• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งการละอวิชชา
    สัทธรรมลำดับที่ : 626
    ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ
    ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?”
    --ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ....
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?”
    --ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไปวิชชาย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
    อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?”
    --ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า
    “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)”
    ดังนี้.
    --ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า
    “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น”
    ดังนี้ แล้วไซร้,
    +-ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ;
    ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ;
    ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว
    เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง โดยประการอื่น*--๑;
    คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ;
    เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม
    ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น.

    (ในกรณีแห่ง
    โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... มนะ... และ
    ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วย
    โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... และมนะ...
    นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ
    และธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ
    ต่างกันแต่ชื่อ
    ).

    --ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล #อวิชชาจึงจะละไปวิชชาจึงจะเกิดขึ้น.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ
    จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ;
    เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น
    : นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น.
    คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก
    หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย.

    *--๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/62/96.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/50/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๖๒/๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=626
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการแห่งการละอวิชชา สัทธรรมลำดับที่ : 626 ชื่อบทธรรม :- อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ.... --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?” --ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไปวิชชาย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)” ดังนี้. --ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น” ดังนี้ แล้วไซร้, +-ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง โดยประการอื่น*--๑; คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง รูปทั้งหลาย โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น. (ในกรณีแห่ง โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... มนะ... และ ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วย โสตะ... ฆานะ... ชิวหา... กายะ... และมนะ... นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ และธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ ต่างกันแต่ชื่อ ). --ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล #อวิชชาจึงจะละไปวิชชาจึงจะเกิดขึ้น.- http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=อวิชฺชา+ปหิยฺยติ+วิชฺชา+อุปฺปชฺชตีติ จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ; เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น : นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น. คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย. *--๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/62/96. http://etipitaka.com/read/thai/18/50/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๖๒/๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/62/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=626 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=626 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ
    -(ตามธรรมดาการดับแห่งตัณหานี้ ตรัสเรียกว่า ทุกขนิโรธ แต่ในสูตรนี้ตรัสเรียกว่าสักกายนิโรธ. ในสูตรอื่น (๑๗/๑๙๒/๒๗๗) ตรัสเรียกว่า สักกายนิโรธันตะ ก็มี). อาการแห่งการละอวิชชา โดยย่อ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งมีอยู่หรือไม่หนอ ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้น มีอยู่แล ....ฯลฯ.... “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ธรรมอย่างหนึ่งนั้คืออะไรเล่าหนอ ....ฯลฯ.... ?” ภิกษุ ! อวิชชา นั่นแล เป็นธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง เมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ได้สดับแล้ว ย่อมมีอยู่ว่า“สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น (ว่าเป็นตัวเรา-ของเรา)” ดังนี้. ภิกษ ุ! ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อนั้นอย่างนี้ว่า “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันใคร ๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น” ดังนี้แล้วไซร้, ภิกษุนั้นย่อม รู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ; ครั้นรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว เธอย่อม เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง ; โดยประการอื่น๑ ; คือ ย่อมเห็นซึ่ง จักษุ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง รูป ทั้งหลายโดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุวิญญาณ โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง จักขุสัมผัส โดยประการอื่น ; เห็นซึ่ง เวทนา อันเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม อทุกขมสุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยประการอื่น. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ มนะ และ ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตต์ด้วยโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ นั้น ๆ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้มีนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุและธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตต์ด้วยจักษุ ต่างกันแต่ชื่อ). ๑. เมื่อบุคคลรู้แจ้งสิ่งทั้งปวงโดยถูกต้องแล้ว ย่อมเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น จากที่เขาเคยเห็น เมื่อยังไม่รู้แจ้ง ; เช่น เมื่อก่อนเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง บัดนี้ย่อมเห็นโดยเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น: นี้เรียกว่าเห็นโดยประการอื่น. คำว่า นิมิต หมายถึงลักษณะหนึ่งๆของสิ่งต่าง ๆ ที่ เป็นเครื่องสังเกต หรือรู้สึก หรือยึดถือ หรือสำคัญมั่นหมาย. ภิกษุ ! เมื่อภิกษุรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น.
    0 Comments 0 Shares 93 Views 0 Reviews