• 🍁 TOKYO FUJI NIKKO ROMANTIC AUTUMN 6 วัน 4 คืน
    ✈️ เดินทางสบายโดยสายการบินไทย \[TG]

    📅 รอบเดินทาง:
    • 11-16 พ.ย. 68
    • 14-19 พ.ย. 68
    • 18-23 พ.ย. 68

    💰 เริ่มต้นเพียง 57,900.-

    🛏 พักโรงแรมในโตเกียว 2 คืน
    ♨️ พักเรียวกังออนเซ็น 2 คืน ฟินแบบญี่ปุ่นแท้ๆ

    🌟 ไฮไลท์ทริป:
    🍂 ชมใบไม้เปลี่ยนสีอุโมงค์เมเปิ้ล "โมมิจิ ไคโร"
    ⛩ ศาลเจ้าโทโชคุ
    💦 น้ำตกเคง่อน
    🏯 เมืองคาวาโกเอะ & ศาลเจ้าฮิคาวะ
    🌳 ถนนต้นแปะก๊วย “อิโช นามิกิ”
    🛍 ช้อปปิ้งชินจูกุ + วันอิสระช้อปปิ้งในโตเกียว

    📌 รีบจองก่อนเต็มนะจ๊ะ 🍂

    ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
    https://78s.me/e980c5

    ดูทัวร์ญี่ปุ่นทั้งหมดได้ที่
    https://78s.me/a32eb2

    LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307
    Facebook: etravelway 78s.me/8a4061
    Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5
    Tiktok : https://78s.me/543eb9
    📷: etravelway 78s.me/05e8da
    ☎️: 0 2116 6395

    #ทัวร์ญี่ปุ่น #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway #AutumnInJapan #เที่ยวญี่ปุ่น #ใบไม้เปลี่ยนสี #โตเกียวฟูจินิกโก้ #JapanTrip #เที่ยวกับเราอบอุ่นใจ #สายการบินไทย #ShinjukuShopping #ออนเซ็นญี่ปุ่น #ทัวร์ญี่ปุ่นพฤศจิกายน
    🍁 TOKYO FUJI NIKKO ROMANTIC AUTUMN 6 วัน 4 คืน ✈️ เดินทางสบายโดยสายการบินไทย \[TG] 📅 รอบเดินทาง: • 11-16 พ.ย. 68 • 14-19 พ.ย. 68 • 18-23 พ.ย. 68 💰 เริ่มต้นเพียง 57,900.- 🛏 พักโรงแรมในโตเกียว 2 คืน ♨️ พักเรียวกังออนเซ็น 2 คืน ฟินแบบญี่ปุ่นแท้ๆ 🌟 ไฮไลท์ทริป: 🍂 ชมใบไม้เปลี่ยนสีอุโมงค์เมเปิ้ล "โมมิจิ ไคโร" ⛩ ศาลเจ้าโทโชคุ 💦 น้ำตกเคง่อน 🏯 เมืองคาวาโกเอะ & ศาลเจ้าฮิคาวะ 🌳 ถนนต้นแปะก๊วย “อิโช นามิกิ” 🛍 ช้อปปิ้งชินจูกุ + วันอิสระช้อปปิ้งในโตเกียว 📌 รีบจองก่อนเต็มนะจ๊ะ 🍂 ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://78s.me/e980c5 ดูทัวร์ญี่ปุ่นทั้งหมดได้ที่ https://78s.me/a32eb2 LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307 Facebook: etravelway 78s.me/8a4061 Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5 Tiktok : https://78s.me/543eb9 📷: etravelway 78s.me/05e8da ☎️: 0 2116 6395 #ทัวร์ญี่ปุ่น #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway #AutumnInJapan #เที่ยวญี่ปุ่น #ใบไม้เปลี่ยนสี #โตเกียวฟูจินิกโก้ #JapanTrip #เที่ยวกับเราอบอุ่นใจ #สายการบินไทย #ShinjukuShopping #ออนเซ็นญี่ปุ่น #ทัวร์ญี่ปุ่นพฤศจิกายน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 0 รีวิว
  • ต๋ากู่ปิงชวน ภูผาหิมะกลาเซียร์❄
    เที่ยวช่วงไหนดี? อากาศเป็นอย่างไร?🤔

    ต๋ากู่ปิงชวน หรืออุทยานสวรรค์ภูเขาหิมะกลาเซียร์
    อยู่เมืองเฮ่ยซุ่ย มณฑลเสฉวน ประเทศจีน

    อุทยานแห่งชาติที่สวยงามที่สุด
    ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นในปี 1992
    ได้เป็นกลาเซียร์อายุน้อยที่สุดในโลก
    เปิดให้บริการตลอดทั้งปี แต่ละฤดูกาลมีเสน่ห์ที่แตกต่างกันไป

    🍃 ฤดูใบไม้ผลิ : มีนาคม - พฤษภาคม
    อุณหภูมิอยู่ที่ 5 ถึง 15 องศาเซลเซียส
    หิมะเริ่มละลาย ดอกไม้เริ่มบาน
    อากาศเย็นสบาย ธรรมชาติสดใส

    ☀ ฤดูร้อน : มิถุนายน - สิงหาคม
    อุณหภูมิอยู่ที่ 15 ถึง 20 องศาเซลเซียส
    อากาศอบอุ่นที่สุด แต่ยังเย็นสบาย
    ดอกไม้บานสะพรั่ง ทุ่งหญ้าเขียวขจีดูมีชีวิตชีวา

    🍂 ฤดูใบไม้ร่วง : กันยายน - พฤศจิกายน
    อุณหภูมิอยู่ที่ 0 ถึง 10 องศาเซลเซียส
    อากาศเย็นลงเล็กน้อย วิวทิวทัศน์งดงาม
    ใบไม้เปลี่ยนสี หิมะเริ่มปกคลุมยอดเขา

    ❄ ฤดูหนาว : ธันวาคม - กุมภาพันธ์
    อุณหภูมิลดต่ำถึง -5 ถึง -10 องศาเซลเซียส
    เหมาะสำหรับผู้ชอบหิมะ อากาศหนาวเย็น
    ธารน้ำแข็งและภูเขาปกคลุมไปด้วยหิมะ

    LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307
    Facebook: etravelway 78s.me/8a4061
    Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5
    Tiktok : https://78s.me/543eb9
    📷: etravelway 78s.me/05e8da
    ☎️: 0 2116 6395

    #ทัวร์จีน #ภูเขาสี่ดรุณี #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway
    #thaitimes #News1 #คิงส์โพธิ์แดง #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    ต๋ากู่ปิงชวน ภูผาหิมะกลาเซียร์❄ เที่ยวช่วงไหนดี? อากาศเป็นอย่างไร?🤔 ต๋ากู่ปิงชวน หรืออุทยานสวรรค์ภูเขาหิมะกลาเซียร์ อยู่เมืองเฮ่ยซุ่ย มณฑลเสฉวน ประเทศจีน อุทยานแห่งชาติที่สวยงามที่สุด ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นในปี 1992 ได้เป็นกลาเซียร์อายุน้อยที่สุดในโลก เปิดให้บริการตลอดทั้งปี แต่ละฤดูกาลมีเสน่ห์ที่แตกต่างกันไป 🍃 ฤดูใบไม้ผลิ : มีนาคม - พฤษภาคม อุณหภูมิอยู่ที่ 5 ถึง 15 องศาเซลเซียส หิมะเริ่มละลาย ดอกไม้เริ่มบาน อากาศเย็นสบาย ธรรมชาติสดใส ☀ ฤดูร้อน : มิถุนายน - สิงหาคม อุณหภูมิอยู่ที่ 15 ถึง 20 องศาเซลเซียส อากาศอบอุ่นที่สุด แต่ยังเย็นสบาย ดอกไม้บานสะพรั่ง ทุ่งหญ้าเขียวขจีดูมีชีวิตชีวา 🍂 ฤดูใบไม้ร่วง : กันยายน - พฤศจิกายน อุณหภูมิอยู่ที่ 0 ถึง 10 องศาเซลเซียส อากาศเย็นลงเล็กน้อย วิวทิวทัศน์งดงาม ใบไม้เปลี่ยนสี หิมะเริ่มปกคลุมยอดเขา ❄ ฤดูหนาว : ธันวาคม - กุมภาพันธ์ อุณหภูมิลดต่ำถึง -5 ถึง -10 องศาเซลเซียส เหมาะสำหรับผู้ชอบหิมะ อากาศหนาวเย็น ธารน้ำแข็งและภูเขาปกคลุมไปด้วยหิมะ LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307 Facebook: etravelway 78s.me/8a4061 Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5 Tiktok : https://78s.me/543eb9 📷: etravelway 78s.me/05e8da ☎️: 0 2116 6395 #ทัวร์จีน #ภูเขาสี่ดรุณี #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway #thaitimes #News1 #คิงส์โพธิ์แดง #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1182 มุมมอง 36 0 รีวิว
  • สุดยอดกลอนเจ็ด ‘ชีลวี่’ จาก <หาญท้าชะตาฟ้าฯ ภาค1>สวัสดีค่ะ Storyฯ ย้อนกลับไปดูภาคแรกของ <หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร> เพื่อทวนความทรงจำรอดูภาคสอง เชื่อว่าเพื่อนเพจที่ได้ดูภาคแรกนี้ต้องจำได้ว่าในงานสังสรรค์ชมบทกวี พระเอกได้ยืมกลอนจากกวีเอกตู้ฝู่มาใช้โดยมั่นใจว่าจะไม่มีใครสามารถแต่งกลอนที่ดีกว่าได้เพราะกลอนบทนี้ของตู้ฝู่ถูกยกย่องให้เป็น ‘ที่สุด’ Storyฯ มั่นใจว่าเพื่อนเพจทั้งหลายที่เคยได้ยินคำแปลของกลอนบทนี้คง ‘เอ๊ะ’ เหมือนกันว่ามันเป็น ‘ที่สุด’ อย่างไร วันนี้เรามาคุยเรื่องนี้กันก่อนอื่นขอแนะนำเกี่ยวกับกวีตู้ฝู่และกลอนบทนี้ กวีตู้ฝู่เป็นกวีเอกสมัยถัง (ค.ศ. 712–770) ถูกยกย่องเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดกวีและถูกขนานนามว่า ‘ราชันกวี’ และกลอนบทนี้มีชื่อว่า ‘เติงเกา’ (登高 แปลว่าปีนขึ้นที่สูง) เบื้องหลังของกลอนนี้คือ เป็นช่วงปี ค.ศ. 766 ซึ่งผ่านเหตุการณ์กบฏอันลู่ซานไปได้หลายปีแล้วแต่บ้านเมืองยังไม่สงบ สหายต่างสิ้นชีพกันไปเกือบหมด ตัวตู้ฝู่เองก็มีโรครุมเร้า เดิมอาศัยใต้ร่มบารมีของเหยียนอู่ เมื่อสิ้นเหยียนอู่ก็ไร้ที่พึ่งพาจำต้องเดินทางจากเมืองหลวงไป ตอนที่ตู้ฝู่แต่งกลอนบทนี้คือช่วงฤดูใบไม้ร่วงที่เขาแวะพักฟื้นที่เขตขุยโจว (ปัจจุบันใกล้ฉงชิ่ง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำแยงซีเกียง หรือฉางเจียงที่กล่าวถึงในบทกลอน) วันหนึ่งเขาปีนขึ้นหอสูงนอกเมืองไป๋ตี้ มองทิวทัศน์ก็รำลึกถึงอดีตและรู้สึกสะท้อนใจกับชีวิตที่ต้องระหกระเหินแม้ร่างกายเจ็บป่วย กลอนบทนี้สี่วรรคแรกจึงบรรยายถึงความงามแบบเศร้าๆ ของทิวทัศน์ในฤดูใบไม้เปลี่ยนสี สี่วรรคสุดท้ายบรรยายถึงสภาพตนเองที่มีแต่ความโศกเศร้าเป็นเพื่อน แม้แต่จะกินเหล้าดับทุกข์ก็ยังทำไม่ได้เพราะว่าร่างกายไม่เอื้ออำนวย และนี่คือสาเหตุว่าทำไมในเรื่อง <หาญท้าชะตาฟ้าฯ ภาคแรก> จึงมีฉากที่มีคนถามว่า พระเอกอายุยังน้อยจะสามารถแต่งกลอนที่แฝงด้วยความทุกข์ความเศร้าของคนที่ผ่านร้อนผ่านหนาวในชีวิตมาได้อย่างไรกลอนบทนี้ถูกยกย่องให้เป็นสุดยอดแห่งกลอนเจ็ดอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ หรือที่เรียกว่า ‘ชีเหยียนลวี่ซือ’ (七言律诗) เรียกสั้นๆ ว่า ‘ชีลวี่’ (七律) ที่บอกว่ามีลักษณะเฉพาะเพราะว่ากลอนเจ็ดชีลวี่นี้หมายถึงกลอนเจ็ดสี่วรรคคู่ รวมแปดวรรค แต่ละวรรคมีเจ็ดอักษร มีแบบแผนจังหวะเสียงที่ตายตัว ทีนี้เรามาดูกันว่ามันเป็น ‘สุดยอด’ อย่างไรประเด็นแรกคือ หัวข้อ --- กลอนที่ดีจะพัฒนาถ้อยคำขึ้นรอบๆ หัวข้อของกลอน ในที่นี้หัวข้อคือ ความเศร้าของสารทฤดู ภาพทิวทัศน์คือใบไม้เปลี่ยนสีและธรรมชาติที่แฝงด้วยความเศร้า ความในใจคือความโศกเศร้าเชื่อมโยงกับสารทฤดู ทุกวรรคทุกประโยคล้วนส่งเสริมหัวข้อนี้แต่บรรยายให้เห็นราวภาพวาด แต่ข้อจำกัดของกลอนเจ็ดชีลวี่คือพอเข้าประโยคที่สามต้องเปลี่ยนเรื่อง... ใช่ค่ะ เปลี่ยนเรื่องโดยไม่หลุดจากหัวข้อ ดังนั้นเราจึงเห็นสองประโยคแรกเป็นการบรรยายทิวทัศน์ และประโยคสามเปลี่ยนมาพูดถึงตัวกวีเองแต่คุณสมบัติตามประเด็นแรกนี้หาไม่ยากในกลอนที่โด่งดังทั้งหลาย เรามาดูประเด็นที่เข้มข้นมากขึ้นกันประเด็นที่สองคือ แบบแผนจังหวะและเสียง --- กลอนเจ็ดชีลวี่มีแบบแผนจังหวะเฉพาะเจาะจงอยู่สี่แบบ และจังหวะที่ว่านี้คือจังหวะความเข้มเบาของเสียงอักษร โดย ‘เบา’ หมายถึงเสียงกลาง ซึ่งท่านที่เรียนภาษาจีนจะทราบว่าจริงๆ แล้วภาษาจีนไม่มีเสียงกลางเหมือนไทยแต่ผันเป็นสี่เสียง และอักษรที่อยู่ในกลุ่มเสียงเบานี้ส่วนใหญ่เป็นอักษรในเสียงสองหรืออาจเป็นอักษรเสียงแรก ส่วน ‘เข้ม’ คือหมายถึงเสียงอื่น แต่ในประเด็นนี้มีความละเอียดอ่อนของการผันเสียง เช่น หากเป็นอักษรแรกตอนเริ่มวรรคหรือหลังกลางวรรค เสียงเบาอาจผันเป็นเสียงเข้มได้ ฟังแล้วอาจงงแต่เราไม่ได้อยากจะเป็นผู้เชี่ยวชาญก็อย่าไปเครียดกับมันค่ะ สรุปได้สั้นๆ ว่ากลอนเจ็ดชีลวี่มีแบบแผนจังหวะเบาเข้มที่ชัดเจน ซึ่งกวีต้องรู้ว่าอักษรใดคือเสียงเบา อักษรใดคือเสียงเข้ม และต้องเลือกใช้อักษรที่ให้เสียงเบาเข้มตามแบบแผนจังหวะที่เลือก ดังที่กล่าวมาข้างต้น ชีลวี่มีสี่แบบแผนจังหวะมาตรฐาน ซึ่งทั้งสี่แบบนี้ล้วนให้อิสระกับจังหวะของประโยคแรกและประโยคสุดท้าย แต่เข้มงวดเรื่องการเชื่อมโยงทางจังหวะของวรรคอื่นๆ อย่าเพิ่งงงค่ะ เรามาดูกลอน ‘เติงเกา’ เป็นตัวอย่าง เอกลักษณ์ของแบบแผนชีลวี่สรุปได้ดังนี้ (ดูรูปประกอบขวาล่าง) - จังหวะของวรรคท้ายในประโยคแรกและประโยคสามเหมือนกัน และต่อเนื่องมาถึงจังหวะของวรรคแรกในประโยคสองและวรรคแรกในประโยคสุดท้ายก็เหมือนกัน - ลงท้ายทุกประโยคด้วยเสียงเบาซึ่งทำให้จำนวนอักษรที่สามารถนำมาใช้ได้นั้นมีจำนวนจำกัดยิ่งขึ้น และ - จังหวะเข้มเบาของวรรคแรกและวรรคจบต้องเหมือนกันเชื่อว่าเพื่อนเพจคงรู้สึกเหมือน Storyฯ แล้วว่า การที่จะใช้อักษรให้สื่อความหมายได้ตามต้องการและยังอยู่ในกรอบแบบแผนจังหวะเสียงที่ว่ามานี้ยากมากและกวีผู้นั้นต้องมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาสูงมาก เท่านี้ยังไม่พอ ดีกรีความเข้มข้นของภาษาของกลอนบทนี้คือประเด็นสุดท้ายจะกล่าวถึงประเด็นสุดท้ายคือ ความเป็นคู่ --- หลายคนมักเข้าใจว่ากลอนจีนต้องมีความคล้องจองของคำ แต่ถ้าเพื่อนเพจดูจากคำออกเสียงที่ Storyฯ ใส่มาให้จะเห็นว่าเสียงไม่คล้องจองกันเลย ดังนั้นจะเห็นว่ากลอนจีนโบราณจริงแล้วให้ความสำคัญกับความคล้องจองของอักษรน้อยกว่าความเป็นคู่ ซึ่งความเป็นคู่อาจหมายถึง ‘คู่เหมือน’ หรือ ‘คู่ขัดแย้ง’ ซึ่ง Storyฯ เคยเกริ่นถึงแล้วในบทความเกี่ยวกับรหัสลับจาก <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> (https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid02a8RcKiQmJ1GyrL2pkPs4dKmeZDnuti8guSaVo2VgSTcG9obtJoguAX62Mx4DgbQLl) เพื่ออธิบายประเด็นความเป็นคู่นี้ Storyฯ เลยแปลและเรียบเรียงบทกวีนี้โดยไม่เน้นความไพเราะหรือความพลิ้วพราย แต่พยายามคงเอกลักษณ์ความเป็นคู่ของวรรคแรกและวรรคหลังของแต่ละประโยคไว้ (ดูรูปประกอบขวาบนนะคะ) จะเห็นว่าความเป็นคู่นี้มีลูกเล่นได้หลากหลาย อาทิ - คุณศัพท์ขยายนาม เช่นในประโยคแรก ลมแรง <-> น้ำใส และ ฟ้าสูง <-> ทรายขาว ; ประโยคสาม หมื่นลี้ <-> ร้อยปี- นามและกิริยา เช่นในประโยคแรก ลิงหวนไห้ <-> นกบินกลับ; - คำซ้ำๆ เหมือนกัน เช่นในประโยคที่สอง โปรยโปรย <-> ม้วนม้วน- คำที่ความหมายคล้ายคลึงด้วยจำนวนอักษรเท่ากัน เช่นในประโยคที่สอง ไร้ขอบเขต <-> ไม่สิ้นสุด- อารมณ์ที่ขัดแย้งกัน เช่นในประโยคสาม วรรคแรก ‘หมั่นมาเยือน’ ให้อารมณ์ความคึกคักขัดแย้งกับวรรคหลัง ‘ปีนหอเดียวดาย’ - อารมณ์สอดคล้องกัน เช่นในประโยคสุดท้ายที่ล้วนบรรยายถึงความยากลำบากทางกายและความระทมทางใจและหากเพื่อนเพจสังเกตดีๆ นอกจากความเป็นคู่ของคำที่ใช้แล้ว จะเห็นว่าตำแหน่งของคำเหล่านี้ล้วนเป็นตำแหน่งเดียวกันในวรรคแรกและวรรคหลัง ซึ่งเป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ของความเป็นคู่Storyฯ ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณกรรมจีน แต่ที่พยายามแปลและยกมาเล่าให้ฟังนี้ เพื่อที่เพื่อนเพจจะได้อรรถรสถึงความซับซ้อนของกวีจีนโบราณ บ่อยครั้งที่เราได้ยินคำแปลกลอนจีนที่ไพเราะสละสลวยได้อารมณ์และความหมาย แต่ไม่เคยรู้เลยว่าคำแปลนั้นไม่สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ทางเทคนิคของบทกลอน Storyฯ เองเวลาแปลบทกวีจีนก็มักจะมองข้ามเอกลักษณ์ทางเทคนิคเช่นกัน และเอกลักษณ์ทางเทคนิคเหล่านี้นี่เองที่ช่วยเสริมให้บทกวี ‘เติงเกา’ ของตู้ฝู่บทนี้ได้รับการยกย่องให้เป็นสุดยอดแห่งกลอนเจ็ดชีลวี่ยาวนานกว่าหนึ่งพันปี ทีนี้เข้าใจกันแล้วนะคะว่าบทกวีนี้เป็น ‘ที่สุด’ ได้อย่างไร(ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)Credit รูปภาพจาก: https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_5325467 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:https://www.sohu.com/a/604660125_121119376 https://www.toutiao.com/article/6824075960027972109/?&source=m_redirect https://www.sohu.com/a/138168554_146329https://baike.baidu.com/item/登高/7605079 https://baike.baidu.com/item/七言律诗/10294898 #หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร #กลอนเจ็ดจีนโบราณ #ชีลวี่ #เกาเติง #กวีสมัยถัง #ตู้ฝู่
    สุดยอดกลอนเจ็ด ‘ชีลวี่’ จาก <หาญท้าชะตาฟ้าฯ ภาค1>สวัสดีค่ะ Storyฯ ย้อนกลับไปดูภาคแรกของ <หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร> เพื่อทวนความทรงจำรอดูภาคสอง เชื่อว่าเพื่อนเพจที่ได้ดูภาคแรกนี้ต้องจำได้ว่าในงานสังสรรค์ชมบทกวี พระเอกได้ยืมกลอนจากกวีเอกตู้ฝู่มาใช้โดยมั่นใจว่าจะไม่มีใครสามารถแต่งกลอนที่ดีกว่าได้เพราะกลอนบทนี้ของตู้ฝู่ถูกยกย่องให้เป็น ‘ที่สุด’ Storyฯ มั่นใจว่าเพื่อนเพจทั้งหลายที่เคยได้ยินคำแปลของกลอนบทนี้คง ‘เอ๊ะ’ เหมือนกันว่ามันเป็น ‘ที่สุด’ อย่างไร วันนี้เรามาคุยเรื่องนี้กันก่อนอื่นขอแนะนำเกี่ยวกับกวีตู้ฝู่และกลอนบทนี้ กวีตู้ฝู่เป็นกวีเอกสมัยถัง (ค.ศ. 712–770) ถูกยกย่องเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดกวีและถูกขนานนามว่า ‘ราชันกวี’ และกลอนบทนี้มีชื่อว่า ‘เติงเกา’ (登高 แปลว่าปีนขึ้นที่สูง) เบื้องหลังของกลอนนี้คือ เป็นช่วงปี ค.ศ. 766 ซึ่งผ่านเหตุการณ์กบฏอันลู่ซานไปได้หลายปีแล้วแต่บ้านเมืองยังไม่สงบ สหายต่างสิ้นชีพกันไปเกือบหมด ตัวตู้ฝู่เองก็มีโรครุมเร้า เดิมอาศัยใต้ร่มบารมีของเหยียนอู่ เมื่อสิ้นเหยียนอู่ก็ไร้ที่พึ่งพาจำต้องเดินทางจากเมืองหลวงไป ตอนที่ตู้ฝู่แต่งกลอนบทนี้คือช่วงฤดูใบไม้ร่วงที่เขาแวะพักฟื้นที่เขตขุยโจว (ปัจจุบันใกล้ฉงชิ่ง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำแยงซีเกียง หรือฉางเจียงที่กล่าวถึงในบทกลอน) วันหนึ่งเขาปีนขึ้นหอสูงนอกเมืองไป๋ตี้ มองทิวทัศน์ก็รำลึกถึงอดีตและรู้สึกสะท้อนใจกับชีวิตที่ต้องระหกระเหินแม้ร่างกายเจ็บป่วย กลอนบทนี้สี่วรรคแรกจึงบรรยายถึงความงามแบบเศร้าๆ ของทิวทัศน์ในฤดูใบไม้เปลี่ยนสี สี่วรรคสุดท้ายบรรยายถึงสภาพตนเองที่มีแต่ความโศกเศร้าเป็นเพื่อน แม้แต่จะกินเหล้าดับทุกข์ก็ยังทำไม่ได้เพราะว่าร่างกายไม่เอื้ออำนวย และนี่คือสาเหตุว่าทำไมในเรื่อง <หาญท้าชะตาฟ้าฯ ภาคแรก> จึงมีฉากที่มีคนถามว่า พระเอกอายุยังน้อยจะสามารถแต่งกลอนที่แฝงด้วยความทุกข์ความเศร้าของคนที่ผ่านร้อนผ่านหนาวในชีวิตมาได้อย่างไรกลอนบทนี้ถูกยกย่องให้เป็นสุดยอดแห่งกลอนเจ็ดอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ หรือที่เรียกว่า ‘ชีเหยียนลวี่ซือ’ (七言律诗) เรียกสั้นๆ ว่า ‘ชีลวี่’ (七律) ที่บอกว่ามีลักษณะเฉพาะเพราะว่ากลอนเจ็ดชีลวี่นี้หมายถึงกลอนเจ็ดสี่วรรคคู่ รวมแปดวรรค แต่ละวรรคมีเจ็ดอักษร มีแบบแผนจังหวะเสียงที่ตายตัว ทีนี้เรามาดูกันว่ามันเป็น ‘สุดยอด’ อย่างไรประเด็นแรกคือ หัวข้อ --- กลอนที่ดีจะพัฒนาถ้อยคำขึ้นรอบๆ หัวข้อของกลอน ในที่นี้หัวข้อคือ ความเศร้าของสารทฤดู ภาพทิวทัศน์คือใบไม้เปลี่ยนสีและธรรมชาติที่แฝงด้วยความเศร้า ความในใจคือความโศกเศร้าเชื่อมโยงกับสารทฤดู ทุกวรรคทุกประโยคล้วนส่งเสริมหัวข้อนี้แต่บรรยายให้เห็นราวภาพวาด แต่ข้อจำกัดของกลอนเจ็ดชีลวี่คือพอเข้าประโยคที่สามต้องเปลี่ยนเรื่อง... ใช่ค่ะ เปลี่ยนเรื่องโดยไม่หลุดจากหัวข้อ ดังนั้นเราจึงเห็นสองประโยคแรกเป็นการบรรยายทิวทัศน์ และประโยคสามเปลี่ยนมาพูดถึงตัวกวีเองแต่คุณสมบัติตามประเด็นแรกนี้หาไม่ยากในกลอนที่โด่งดังทั้งหลาย เรามาดูประเด็นที่เข้มข้นมากขึ้นกันประเด็นที่สองคือ แบบแผนจังหวะและเสียง --- กลอนเจ็ดชีลวี่มีแบบแผนจังหวะเฉพาะเจาะจงอยู่สี่แบบ และจังหวะที่ว่านี้คือจังหวะความเข้มเบาของเสียงอักษร โดย ‘เบา’ หมายถึงเสียงกลาง ซึ่งท่านที่เรียนภาษาจีนจะทราบว่าจริงๆ แล้วภาษาจีนไม่มีเสียงกลางเหมือนไทยแต่ผันเป็นสี่เสียง และอักษรที่อยู่ในกลุ่มเสียงเบานี้ส่วนใหญ่เป็นอักษรในเสียงสองหรืออาจเป็นอักษรเสียงแรก ส่วน ‘เข้ม’ คือหมายถึงเสียงอื่น แต่ในประเด็นนี้มีความละเอียดอ่อนของการผันเสียง เช่น หากเป็นอักษรแรกตอนเริ่มวรรคหรือหลังกลางวรรค เสียงเบาอาจผันเป็นเสียงเข้มได้ ฟังแล้วอาจงงแต่เราไม่ได้อยากจะเป็นผู้เชี่ยวชาญก็อย่าไปเครียดกับมันค่ะ สรุปได้สั้นๆ ว่ากลอนเจ็ดชีลวี่มีแบบแผนจังหวะเบาเข้มที่ชัดเจน ซึ่งกวีต้องรู้ว่าอักษรใดคือเสียงเบา อักษรใดคือเสียงเข้ม และต้องเลือกใช้อักษรที่ให้เสียงเบาเข้มตามแบบแผนจังหวะที่เลือก ดังที่กล่าวมาข้างต้น ชีลวี่มีสี่แบบแผนจังหวะมาตรฐาน ซึ่งทั้งสี่แบบนี้ล้วนให้อิสระกับจังหวะของประโยคแรกและประโยคสุดท้าย แต่เข้มงวดเรื่องการเชื่อมโยงทางจังหวะของวรรคอื่นๆ อย่าเพิ่งงงค่ะ เรามาดูกลอน ‘เติงเกา’ เป็นตัวอย่าง เอกลักษณ์ของแบบแผนชีลวี่สรุปได้ดังนี้ (ดูรูปประกอบขวาล่าง) - จังหวะของวรรคท้ายในประโยคแรกและประโยคสามเหมือนกัน และต่อเนื่องมาถึงจังหวะของวรรคแรกในประโยคสองและวรรคแรกในประโยคสุดท้ายก็เหมือนกัน - ลงท้ายทุกประโยคด้วยเสียงเบาซึ่งทำให้จำนวนอักษรที่สามารถนำมาใช้ได้นั้นมีจำนวนจำกัดยิ่งขึ้น และ - จังหวะเข้มเบาของวรรคแรกและวรรคจบต้องเหมือนกันเชื่อว่าเพื่อนเพจคงรู้สึกเหมือน Storyฯ แล้วว่า การที่จะใช้อักษรให้สื่อความหมายได้ตามต้องการและยังอยู่ในกรอบแบบแผนจังหวะเสียงที่ว่ามานี้ยากมากและกวีผู้นั้นต้องมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาสูงมาก เท่านี้ยังไม่พอ ดีกรีความเข้มข้นของภาษาของกลอนบทนี้คือประเด็นสุดท้ายจะกล่าวถึงประเด็นสุดท้ายคือ ความเป็นคู่ --- หลายคนมักเข้าใจว่ากลอนจีนต้องมีความคล้องจองของคำ แต่ถ้าเพื่อนเพจดูจากคำออกเสียงที่ Storyฯ ใส่มาให้จะเห็นว่าเสียงไม่คล้องจองกันเลย ดังนั้นจะเห็นว่ากลอนจีนโบราณจริงแล้วให้ความสำคัญกับความคล้องจองของอักษรน้อยกว่าความเป็นคู่ ซึ่งความเป็นคู่อาจหมายถึง ‘คู่เหมือน’ หรือ ‘คู่ขัดแย้ง’ ซึ่ง Storyฯ เคยเกริ่นถึงแล้วในบทความเกี่ยวกับรหัสลับจาก <ข้ามภูผาหาญท้าลิขิตรัก> (https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid02a8RcKiQmJ1GyrL2pkPs4dKmeZDnuti8guSaVo2VgSTcG9obtJoguAX62Mx4DgbQLl) เพื่ออธิบายประเด็นความเป็นคู่นี้ Storyฯ เลยแปลและเรียบเรียงบทกวีนี้โดยไม่เน้นความไพเราะหรือความพลิ้วพราย แต่พยายามคงเอกลักษณ์ความเป็นคู่ของวรรคแรกและวรรคหลังของแต่ละประโยคไว้ (ดูรูปประกอบขวาบนนะคะ) จะเห็นว่าความเป็นคู่นี้มีลูกเล่นได้หลากหลาย อาทิ - คุณศัพท์ขยายนาม เช่นในประโยคแรก ลมแรง <-> น้ำใส และ ฟ้าสูง <-> ทรายขาว ; ประโยคสาม หมื่นลี้ <-> ร้อยปี- นามและกิริยา เช่นในประโยคแรก ลิงหวนไห้ <-> นกบินกลับ; - คำซ้ำๆ เหมือนกัน เช่นในประโยคที่สอง โปรยโปรย <-> ม้วนม้วน- คำที่ความหมายคล้ายคลึงด้วยจำนวนอักษรเท่ากัน เช่นในประโยคที่สอง ไร้ขอบเขต <-> ไม่สิ้นสุด- อารมณ์ที่ขัดแย้งกัน เช่นในประโยคสาม วรรคแรก ‘หมั่นมาเยือน’ ให้อารมณ์ความคึกคักขัดแย้งกับวรรคหลัง ‘ปีนหอเดียวดาย’ - อารมณ์สอดคล้องกัน เช่นในประโยคสุดท้ายที่ล้วนบรรยายถึงความยากลำบากทางกายและความระทมทางใจและหากเพื่อนเพจสังเกตดีๆ นอกจากความเป็นคู่ของคำที่ใช้แล้ว จะเห็นว่าตำแหน่งของคำเหล่านี้ล้วนเป็นตำแหน่งเดียวกันในวรรคแรกและวรรคหลัง ซึ่งเป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ของความเป็นคู่Storyฯ ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณกรรมจีน แต่ที่พยายามแปลและยกมาเล่าให้ฟังนี้ เพื่อที่เพื่อนเพจจะได้อรรถรสถึงความซับซ้อนของกวีจีนโบราณ บ่อยครั้งที่เราได้ยินคำแปลกลอนจีนที่ไพเราะสละสลวยได้อารมณ์และความหมาย แต่ไม่เคยรู้เลยว่าคำแปลนั้นไม่สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ทางเทคนิคของบทกลอน Storyฯ เองเวลาแปลบทกวีจีนก็มักจะมองข้ามเอกลักษณ์ทางเทคนิคเช่นกัน และเอกลักษณ์ทางเทคนิคเหล่านี้นี่เองที่ช่วยเสริมให้บทกวี ‘เติงเกา’ ของตู้ฝู่บทนี้ได้รับการยกย่องให้เป็นสุดยอดแห่งกลอนเจ็ดชีลวี่ยาวนานกว่าหนึ่งพันปี ทีนี้เข้าใจกันแล้วนะคะว่าบทกวีนี้เป็น ‘ที่สุด’ ได้อย่างไร(ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)Credit รูปภาพจาก: https://www.thepaper.cn/newsDetail_forward_5325467 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:https://www.sohu.com/a/604660125_121119376 https://www.toutiao.com/article/6824075960027972109/?&source=m_redirect https://www.sohu.com/a/138168554_146329https://baike.baidu.com/item/登高/7605079 https://baike.baidu.com/item/七言律诗/10294898 #หาญท้าชะตาฟ้า ปริศนายุทธจักร #กลอนเจ็ดจีนโบราณ #ชีลวี่ #เกาเติง #กวีสมัยถัง #ตู้ฝู่
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1369 มุมมอง 0 รีวิว
  • เที่ยวภูเขาสี่ดรุณี ช่วงไหนดี?

    ภูเขาสี่ดรุณี
    อยู่มณฑลเสฉวน ประเทศจีน
    อุทยานแห่งชาติระดับ 5A

    ได้รับฉายาว่า 'ภูเขาแอลป์แห่งเมืองจีน'
    หรือ 'สวิตเซอร์แลนด์แห่งเสฉวน'

    เที่ยวได้ตลอดทั้งปี
    มีทั้งหมด 4 ฤดูกาล

    🍃 ฤดูใบไม้ผลิ : มีนาคม - พฤษภาคม
    อุณหภูมิเฉลี่ย -5 ถึง 16 องศา
    หิมะละลาย ดอกไม้เบ่งบาน
    ทุ่งหญ้าเขียวขจี

    ☀ ฤดูร้อน : มิถุนายน - สิงหาคม
    อุณหภูมิเฉลี่ย 17 ถึง 30 องศา
    อากาศกลางวันอุ่น กลางคืนจะหนาวเย็น
    ดอกไม้บานสวยงามเต็มหุบเขา

    🍂 ฤดูใบไม้ร่วง : กันยายน - พฤศจิกายน
    อุณหภูมิเฉลี่ย -8 ถึง 16 องศา
    อากาศหนาวเย็นขึ้น ใบไม้เปลี่ยนสี
    ต้นไม้สีเหลืองทองสลับกับสีแดง

    ❄ ฤดูหนาว : ธันวาคม - กุมภาพันธ์
    อุณหภูมิเฉลี่ย -14 ถึง 5 องศา
    อากาศหนาวเย็นยะเยือก
    หิมะขาวโพลนปกคลุมทั่วบริเวณ

    👍 ฤดูที่ดีที่สุดในการท่องเที่ยว
    ฤดูใบไม้ผลิ และ ฤดูร้อน
    ต้นไม้เขียวขจี ท้องฟ้าสดใส

    LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307
    Facebook: etravelway 78s.me/8a4061
    Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5
    Tiktok : https://78s.me/543eb9
    📷: etravelway 78s.me/05e8da
    ☎️: 0 2116 6395

    #ทัวร์จีน #ภูเขาสี่ดรุณี #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway
    #thaitimes #News1 #คิงส์โพธิ์แดง #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    เที่ยวภูเขาสี่ดรุณี ช่วงไหนดี? ภูเขาสี่ดรุณี อยู่มณฑลเสฉวน ประเทศจีน อุทยานแห่งชาติระดับ 5A ได้รับฉายาว่า 'ภูเขาแอลป์แห่งเมืองจีน' หรือ 'สวิตเซอร์แลนด์แห่งเสฉวน' เที่ยวได้ตลอดทั้งปี มีทั้งหมด 4 ฤดูกาล 🍃 ฤดูใบไม้ผลิ : มีนาคม - พฤษภาคม อุณหภูมิเฉลี่ย -5 ถึง 16 องศา หิมะละลาย ดอกไม้เบ่งบาน ทุ่งหญ้าเขียวขจี ☀ ฤดูร้อน : มิถุนายน - สิงหาคม อุณหภูมิเฉลี่ย 17 ถึง 30 องศา อากาศกลางวันอุ่น กลางคืนจะหนาวเย็น ดอกไม้บานสวยงามเต็มหุบเขา 🍂 ฤดูใบไม้ร่วง : กันยายน - พฤศจิกายน อุณหภูมิเฉลี่ย -8 ถึง 16 องศา อากาศหนาวเย็นขึ้น ใบไม้เปลี่ยนสี ต้นไม้สีเหลืองทองสลับกับสีแดง ❄ ฤดูหนาว : ธันวาคม - กุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ย -14 ถึง 5 องศา อากาศหนาวเย็นยะเยือก หิมะขาวโพลนปกคลุมทั่วบริเวณ 👍 ฤดูที่ดีที่สุดในการท่องเที่ยว ฤดูใบไม้ผลิ และ ฤดูร้อน ต้นไม้เขียวขจี ท้องฟ้าสดใส LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307 Facebook: etravelway 78s.me/8a4061 Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5 Tiktok : https://78s.me/543eb9 📷: etravelway 78s.me/05e8da ☎️: 0 2116 6395 #ทัวร์จีน #ภูเขาสี่ดรุณี #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway #thaitimes #News1 #คิงส์โพธิ์แดง #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1024 มุมมอง 23 0 รีวิว
  • ❤️ #รีวิว เส้นทาง #จิ่วจ้ายโกว #เฉิงตู จากคุณสุรัตน์ นะคะ❤️
    เมื่อวันที่ 23-27 ต.ค.67 ที่ผ่านมานะคะ
    ❤️ขอขอบพระคุณมากๆเลยนะคะที่ไว้ใจทาง eTravelWay.com
    แอดมินประทับใจเสมอที่เห็นภาพสวยๆจากผู้เดินทาง และเป็นกำลังใจกับพวกเราค่ะ😘

    ⭐️ช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการเที่ยวจิ่วจ้ายโกว คือตั้งแต่เดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน ซึ่งเป็นช่วงที่ใบไม้เปลี่ยนสีทำให้ทิวทัศน์สวยงามที่สุด แต่ถ้ามาในช่วงฤดูหนาว คุณจะได้เห็นวิวหิมะบนยอดเขาและทะเลสาบที่เป็นน้ำแข็งที่สวยงามเช่นกัน

    ดูทัวร์จีนทั้งหมดได้ที่
    https://78s.me/e40ba7

    LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307
    Facebook: etravelway 78s.me/8a4061
    Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5
    Tiktok : https://78s.me/543eb9
    📷: etravelway 78s.me/05e8da
    ☎️: 0 2116 6395

    #ทัวร์จีน #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway
    ❤️ #รีวิว เส้นทาง #จิ่วจ้ายโกว #เฉิงตู จากคุณสุรัตน์ นะคะ❤️ เมื่อวันที่ 23-27 ต.ค.67 ที่ผ่านมานะคะ ❤️ขอขอบพระคุณมากๆเลยนะคะที่ไว้ใจทาง eTravelWay.com แอดมินประทับใจเสมอที่เห็นภาพสวยๆจากผู้เดินทาง และเป็นกำลังใจกับพวกเราค่ะ😘 ⭐️ช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการเที่ยวจิ่วจ้ายโกว คือตั้งแต่เดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน ซึ่งเป็นช่วงที่ใบไม้เปลี่ยนสีทำให้ทิวทัศน์สวยงามที่สุด แต่ถ้ามาในช่วงฤดูหนาว คุณจะได้เห็นวิวหิมะบนยอดเขาและทะเลสาบที่เป็นน้ำแข็งที่สวยงามเช่นกัน ดูทัวร์จีนทั้งหมดได้ที่ https://78s.me/e40ba7 LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307 Facebook: etravelway 78s.me/8a4061 Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5 Tiktok : https://78s.me/543eb9 📷: etravelway 78s.me/05e8da ☎️: 0 2116 6395 #ทัวร์จีน #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 702 มุมมอง 0 รีวิว