• อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์เจ็ด
    สัทธรรมลำดับที่ : 326
    ชื่อบทธรรม :- สังโยชน์เจ็ด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สังโยชน์เจ็ด
    --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ (สิ่งผูกพัน) ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา
    เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า ? เจ็ดอย่าง คือ
    ๑.อนุนยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือกามราคะเป็นเหตุให้ติดตาม) ๑
    ๒.ปฏิฆสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความโกรธไม่ได้อย่างใจ) ๑
    ๓.ทิฏฐิสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความเห็นผิด) ๑
    ๔.วิจิกิจฉาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความลังเลสงสัย) ๑
    ๕.มานสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความสำคัญตน) ๑
    ๖.ภวราคสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความกำหนัดในภพ) ๑
    ๗.อวิชชาสัญโญชน์ (สังโยชน์คืออวิชชา) ๑.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสัญโญชน์ ๗ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง สัญโญชน์ ๗ อย่าง.
    เจ็ดอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง
    อนุนยสัญโญชน์ ๑
    ปฏิฆสัญโญชน์ ๑
    ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑
    วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑
    มานสัญโญชน์ ๑
    ภวราคสัญโญชน์ ๑
    อวิชชาสัญโญชน์ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้
    เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่งสัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้แล.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล,
    อนุนยสัญโญชน์ก็ดี
    ปฏิฆสัญโญชน์ก็ดี
    ทิฏฐิสัญโญชน์ก็ดี
    วิจิกิจฉาสัญโญชน์ก็ดี
    มานสัญโญชน์ก็ดี
    ภวราคสัญโญชน์ก็ดี
    อวิชชาสัญโญชน์ก็ดี
    เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว มีรากเง่าอันตัดขาดแล้ว
    ทำให้เหมือนตาลยอดเน่า ทำให้มีไม่ได้ ทำให้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ได้อีกต่อไป ;
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้น, ภิกษุนี้ เราเรียกว่า
    “ตัดตัณหาได้แล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์
    #เพราะรู้จักหน้าตาของมานะอย่างถูกต้องแล้ว”
    http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัยสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/7-8/8-9.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/7/?keywords=%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗-๘/๘-๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=326
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสังโยชน์เจ็ด สัทธรรมลำดับที่ : 326 ชื่อบทธรรม :- สังโยชน์เจ็ด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326 เนื้อความทั้งหมด :- --สังโยชน์เจ็ด --ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ (สิ่งผูกพัน) ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า ? เจ็ดอย่าง คือ ๑.อนุนยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือกามราคะเป็นเหตุให้ติดตาม) ๑ ๒.ปฏิฆสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความโกรธไม่ได้อย่างใจ) ๑ ๓.ทิฏฐิสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความเห็นผิด) ๑ ๔.วิจิกิจฉาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความลังเลสงสัย) ๑ ๕.มานสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความสำคัญตน) ๑ ๖.ภวราคสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความกำหนัดในภพ) ๑ ๗.อวิชชาสัญโญชน์ (สังโยชน์คืออวิชชา) ๑. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสัญโญชน์ ๗ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง สัญโญชน์ ๗ อย่าง. เจ็ดอย่างเหล่าไหนเล่า ? --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑ มานสัญโญชน์ ๑ ภวราคสัญโญชน์ ๑ อวิชชาสัญโญชน์ ๑. --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่งสัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้แล. --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล, อนุนยสัญโญชน์ก็ดี ปฏิฆสัญโญชน์ก็ดี ทิฏฐิสัญโญชน์ก็ดี วิจิกิจฉาสัญโญชน์ก็ดี มานสัญโญชน์ก็ดี ภวราคสัญโญชน์ก็ดี อวิชชาสัญโญชน์ก็ดี เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว มีรากเง่าอันตัดขาดแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดเน่า ทำให้มีไม่ได้ ทำให้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ได้อีกต่อไป ; --ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้น, ภิกษุนี้ เราเรียกว่า “ตัดตัณหาได้แล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ #เพราะรู้จักหน้าตาของมานะอย่างถูกต้องแล้ว” http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=สญฺโญชนา ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัยสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/7-8/8-9. http://etipitaka.com/read/thai/23/7/?keywords=%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗-๘/๘-๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/7/?keywords=%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=326 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=326 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สังโยชน์เจ็ด
    -สังโยชน์เจ็ด ภิกษุ ท. ! สัญโญชน์ (สิ่งผูกพัน) ๗ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. เจ็ดอย่าง อย่างไรเล่า ? เจ็ดอย่าง คือ อนุนยสัญโญชน์ (สังโยชน์คือกามราคะเป็นเหตุให้ติดตาม) ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความโกรธไม่ได้อย่างใจ) ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความเห็นผิด) ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความลังเลสงสัย) ๑ มานสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความสำคัญตน) ๑ ภวราคสัญโญชน์ (สังโยชน์คือความกำหนัดในภพ) ๑ อวิชชาสัญโญชน์ (สังโยชน์คืออวิชชา) ๑. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือสัญโญชน์ ๗ อย่าง. ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง สัญโญชน์ ๗ อย่าง. เจ็ดอย่างเหล่าไหนเล่า ? ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่ง อนุนยสัญโญชน์ ๑ ปฏิฆสัญโญชน์ ๑ ทิฏฐิสัญโญชน์ ๑ วิจิกิจฉาสัญโญชน์ ๑ มานสัญโญชน์ ๑ ภวราคสัญโญชน์ ๑ อวิชชาสัญโญชน์ ๑. ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์ที่ประพฤติกันอยู่นี้ เพื่อละเพื่อตัดขาด ซึ่งสัญโญชน์ ๗ อย่างเหล่านี้แล. ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล, อนุนยสัญโญชน์ก็ดี ปฏิฆสัญโญชน์ก็ดี ทิฏฐิสัญโญชน์ก็ดี วิจิกิจฉาสัญโญชน์ก็ดี มานสัญโญชน์ก็ดี ภวราคสัญโญชน์ก็ดี อวิชชาสัญโญชน์ก็ดี เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว มีรากเง่าอันตัดขาดแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดเน่า ทำให้มีไม่ได้ ทำให้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ได้อีกต่อไป ; ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้น, ภิกษุนี้ เราเรียกว่า “ตัดตัณหาได้แล้ว รื้อถอนสัญโญชน์ได้แล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์ เพราะรู้จักหน้าตาของมานะอย่าง ถูกต้องแล้ว” ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 67 Views 0 Reviews