอีกในหลายทาง เพื่อเป็นองค์กรสาธารณกุศลที่ช่วยเหลือประชาชนครบวงจรในทุกๆ ด้าน ต่อไป ดังปณิธาน “มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ช่วยชีวิต รักษาชีวิต สร้างชีวิต” . ติดตามข่าวสาร และกิจกรรมการช่วยเหลือของมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ได้ที่เว็บไซต์ www.pohtecktung.org และ เฟซบุ๊ก แฟนเพจ www.facebook.com/atpohtecktung . ## ป่อเต็กตึ๊ง ช่วยชีวิต รักษาชีวิต สร้างชีวิต ## #แอปพลิเคชันป่อเต็กตึ๊ง1418 #ช่วยจริงอุ่นใจแม้ในนาทีฉุกเฉิน
    0 Comments 0 Shares 554 Views 0 Reviews
  • 'ลูกท็อป' ไม่ปลื้ม โดนบีบแลกกระทรวง ยันขอทำงานร่วมทุกฝ่าย
    .
    กระแสข่าวการปรับคณะรัฐมนตรีแรงขึ้นมาทุกขณะ คราวนี้มีหวยมาออกที่พรรคชาติไทยพัฒนา ภายหลังมีรายงานว่านายวราวุธ ศิลปอาชา หัวหน้าพรรค อาจโดนโยกจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงของมนุษย์มาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งบ้านใหญ่สุพรรณบุรีดูจะไม่ปลื้มเท่าใดนัก
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000036914

    #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    'ลูกท็อป' ไม่ปลื้ม โดนบีบแลกกระทรวง ยันขอทำงานร่วมทุกฝ่าย . กระแสข่าวการปรับคณะรัฐมนตรีแรงขึ้นมาทุกขณะ คราวนี้มีหวยมาออกที่พรรคชาติไทยพัฒนา ภายหลังมีรายงานว่านายวราวุธ ศิลปอาชา หัวหน้าพรรค อาจโดนโยกจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงของมนุษย์มาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งบ้านใหญ่สุพรรณบุรีดูจะไม่ปลื้มเท่าใดนัก . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000036914 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    Haha
    15
    0 Comments 0 Shares 1254 Views 0 Reviews
  • รองอธิบดีดีเอสไอ เผยการประชุมคณะอนุกรรมการฯ ประชุมแนวทางพิจารณาคดีฮั้ว สว. พบเข้าข่ายความผิด "อั้งยี่-ฟอกเงิน-ม.116" เสนอบอร์ด กคพ. รับ-ไม่รับคดีพิเศษ

    วันนี้ (3 มี.ค.) เวลา 13.00 น. ที่ ห้องประชุม ชั้น 1 อาคารกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร คณะอนุกรรมการกลั่นกรองด้านอาชญากรรมระหว่างประเทศและอาชญากรรมพิเศษ นำโดย ร.ต.อ.สุรวุฒิ รังไสย์ รองอธิบดีดีเอสไอ ในฐานะประธานอนุกรรมการ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ดีเอสไอ และบุคลากรผู้แทนจาก 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด (อสส.) ผู้แทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตร.) ผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ (กต.) และผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ในฐานะอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุม

    เนื่องด้วยในการประชุมบอร์ดคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) วันที่ 25 ก.พ.ที่ผ่านมา มีการพิจารณาเพื่อมีมติให้คดีความผิดทางอาญาอื่นเป็นคดีพิเศษ โดยที่ประชุมมีความเห็นเกี่ยวกับกรณีร้องขอให้ตรวจสอบกระบวนการเลือกสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2567 ในประเด็นพิจารณาเกี่ยวกับอำนาจในการดำเนินการตามมาตรา 49 แห่ง พ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2560 ว่าเป็นอำนาจของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) หรือเป็นอำนาจของเลขาธิการคณะกรรมการเลือกตั้ง จึงมีมติให้คณะพนักงานสืบสวน กรมสอบสวนคดีพิเศษไปดำเนินการในประเด็นดังกล่าวเพิ่มเติม และดำเนินการเสนอเรื่องผ่านคณะอนุกรรมการกลั่นกรองด้านอาชญากรรมระหว่างประเทศและอาชญากรรมพิเศษ ของกรมสอบสวนคดีพิเศษดำเนินการ ก่อนนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) อีกครั้งในการประชุมครั้งที่ 3/2568 วันที่ 6 มี.ค. เพื่อให้คณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) พิจารณามีมติต่อไป

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/crime/detail/9680000020716

    #MGROnline #ดีเอสไอ #สมาชิกวุฒิสภา
    รองอธิบดีดีเอสไอ เผยการประชุมคณะอนุกรรมการฯ ประชุมแนวทางพิจารณาคดีฮั้ว สว. พบเข้าข่ายความผิด "อั้งยี่-ฟอกเงิน-ม.116" เสนอบอร์ด กคพ. รับ-ไม่รับคดีพิเศษ • วันนี้ (3 มี.ค.) เวลา 13.00 น. ที่ ห้องประชุม ชั้น 1 อาคารกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร คณะอนุกรรมการกลั่นกรองด้านอาชญากรรมระหว่างประเทศและอาชญากรรมพิเศษ นำโดย ร.ต.อ.สุรวุฒิ รังไสย์ รองอธิบดีดีเอสไอ ในฐานะประธานอนุกรรมการ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ดีเอสไอ และบุคลากรผู้แทนจาก 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด (อสส.) ผู้แทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตร.) ผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ (กต.) และผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ในฐานะอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุม • เนื่องด้วยในการประชุมบอร์ดคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) วันที่ 25 ก.พ.ที่ผ่านมา มีการพิจารณาเพื่อมีมติให้คดีความผิดทางอาญาอื่นเป็นคดีพิเศษ โดยที่ประชุมมีความเห็นเกี่ยวกับกรณีร้องขอให้ตรวจสอบกระบวนการเลือกสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2567 ในประเด็นพิจารณาเกี่ยวกับอำนาจในการดำเนินการตามมาตรา 49 แห่ง พ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2560 ว่าเป็นอำนาจของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) หรือเป็นอำนาจของเลขาธิการคณะกรรมการเลือกตั้ง จึงมีมติให้คณะพนักงานสืบสวน กรมสอบสวนคดีพิเศษไปดำเนินการในประเด็นดังกล่าวเพิ่มเติม และดำเนินการเสนอเรื่องผ่านคณะอนุกรรมการกลั่นกรองด้านอาชญากรรมระหว่างประเทศและอาชญากรรมพิเศษ ของกรมสอบสวนคดีพิเศษดำเนินการ ก่อนนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) อีกครั้งในการประชุมครั้งที่ 3/2568 วันที่ 6 มี.ค. เพื่อให้คณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) พิจารณามีมติต่อไป • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/crime/detail/9680000020716 • #MGROnline #ดีเอสไอ #สมาชิกวุฒิสภา
    0 Comments 0 Shares 666 Views 0 Reviews
  • Nokia และ NASA ร่วมมือกันในการปฏิวัติการสำรวจดวงจันทร์ด้วยการเปิดตัวเครือข่ายมือถือ 4G ครั้งแรกบนดวงจันทร์

    ย้อนกลับไปในอดีต Nokia เป็นหนึ่งในผู้นำในตลาดมือถือ แต่จากการแข่งขันและความต้องการที่เปลี่ยนไปของผู้บริโภค Nokia จึงได้เปลี่ยนตัวเองมาเน้นที่การเป็นผู้นำทางด้านการเชื่อมต่อทั่วโลก และในครั้งนี้บริษัทกำลังก้าวสู่ยุคใหม่ด้วยการเป็นบริษัทแรกที่นำเทคโนโลยี 4G ไปติดตั้งบนดวงจันทร์

    เครือข่าย 4G LTE ของ Nokia จะถูกนำไปใช้ในภารกิจ IM-2 ของ NASA ซึ่งเป็นภารกิจที่มุ่งเน้นการสร้างพื้นฐานสำหรับการสำรวจอวกาศในอนาคตและการติดต่อสื่อสารแบบเรียลไทม์ การติดตั้งนี้จะเป็นก้าวสำคัญสำหรับภารกิจของ NASA ในการสร้างความมั่นคงของมนุษย์บนดวงจันทร์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม Artemis

    เทคโนโลยีนี้จะช่วยเพิ่มความสามารถในการสื่อสารสำหรับภารกิจอวกาศในอนาคตและสร้างพื้นฐานสำหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างดาวเคราะห์ นอกจากนี้ยังช่วยให้ข้อมูลสามารถถูกส่งผ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

    ยานลงจอด Athena ของ Intuitive Machines ซึ่งนำเครือข่ายของ Nokia ขึ้นไปได้ถูกปล่อยตัวเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ และกำลังมุ่งหน้าไปยังขั้วใต้ของดวงจันทร์โดยมีกำหนดจะลงจอดในวันที่ 6 มีนาคม 2025 เมื่อยานลงจอดสำเร็จ Nokia จะทำการเปิดใช้งานระบบสื่อสารบนพื้นผิวดวงจันทร์เพื่อเริ่มต้นเครือข่าย 4G/LTE ซึ่งจะช่วยสร้างช่องทางการสื่อสารที่เสถียร

    เครือข่ายนี้ได้รับการออกแบบให้สามารถรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการสร้างเครือข่ายการสื่อสารบนดวงจันทร์ โดยยาน Athena จะเชื่อมต่อกับยานหุ่นยนต์สองตัวคือ MAPP Rover และ Micro Nova Hopper Drone ซึ่งจะช่วยรักษาการเชื่อมต่อเครือข่ายให้เสถียร

    แนวทางของ Nokia ในการนำเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือมาใช้ในการสำรวจอวกาศเป็นสิ่งที่น่ายกย่องและจะช่วยสร้างความโดดเด่นให้กับบริษัท

    https://wccftech.com/nokia-and-nasa-are-revolutionizing-lunar-exploration-with-the-launch-of-the-first-mobile-network-on-the-moon/
    Nokia และ NASA ร่วมมือกันในการปฏิวัติการสำรวจดวงจันทร์ด้วยการเปิดตัวเครือข่ายมือถือ 4G ครั้งแรกบนดวงจันทร์ ย้อนกลับไปในอดีต Nokia เป็นหนึ่งในผู้นำในตลาดมือถือ แต่จากการแข่งขันและความต้องการที่เปลี่ยนไปของผู้บริโภค Nokia จึงได้เปลี่ยนตัวเองมาเน้นที่การเป็นผู้นำทางด้านการเชื่อมต่อทั่วโลก และในครั้งนี้บริษัทกำลังก้าวสู่ยุคใหม่ด้วยการเป็นบริษัทแรกที่นำเทคโนโลยี 4G ไปติดตั้งบนดวงจันทร์ เครือข่าย 4G LTE ของ Nokia จะถูกนำไปใช้ในภารกิจ IM-2 ของ NASA ซึ่งเป็นภารกิจที่มุ่งเน้นการสร้างพื้นฐานสำหรับการสำรวจอวกาศในอนาคตและการติดต่อสื่อสารแบบเรียลไทม์ การติดตั้งนี้จะเป็นก้าวสำคัญสำหรับภารกิจของ NASA ในการสร้างความมั่นคงของมนุษย์บนดวงจันทร์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม Artemis เทคโนโลยีนี้จะช่วยเพิ่มความสามารถในการสื่อสารสำหรับภารกิจอวกาศในอนาคตและสร้างพื้นฐานสำหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างดาวเคราะห์ นอกจากนี้ยังช่วยให้ข้อมูลสามารถถูกส่งผ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ยานลงจอด Athena ของ Intuitive Machines ซึ่งนำเครือข่ายของ Nokia ขึ้นไปได้ถูกปล่อยตัวเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ และกำลังมุ่งหน้าไปยังขั้วใต้ของดวงจันทร์โดยมีกำหนดจะลงจอดในวันที่ 6 มีนาคม 2025 เมื่อยานลงจอดสำเร็จ Nokia จะทำการเปิดใช้งานระบบสื่อสารบนพื้นผิวดวงจันทร์เพื่อเริ่มต้นเครือข่าย 4G/LTE ซึ่งจะช่วยสร้างช่องทางการสื่อสารที่เสถียร เครือข่ายนี้ได้รับการออกแบบให้สามารถรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการสร้างเครือข่ายการสื่อสารบนดวงจันทร์ โดยยาน Athena จะเชื่อมต่อกับยานหุ่นยนต์สองตัวคือ MAPP Rover และ Micro Nova Hopper Drone ซึ่งจะช่วยรักษาการเชื่อมต่อเครือข่ายให้เสถียร แนวทางของ Nokia ในการนำเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือมาใช้ในการสำรวจอวกาศเป็นสิ่งที่น่ายกย่องและจะช่วยสร้างความโดดเด่นให้กับบริษัท https://wccftech.com/nokia-and-nasa-are-revolutionizing-lunar-exploration-with-the-launch-of-the-first-mobile-network-on-the-moon/
    WCCFTECH.COM
    Nokia And NASA Are Revolutionizing Lunar Exploration With The Launch Of The First Mobile Network On The Moon
    Nokia is deploying its 4G/LTE network on the moon and would be the first network to offer lunar communication system
    0 Comments 0 Shares 360 Views 0 Reviews
  • จากการสำรวจนิด้าโพลเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 34.58 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 12.82 ระบุว่า พอใจมาก ด้านความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.76 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.28 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 13.36 ระบุว่า พอใจมาก สำหรับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในการแก้ไขปัญหาของประเทศ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 36.41 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อมั่น รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ไม่เชื่อมั่นเลย ร้อยละ 25.04 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อมั่น และร้อยละ 12.29 ระบุว่า เชื่อมั่นมาก ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานในแต่ละกระทรวงของรัฐบาลนายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า กระทรวงสาธารณสุข ตัวอย่าง ร้อยละ 32.45 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.16 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 17.02 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.29 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ตัวอย่าง ร้อยละ 32.14 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.25 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 15.04 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพลังงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 32.98 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.31 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 14.11 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.76 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการคลัง ตัวอย่าง ร้อยละ 33.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.79 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.75 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.59 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.38 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 21.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.44 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.57 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.29 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.39 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.70 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.21 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 6.41 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการต่างประเทศ ตัวอย่าง ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.48 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.46 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.98 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.24 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 29.92 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.55 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 18.09 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.52 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 10.92 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลสำนักนายกรัฐมนตรี ตัวอย่าง ร้อยละ 34.35 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.70 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.52 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงวัฒนธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 31.53 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.54 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.94 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.70 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงศึกษาธิการ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.04 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.08 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.51 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงมหาดไทย ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 24.27 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.53 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.00 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.99 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.28 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.92 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.01 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.68 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงยุติธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 32.90 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 24.50 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 11.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 4.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงคมนาคม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.37 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.92 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.21 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง ร้อยละ 33.44 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.00 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.69 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.76 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.11 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงแรงงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 35.80 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 25.65 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 25.42 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.60 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงกลาโหม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.56 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.63 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.60 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.31 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.90 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.95 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.49 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 25.80 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 9.39 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.37 ระบุว่า ไม่มีข้อมูล
    จากการสำรวจนิด้าโพลเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 34.58 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.00 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 12.82 ระบุว่า พอใจมาก ด้านความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานของนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.60 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.76 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.28 ระบุว่า ไม่พอใจเลย และร้อยละ 13.36 ระบุว่า พอใจมาก สำหรับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการทำงานของรัฐบาลนายกรัฐมนตรี แพทองธาร ชินวัตร ในการแก้ไขปัญหาของประเทศ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 36.41 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อมั่น รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ไม่เชื่อมั่นเลย ร้อยละ 25.04 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อมั่น และร้อยละ 12.29 ระบุว่า เชื่อมั่นมาก ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการทำงานในแต่ละกระทรวงของรัฐบาลนายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน พบว่า กระทรวงสาธารณสุข ตัวอย่าง ร้อยละ 32.45 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.16 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 17.02 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.29 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ตัวอย่าง ร้อยละ 32.14 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.25 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 15.04 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพลังงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 32.98 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.31 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 14.11 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.76 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการคลัง ตัวอย่าง ร้อยละ 33.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.79 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.75 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.59 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.38 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 21.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.44 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.57 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.29 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.39 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.70 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 13.21 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 6.41 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการต่างประเทศ ตัวอย่าง ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.48 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 20.46 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.98 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.24 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 29.92 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.55 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 18.09 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.52 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 10.92 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลสำนักนายกรัฐมนตรี ตัวอย่าง ร้อยละ 34.35 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.70 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 22.14 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.52 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงวัฒนธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 31.53 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.54 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 17.94 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.70 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงศึกษาธิการ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.04 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.08 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.08 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 12.29 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.51 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงมหาดไทย ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.26 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 24.27 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 1.53 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัวอย่าง ร้อยละ 32.82 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.00 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.99 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.91 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 3.28 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงอุตสาหกรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 30.92 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 30.84 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 18.01 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 11.68 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 8.55 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงยุติธรรม ตัวอย่าง ร้อยละ 32.90 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 27.02 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 24.50 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 11.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 4.05 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงคมนาคม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.03 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 29.47 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.37 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.92 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.21 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง ร้อยละ 33.44 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ รองลงมา ร้อยละ 31.00 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ ร้อยละ 19.69 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.76 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 5.11 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงแรงงาน ตัวอย่าง ร้อยละ 35.80 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 25.65 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 25.42 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.53 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.60 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงกลาโหม ตัวอย่าง ร้อยละ 36.56 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 28.63 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 21.60 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 10.31 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.90 ระบุว่า ไม่มีข้อมูลกระทรวงพาณิชย์ ตัวอย่าง ร้อยละ 35.95 ระบุว่า ไม่ค่อยพอใจ รองลงมา ร้อยละ 26.49 ระบุว่า ไม่พอใจเลย ร้อยละ 25.80 ระบุว่า ค่อนข้างพอใจ ร้อยละ 9.39 ระบุว่า พอใจมาก และร้อยละ 2.37 ระบุว่า ไม่มีข้อมูล
    0 Comments 0 Shares 863 Views 0 Reviews
  • 1 มี.ค.2568 - กรณี โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ไล่ เซเลนสกี ประธานาธิบดียูเครน ออกจากทำเนียบขาว หลังจากโต้เถียงกัน ส่อแววล้มข้อตกลงสันติภาพ รวมทั้งข้อตกลงการเข้าถึงแร่หายาก

    ล่าสุด รศ.ดร.ปิติ ศรีแสงนาม ผู้อำนวยการบริหาร มูลนิธิอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย และอาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า ถอดบทเรียนยูเครน: เมื่อผู้นำไม่ได้รักษาผลประโยชน์ของประเทศ

    ภาพความอัปยศอดสูที่ผู้นำยูเครน Zelenskyy ถูกเชิญไปรุมกินโต๊ะโดย ประธานาธิบดี Trump และรองประธานาธิบดี Vance รวมทั้งการเจรจาที่ชะงักงันและไม่มีสิ่งใดที่เป็นประโยชน์ต้องประชาชนยูเครนที่สูญเสียทั้งชีวิต ดินแดน ทรัพยากร และที่สำคัญที่สุดคือ อนาคต ทำให้เราต้องมาถอดบทเรียน

    1. ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ประเทศยูเครนมิได้เป็นตัวของตัวเองเนื่องจากถูกแทรกแซงผ่านกระบวนการการสงครามผสมผสาน (Hybrid Warfare) มาอย่างต่อเนื่อง ปั่นหัวให้ประชาชนยูเครนลุกฮือขึ้นมาอย่างน้อย 3 ครั้ง 1) Orange Revolution 2004/2005 2) Euro Maidan 2014 และ 3) การลงประชามติของประชาชนในคาบสมุทร Crimea เพื่อแยกตัวเป็นเอกราชและในที่สุดขอเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย ทั้งหมดไม่ได้ทำไปเพื่อประโยชน์ของประเทศ หากแต่ทั้งหมดเป็นเกมส์ของมหาอำนาจไม่ว่าจะเป็นฝ่ายยุโรป+สหรัฐ หรือฝ่ายรัสเซีย

    2. ผู้นำของยูเครน ไม่ว่าจะเป็น Leonid Kuchma (1995-2005 โปรรัสเซีย), Viktor Yushchenko (2005-2010 โปร NATO), Viktor Yanukovych (2010-2014 โปรรัสเซีย), Petro Poroshenko (2014-2019) และ Volodymyr Zelenskyy (2019- ปัจจุบัน) แน่นอนว่า 2 คนสุดท้ายโปร NATO อย่างยิ่งยวด ล้วนทำให้เราเห็นว่าผู้นำที่เลือกข้าง ได้รับการสนับสนุนจากมหาอำนาจภายนอกไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน ล้วนแล้วแต่ทำให้ตลอดมา แทนที่พวกเขาจะรักษาผลประโยชน์ของยูเครนเป็นหลัก พวกเขากลับต้องเอาอกเอาใจมหาอำนาจภายนอก และดึงยูเครนเข้าสู่ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

    3. ผลประโยชน์ของประเทศ ประกอบด้วย 4 ประเด็น 1) ความมั่นคงทางในมิติอำนาจอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน และความมั่นคงแบบ Non-Traditional Security ที่เน้นความมั่นคงของมนุษย์ 2) ความมั่งคั่งที่หมายถึงเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ มีการเจริญเติบโต และมีการจัดสรรที่เป็นธรรม 3) การขยายพลังอำนาจของชาติในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การทหาร และ สุดท้ายที่อาจจะสำคัญที่สุด นั่นคือ 4) ความภาคภูมิใจของชาติ (บางพื้นที่ บางชนชาติ อาจจะไม่ได้รับรองเป็นประเทศ อาจจะไม่มีแผ่นดิน แต่พวกเขาก็ยังคงมีความภาคภูมิใจในตนเอง ลองนึกถึง ชาวปาเลสไตน์ ชาวไต้หวัน กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ)

    4. แต่เมื่อผลประโยชน์ของชาติไม่ได้รับการรักษาผลประโยชน์ เพราะผู้นำต้องเลือกข้างรับใช้มหาอำนาจที่มีอิทธิพลเหนือกว่า เมื่อประชาชนถูกปลุกปั่นแทรกแซงให้เลือกข้าง ให้แตกแยก ในที่สุด อย่างกรณีของยูเครน ความมั่นคงก็กำลังสูญเสียดินแดน ซึ่งคงไม่สามารถกลับไปมีดินแดนเหมือนก่อนปี 2014 ได้ ในเรื่องความมั่งคั่ง คงไม่ต้องพูดถึง เพราะมหาอำนาจที่เคยสนับสนุนนั่นเองที่ตอนนี้กำลังจะกลับมาของสูบเลือด สูบทรัพยากร มิพักต้องพูดถึงพลังอำนาจในมิติต่างๆ ที่วันนี้ประชาชนยูเครนก็อ่อนแรง หมดกำลังใจ และในที่สุดผู้นำก็ถูกเรียกมาโดนรุมแบบไร้ศักดิ์ศรีเช่นนี้

    5. คำถามคือ สำหรับประเทศไทย เราต้องช่วยกันระวังอย่างยิ่งยวด อย่าให้มีใครมาแทรกแซง ปลุกปั่น ต้องคอยเฝ้าระวังให้ผู้นำรักษาผลประโยชน์ของชาติ อย่าให้เกิดผลประโยชน์ที่ขัดแย้งระหว่าง ผลประโยชน์ของชาติ กับผลประโยชน์ส่วนตัว ผลประโยชน์ของครอบครัว และผลประโยชน์ทางธุรกิจ

    6. นาทีนี้เราต้องการทีมประเทศไทยที่ประกอบขึ้นจาก 6 เสาหลักที่ทำงานสอดประสานกัน อันได้แก่

    1. ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถ ไม่สับสนในการรักษาผลประโยชน์ของประเทศกับผลประโยชน์ของครอบครัวหรือของธุรกิจครอบครัว

    2. ผู้ตัดสินใจทางนโยบายในระดับสูงที่มีความรู้ ความสามารถ ซื่อสัตย์ กล้าหาญ กล้าตัดสินใจ และรับผิดชอบการตัดสินใจ

    3. เจ้าหน้าที่รัฐ ที่ซื่อสัตย์ ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล

    4. นักวิชาการที่ทำงานหนักแบบสหสาขาวิชา ให้รู้ลึก รู้กว้าง รู้จริง และกล้าเปลืองตัวที่จะชี้นำสังคมผ่านการบริการวิชาการ

    5. ภาคเอกชน (แน่นอนที่ต้องรักษาผลประโยชน์ของธุรกิจ) และภาคประชาสังคม (ที่ต้องรักษาผลประโยชน์ของประชาชน) ที่ต้องการมีส่วนร่วม ให้ข้อมูลสนับสนุนช่วยการตัดสินใจ

    6. สื่อสารมวลชนที่เข้มแข็ง กล้าหาญที่จะตรวจสอบ และนำเสนอข้อมูลอย่างถูกต้อง ไม่ถูกบิดเบือนแทรกแซง

    ที่มา ไทยโพสต์
    1 มี.ค.2568 - กรณี โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ไล่ เซเลนสกี ประธานาธิบดียูเครน ออกจากทำเนียบขาว หลังจากโต้เถียงกัน ส่อแววล้มข้อตกลงสันติภาพ รวมทั้งข้อตกลงการเข้าถึงแร่หายาก ล่าสุด รศ.ดร.ปิติ ศรีแสงนาม ผู้อำนวยการบริหาร มูลนิธิอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย และอาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า ถอดบทเรียนยูเครน: เมื่อผู้นำไม่ได้รักษาผลประโยชน์ของประเทศ ภาพความอัปยศอดสูที่ผู้นำยูเครน Zelenskyy ถูกเชิญไปรุมกินโต๊ะโดย ประธานาธิบดี Trump และรองประธานาธิบดี Vance รวมทั้งการเจรจาที่ชะงักงันและไม่มีสิ่งใดที่เป็นประโยชน์ต้องประชาชนยูเครนที่สูญเสียทั้งชีวิต ดินแดน ทรัพยากร และที่สำคัญที่สุดคือ อนาคต ทำให้เราต้องมาถอดบทเรียน 1. ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ประเทศยูเครนมิได้เป็นตัวของตัวเองเนื่องจากถูกแทรกแซงผ่านกระบวนการการสงครามผสมผสาน (Hybrid Warfare) มาอย่างต่อเนื่อง ปั่นหัวให้ประชาชนยูเครนลุกฮือขึ้นมาอย่างน้อย 3 ครั้ง 1) Orange Revolution 2004/2005 2) Euro Maidan 2014 และ 3) การลงประชามติของประชาชนในคาบสมุทร Crimea เพื่อแยกตัวเป็นเอกราชและในที่สุดขอเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย ทั้งหมดไม่ได้ทำไปเพื่อประโยชน์ของประเทศ หากแต่ทั้งหมดเป็นเกมส์ของมหาอำนาจไม่ว่าจะเป็นฝ่ายยุโรป+สหรัฐ หรือฝ่ายรัสเซีย 2. ผู้นำของยูเครน ไม่ว่าจะเป็น Leonid Kuchma (1995-2005 โปรรัสเซีย), Viktor Yushchenko (2005-2010 โปร NATO), Viktor Yanukovych (2010-2014 โปรรัสเซีย), Petro Poroshenko (2014-2019) และ Volodymyr Zelenskyy (2019- ปัจจุบัน) แน่นอนว่า 2 คนสุดท้ายโปร NATO อย่างยิ่งยวด ล้วนทำให้เราเห็นว่าผู้นำที่เลือกข้าง ได้รับการสนับสนุนจากมหาอำนาจภายนอกไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน ล้วนแล้วแต่ทำให้ตลอดมา แทนที่พวกเขาจะรักษาผลประโยชน์ของยูเครนเป็นหลัก พวกเขากลับต้องเอาอกเอาใจมหาอำนาจภายนอก และดึงยูเครนเข้าสู่ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ 3. ผลประโยชน์ของประเทศ ประกอบด้วย 4 ประเด็น 1) ความมั่นคงทางในมิติอำนาจอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน และความมั่นคงแบบ Non-Traditional Security ที่เน้นความมั่นคงของมนุษย์ 2) ความมั่งคั่งที่หมายถึงเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ มีการเจริญเติบโต และมีการจัดสรรที่เป็นธรรม 3) การขยายพลังอำนาจของชาติในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การทหาร และ สุดท้ายที่อาจจะสำคัญที่สุด นั่นคือ 4) ความภาคภูมิใจของชาติ (บางพื้นที่ บางชนชาติ อาจจะไม่ได้รับรองเป็นประเทศ อาจจะไม่มีแผ่นดิน แต่พวกเขาก็ยังคงมีความภาคภูมิใจในตนเอง ลองนึกถึง ชาวปาเลสไตน์ ชาวไต้หวัน กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ) 4. แต่เมื่อผลประโยชน์ของชาติไม่ได้รับการรักษาผลประโยชน์ เพราะผู้นำต้องเลือกข้างรับใช้มหาอำนาจที่มีอิทธิพลเหนือกว่า เมื่อประชาชนถูกปลุกปั่นแทรกแซงให้เลือกข้าง ให้แตกแยก ในที่สุด อย่างกรณีของยูเครน ความมั่นคงก็กำลังสูญเสียดินแดน ซึ่งคงไม่สามารถกลับไปมีดินแดนเหมือนก่อนปี 2014 ได้ ในเรื่องความมั่งคั่ง คงไม่ต้องพูดถึง เพราะมหาอำนาจที่เคยสนับสนุนนั่นเองที่ตอนนี้กำลังจะกลับมาของสูบเลือด สูบทรัพยากร มิพักต้องพูดถึงพลังอำนาจในมิติต่างๆ ที่วันนี้ประชาชนยูเครนก็อ่อนแรง หมดกำลังใจ และในที่สุดผู้นำก็ถูกเรียกมาโดนรุมแบบไร้ศักดิ์ศรีเช่นนี้ 5. คำถามคือ สำหรับประเทศไทย เราต้องช่วยกันระวังอย่างยิ่งยวด อย่าให้มีใครมาแทรกแซง ปลุกปั่น ต้องคอยเฝ้าระวังให้ผู้นำรักษาผลประโยชน์ของชาติ อย่าให้เกิดผลประโยชน์ที่ขัดแย้งระหว่าง ผลประโยชน์ของชาติ กับผลประโยชน์ส่วนตัว ผลประโยชน์ของครอบครัว และผลประโยชน์ทางธุรกิจ 6. นาทีนี้เราต้องการทีมประเทศไทยที่ประกอบขึ้นจาก 6 เสาหลักที่ทำงานสอดประสานกัน อันได้แก่ 1. ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถ ไม่สับสนในการรักษาผลประโยชน์ของประเทศกับผลประโยชน์ของครอบครัวหรือของธุรกิจครอบครัว 2. ผู้ตัดสินใจทางนโยบายในระดับสูงที่มีความรู้ ความสามารถ ซื่อสัตย์ กล้าหาญ กล้าตัดสินใจ และรับผิดชอบการตัดสินใจ 3. เจ้าหน้าที่รัฐ ที่ซื่อสัตย์ ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 4. นักวิชาการที่ทำงานหนักแบบสหสาขาวิชา ให้รู้ลึก รู้กว้าง รู้จริง และกล้าเปลืองตัวที่จะชี้นำสังคมผ่านการบริการวิชาการ 5. ภาคเอกชน (แน่นอนที่ต้องรักษาผลประโยชน์ของธุรกิจ) และภาคประชาสังคม (ที่ต้องรักษาผลประโยชน์ของประชาชน) ที่ต้องการมีส่วนร่วม ให้ข้อมูลสนับสนุนช่วยการตัดสินใจ 6. สื่อสารมวลชนที่เข้มแข็ง กล้าหาญที่จะตรวจสอบ และนำเสนอข้อมูลอย่างถูกต้อง ไม่ถูกบิดเบือนแทรกแซง ที่มา ไทยโพสต์
    Like
    Love
    2
    1 Comments 0 Shares 1174 Views 0 Reviews
  • ถอดบทเรียนยูเครน: เมื่อผู้นำไม่ได้รักษาผลประโยชน์ของประเทศ
    .
    ภาพความอัปยศอดสูที่ผู้นำยูเครน Zelenskyy ถูกเชิญไปรุมกินโต๊ะโดย ประธานาธิบดี Trump และรองประธานาธิบดี Vance รวมทั้งการเจรจาที่ชะงักงันและไม่มีสิ่งใดที่เป็นประโยชน์ต้องประชาชนยูเครนที่สูญเสียทั้งชีวิต ดินแดน ทรัพยากร และที่สำคัญที่สุดคือ อนาคต ทำให้เราต้องมาถอดบทเรียน
    .
    1. ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ประเทศยูเครนมิได้เป็นตัวของตัวเองเนื่องจากถูกแทรกแซงผ่านกระบวนการการสงครามผสมผสาน (Hybrid Warfare) มาอย่างต่อเนื่อง ปั่นหัวให้ประชาชนยูเครนลุกฮือขึ้นมาอย่างน้อย 3 ครั้ง 1) Orange Revolution 2004/2005 2) Euro Maidan 2014 และ 3) การลงประชามติของประชาชนในคาบสมุทร Crimea เพื่อแยกตัวเป็นเอกราชและในที่สุดขอเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย ทั้งหมดไม่ได้ทำไปเพื่อประโยชน์ของประเทศ หากแต่ทั้งหมดเป็นเกมส์ของมหาอำนาจไม่ว่าจะเป็นฝ่ายยุโรป+สหรัฐ หรือฝ่ายรัสเซีย
    .
    2. ผู้นำของยูเครน ไม่ว่าจะเป็น Leonid Kuchma (1995-2005 โปรรัสเซีย), Viktor Yushchenko (2005-2010 โปร NATO), Viktor Yanukovych (2010-2014 โปรรัสเซีย), Petro Poroshenko (2014-2019) และ Volodymyr Zelenskyy (2019- ปัจจุบัน) แน่นอนว่า 2 คนสุดท้ายโปร NATO อย่างยิ่งยวด ล้วนทำให้เราเห็นว่าผู้นำที่เลือกข้าง ได้รับการสนับสนุนจากมหาอำนาจภายนอกไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน ล้วนแล้วแต่ทำให้ตลอดมา แทนที่พวกเขาจะรักษาผลประโยชน์ของยูเครนเป็นหลัก พวกเขากลับต้องเอาอกเอาใจมหาอำนาจภายนอก และดึงยูเครนเข้าสู่ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
    .
    3. ผลประโยชน์ของประเทศ ประกอบด้วย 4 ประเด็น 1) ความมั่นคงทางในมิติอำนาจอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน และความมั่นคงแบบ Non-Traditional Security ที่เน้นความมั่นคงของมนุษย์ 2) ความมั่งคั่งที่หมายถึงเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ มีการเจริญเติบโต และมีการจัดสรรที่เป็นธรรม 3) การขยายพลังอำนาจของชาติในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การทหาร และ สุดท้ายที่อาจจะสำคัญที่สุด นั่นคือ 4) ความภาคภูมิใจของชาติ (บางพื้นที่ บางชนชาติ อาจจะไม่ได้รับรองเป็นประเทศ อาจจะไม่มีแผ่นดิน แต่พวกเขาก็ยังคงมีความภาคภูมิใจในตนเอง ลองนึกถึง ชาวปาเลสไตน์ ชาวไต้หวัน กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ)
    .
    4. แต่เมื่อผลประโยชน์ของชาติไม่ได้รับการรักษาผลประโยชน์ เพราะผู้นำต้องเลือกข้างรับใช้มหาอำนาจที่มีอิทธิพลเหนือกว่า เมื่อประชาชนถูกปลุกปั่นแทรกแซงให้เลือกข้าง ให้แตกแยก ในที่สุด อย่างกรณีของยูเครน ความมั่นคงก็กำลังสูญเสียดินแดน ซึ่งคงไม่สามารถกลับไปมีดินแดนเหมือนก่อนปี 2014 ได้ ในเรื่องความมั่งคั่ง คงไม่ต้องพูดถึง เพราะมหาอำนาจที่เคยสนับสนุนนั่นเองที่ตอนนี้กำลังจะกลับมาของสูบเลือด สูบทรัพยากร มิพักต้องพูดถึงพลังอำนาจในมิติต่างๆ ที่วันนี้ประชาชนยูเครนก็อ่อนแรง หมดกำลังใจ และในที่สุดผู้นำก็ถูกเรียกมาโดนรุมแบบไร้ศักดิ์ศรีเช่นนี้
    .
    5. คำถามคือ สำหรับประเทศไทย เราต้องช่วยกันระวังอย่างยิ่งยวด อย่าให้มีใครมาแทรกแซง ปลุกปั่น ต้องคอยเฝ้าระวังให้ผู้นำรักษาผลประโยชน์ของชาติ อย่าให้เกิดผลประโยชน์ที่ขัดแย้งระหว่าง ผลประโยชน์ของชาติ กับผลประโยชน์ส่วนตัว ผลประโยชน์ของครอบครัว และผลประโยชน์ทางธุรกิจ
    .
    6. นาทีนี้เราต้องการทีมประเทศไทยที่ประกอบขึ้นจาก 6 เสาหลักที่ทำงานสอดประสานกัน อันได้แก่
    1. ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถ ไม่สับสนในการรักษาผลประโยชน์ของประเทศกับผลประโยชน์ของครอบครัวหรือของธุรกิจครอบครัว
    2. ผู้ตัดสินใจทางนโยบายในระดับสูงที่มีความรู้ ความสามารถ ซื่อสัตย์ กล้าหาญ กล้าตัดสินใจ และรับผิดชอบการตัดสินใจ
    3. เจ้าหน้าที่รัฐ ที่ซื่อสัตย์ ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
    4. นักวิชาการที่ทำงานหนักแบบสหสาขาวิชา ให้รู้ลึก รู้กว้าง รู้จริง และกล้าเปลืองตัวที่จะชี้นำสังคมผ่านการบริการวิชาการ
    5. ภาคเอกชน (แน่นอนที่ต้องรักษาผลประโยชน์ของธุรกิจ) และภาคประชาสังคม (ที่ต้องรักษาผลประโยชน์ของประชาชน) ที่ต้องการมีส่วนร่วม ให้ข้อมูลสนับสนุนช่วยการตัดสินใจ
    6. สื่อสารมวลชนที่เข้มแข็ง กล้าหาญที่จะตรวจสอบ และนำเสนอข้อมูลอย่างถูกต้อง ไม่ถูกบิดเบือนแทรกแซง
    .
    ผมเขียนเรื่องยูเครนเอาไว้นานแล้วตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2022 at the beginning of the end ขอเอามาแปะอีกครั้งเพื่อเป็นข้อมูลประกอบครับ

    1. จากยูเครนสู่อาเซียน: กรณีศึกษา Hybrid Warfare (สงครามผสมผสาน) ที่ไทยต้องเฝ้าระวัง https://thestandard.co/asean-and-hybrid-warfare/
    2. จากยูเครนสู่ปัตตานี กรณี Gerasimov Doctrine และแผนบันได 7 ขั้น https://www.the101.world/ukraine-to-pattani/
    .
    Cr. รองศาสตราจารย์ ดร. ปิติ ศรีแสงนาม
    คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    ถอดบทเรียนยูเครน: เมื่อผู้นำไม่ได้รักษาผลประโยชน์ของประเทศ . ภาพความอัปยศอดสูที่ผู้นำยูเครน Zelenskyy ถูกเชิญไปรุมกินโต๊ะโดย ประธานาธิบดี Trump และรองประธานาธิบดี Vance รวมทั้งการเจรจาที่ชะงักงันและไม่มีสิ่งใดที่เป็นประโยชน์ต้องประชาชนยูเครนที่สูญเสียทั้งชีวิต ดินแดน ทรัพยากร และที่สำคัญที่สุดคือ อนาคต ทำให้เราต้องมาถอดบทเรียน . 1. ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ประเทศยูเครนมิได้เป็นตัวของตัวเองเนื่องจากถูกแทรกแซงผ่านกระบวนการการสงครามผสมผสาน (Hybrid Warfare) มาอย่างต่อเนื่อง ปั่นหัวให้ประชาชนยูเครนลุกฮือขึ้นมาอย่างน้อย 3 ครั้ง 1) Orange Revolution 2004/2005 2) Euro Maidan 2014 และ 3) การลงประชามติของประชาชนในคาบสมุทร Crimea เพื่อแยกตัวเป็นเอกราชและในที่สุดขอเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย ทั้งหมดไม่ได้ทำไปเพื่อประโยชน์ของประเทศ หากแต่ทั้งหมดเป็นเกมส์ของมหาอำนาจไม่ว่าจะเป็นฝ่ายยุโรป+สหรัฐ หรือฝ่ายรัสเซีย . 2. ผู้นำของยูเครน ไม่ว่าจะเป็น Leonid Kuchma (1995-2005 โปรรัสเซีย), Viktor Yushchenko (2005-2010 โปร NATO), Viktor Yanukovych (2010-2014 โปรรัสเซีย), Petro Poroshenko (2014-2019) และ Volodymyr Zelenskyy (2019- ปัจจุบัน) แน่นอนว่า 2 คนสุดท้ายโปร NATO อย่างยิ่งยวด ล้วนทำให้เราเห็นว่าผู้นำที่เลือกข้าง ได้รับการสนับสนุนจากมหาอำนาจภายนอกไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน ล้วนแล้วแต่ทำให้ตลอดมา แทนที่พวกเขาจะรักษาผลประโยชน์ของยูเครนเป็นหลัก พวกเขากลับต้องเอาอกเอาใจมหาอำนาจภายนอก และดึงยูเครนเข้าสู่ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ . 3. ผลประโยชน์ของประเทศ ประกอบด้วย 4 ประเด็น 1) ความมั่นคงทางในมิติอำนาจอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน และความมั่นคงแบบ Non-Traditional Security ที่เน้นความมั่นคงของมนุษย์ 2) ความมั่งคั่งที่หมายถึงเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ มีการเจริญเติบโต และมีการจัดสรรที่เป็นธรรม 3) การขยายพลังอำนาจของชาติในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การทหาร และ สุดท้ายที่อาจจะสำคัญที่สุด นั่นคือ 4) ความภาคภูมิใจของชาติ (บางพื้นที่ บางชนชาติ อาจจะไม่ได้รับรองเป็นประเทศ อาจจะไม่มีแผ่นดิน แต่พวกเขาก็ยังคงมีความภาคภูมิใจในตนเอง ลองนึกถึง ชาวปาเลสไตน์ ชาวไต้หวัน กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ) . 4. แต่เมื่อผลประโยชน์ของชาติไม่ได้รับการรักษาผลประโยชน์ เพราะผู้นำต้องเลือกข้างรับใช้มหาอำนาจที่มีอิทธิพลเหนือกว่า เมื่อประชาชนถูกปลุกปั่นแทรกแซงให้เลือกข้าง ให้แตกแยก ในที่สุด อย่างกรณีของยูเครน ความมั่นคงก็กำลังสูญเสียดินแดน ซึ่งคงไม่สามารถกลับไปมีดินแดนเหมือนก่อนปี 2014 ได้ ในเรื่องความมั่งคั่ง คงไม่ต้องพูดถึง เพราะมหาอำนาจที่เคยสนับสนุนนั่นเองที่ตอนนี้กำลังจะกลับมาของสูบเลือด สูบทรัพยากร มิพักต้องพูดถึงพลังอำนาจในมิติต่างๆ ที่วันนี้ประชาชนยูเครนก็อ่อนแรง หมดกำลังใจ และในที่สุดผู้นำก็ถูกเรียกมาโดนรุมแบบไร้ศักดิ์ศรีเช่นนี้ . 5. คำถามคือ สำหรับประเทศไทย เราต้องช่วยกันระวังอย่างยิ่งยวด อย่าให้มีใครมาแทรกแซง ปลุกปั่น ต้องคอยเฝ้าระวังให้ผู้นำรักษาผลประโยชน์ของชาติ อย่าให้เกิดผลประโยชน์ที่ขัดแย้งระหว่าง ผลประโยชน์ของชาติ กับผลประโยชน์ส่วนตัว ผลประโยชน์ของครอบครัว และผลประโยชน์ทางธุรกิจ . 6. นาทีนี้เราต้องการทีมประเทศไทยที่ประกอบขึ้นจาก 6 เสาหลักที่ทำงานสอดประสานกัน อันได้แก่ 1. ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถ ไม่สับสนในการรักษาผลประโยชน์ของประเทศกับผลประโยชน์ของครอบครัวหรือของธุรกิจครอบครัว 2. ผู้ตัดสินใจทางนโยบายในระดับสูงที่มีความรู้ ความสามารถ ซื่อสัตย์ กล้าหาญ กล้าตัดสินใจ และรับผิดชอบการตัดสินใจ 3. เจ้าหน้าที่รัฐ ที่ซื่อสัตย์ ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 4. นักวิชาการที่ทำงานหนักแบบสหสาขาวิชา ให้รู้ลึก รู้กว้าง รู้จริง และกล้าเปลืองตัวที่จะชี้นำสังคมผ่านการบริการวิชาการ 5. ภาคเอกชน (แน่นอนที่ต้องรักษาผลประโยชน์ของธุรกิจ) และภาคประชาสังคม (ที่ต้องรักษาผลประโยชน์ของประชาชน) ที่ต้องการมีส่วนร่วม ให้ข้อมูลสนับสนุนช่วยการตัดสินใจ 6. สื่อสารมวลชนที่เข้มแข็ง กล้าหาญที่จะตรวจสอบ และนำเสนอข้อมูลอย่างถูกต้อง ไม่ถูกบิดเบือนแทรกแซง . ผมเขียนเรื่องยูเครนเอาไว้นานแล้วตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2022 at the beginning of the end ขอเอามาแปะอีกครั้งเพื่อเป็นข้อมูลประกอบครับ 1. จากยูเครนสู่อาเซียน: กรณีศึกษา Hybrid Warfare (สงครามผสมผสาน) ที่ไทยต้องเฝ้าระวัง https://thestandard.co/asean-and-hybrid-warfare/ 2. จากยูเครนสู่ปัตตานี กรณี Gerasimov Doctrine และแผนบันได 7 ขั้น https://www.the101.world/ukraine-to-pattani/ . Cr. รองศาสตราจารย์ ดร. ปิติ ศรีแสงนาม คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    THESTANDARD.CO
    จากยูเครนสู่อาเซียน: กรณีศึกษา Hybrid Warfare (สงครามผสมผสาน) ที่ไทยต้องเฝ้าระวัง
    การสงครามผสมผสาน การสงครามผสมผสาน หรือ Hybrid Warfare เป็นยุทธศาสตร์ทางทหารซึ่งใช้การสงครามทางการเมือง และผสมรวมการสงครามตามแบบ (Conventional Warfare)
    0 Comments 0 Shares 1135 Views 0 Reviews
  • อุดรธานี-เล็งตั้งคณะกรรมการรูปแบบสหวิชาชีพขึ้นมาดูแลการใช้จ่ายเงินบริจาคช่วยยายของแบงก์ เลสเตอร์ เน้นใช้จ่ายเพื่อดูแลสุขภาพของยายและค่าครองชีพต่างๆ ด้านยายของแบงก์เผยย้ายมาอยู่อุดรฯก็น่าอยู่ เพื่อนบ้านใจดี กินข้าวเหนียวก็แซบมาก

    วันนี้ (2ม.ค.68) ที่ ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี นางพรทิพย์ สังข์ฤทธิ์ อายุ 80 ปี คุณยายของแบงก์ เลสเตอร์ นายประเสริฐ คันธี อายุ 58 ปี พ่อแบงก์ เลสเตอร์ นายพันธุ์เทพ สังฤทธิ์ น้าของแบงก์ เลสเตอร์ ได้เข้าพบนายราชันย์ ซุ้นหั้ว ผวจ.อุดรธานี และเจ้าหน้าที่พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์( พมจ.)อุดรธานี เพื่อหารือเรื่องการดูแลเงินบริจาค โดยมีนายภานุมาศ จิตวศินกุล เจ้าของเพจเฮียเปี๊ยกช่วยด้วย และนายเตชธรรม โลหิตดี ทนายความ ร่วมพูดคุย

    ซึ่งนายราชันย์บอกว่า เพื่อความสบายใจของทุกฝ่ายและเจตนาของคุณยาย ทางหน่วยงานราชการจะพยายามหาช่องทางระเบียบกฎหมายว่าตัวไหนทางราชการสามารถเข้ามาช่วยจัดการเรื่องนี้ได้ ซึ่งทางจังหวัดก็ยินดีที่จะให้ความร่วมมือโดยจะมีการหารือเพื่อหาข้อสรุปให้ทางคุณยายและลูกหลานได้ทราบอีกครั้ง

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/local/detail/9680000000393

    #MGROnline #อุดรธานี #ยาย #แบงก์เลสเตอร์
    อุดรธานี-เล็งตั้งคณะกรรมการรูปแบบสหวิชาชีพขึ้นมาดูแลการใช้จ่ายเงินบริจาคช่วยยายของแบงก์ เลสเตอร์ เน้นใช้จ่ายเพื่อดูแลสุขภาพของยายและค่าครองชีพต่างๆ ด้านยายของแบงก์เผยย้ายมาอยู่อุดรฯก็น่าอยู่ เพื่อนบ้านใจดี กินข้าวเหนียวก็แซบมาก • วันนี้ (2ม.ค.68) ที่ ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี นางพรทิพย์ สังข์ฤทธิ์ อายุ 80 ปี คุณยายของแบงก์ เลสเตอร์ นายประเสริฐ คันธี อายุ 58 ปี พ่อแบงก์ เลสเตอร์ นายพันธุ์เทพ สังฤทธิ์ น้าของแบงก์ เลสเตอร์ ได้เข้าพบนายราชันย์ ซุ้นหั้ว ผวจ.อุดรธานี และเจ้าหน้าที่พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์( พมจ.)อุดรธานี เพื่อหารือเรื่องการดูแลเงินบริจาค โดยมีนายภานุมาศ จิตวศินกุล เจ้าของเพจเฮียเปี๊ยกช่วยด้วย และนายเตชธรรม โลหิตดี ทนายความ ร่วมพูดคุย • ซึ่งนายราชันย์บอกว่า เพื่อความสบายใจของทุกฝ่ายและเจตนาของคุณยาย ทางหน่วยงานราชการจะพยายามหาช่องทางระเบียบกฎหมายว่าตัวไหนทางราชการสามารถเข้ามาช่วยจัดการเรื่องนี้ได้ ซึ่งทางจังหวัดก็ยินดีที่จะให้ความร่วมมือโดยจะมีการหารือเพื่อหาข้อสรุปให้ทางคุณยายและลูกหลานได้ทราบอีกครั้ง • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/local/detail/9680000000393 • #MGROnline #อุดรธานี #ยาย #แบงก์เลสเตอร์
    0 Comments 0 Shares 686 Views 0 Reviews