• 💥💥SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชณ์ ได้คาดการณ์
    ภาวะเศรษฐกิจไทย ในปีหน้า 2568 ดังนี้

    1.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของไทย (GDP ประเทศไทย)

    SCB EIC ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจไทยปี 2568 เหลือ 2.4%
    จากเดิมที่คาดไว้ 2.6% เนื่องจากผลกระทบของนโยบาย
    "Trump 2.0" ที่อาจเพิ่มความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์
    และการกีดกันทางการค้าอย่างรุนแรง ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจไทย
    ผ่านช่องทางการค้า การผลิต และการลงทุนเป็นหลัก

    สำหรับเศรษฐกิจไทยปี 2567 SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์
    การขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็น 2.7% จากเดิม 2.5%
    โดยเหตุผลหลักมาจากมาตรการแจกเงิน 10,000 บาท
    เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางที่เริ่มตั้งแต่ปลายไตรมาส 3
    การใช้จ่ายของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งเบิกงบประมาณ
    รวมถึงการส่งออกสินค้าที่กลับมาฟื้นตัว

    นอกจากนี้ ยังมีการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
    ในช่วงสองเดือนสุดท้ายของปี ซึ่งช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม

    1.2 อัตราเงินเฟ้อของไทย
    SCB EIC ประเมินว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไทยในปี 2567
    จะอยู่ที่ 0.5% สำหรับปีหน้า (2568) จะอยู่ที่ 1%
    (ประเมิน ณ เดือน พ.ย. 2567)

    1.3 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย
    SCB EIC คาดการณ์ว่า ในการประชุมเดือน ธ.ค. นี้ กนง.
    จะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้เช่นเดิม ตามแนวทางที่ กนง.
    สื่อสารไว้เกี่ยวกับการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงิน
    (Policy space) เพื่อรับมือกับความไม่แน่นอนในระบบเศรษฐกิ
    จและการเงินของไทยในอนาคต

    อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่า กนง. อาจตัดสินใจลดดอกเบี้ย
    นโยบายลงอีก 0.25% ในการประชุมเดือน ก.พ. 2568
    เพื่อช่วยผ่อนคลายสภาพคล่องทางการเงินเพิ่มเติม
    และเศรษฐกิจไทยจะมีความเสี่ยงด้านลบเพิ่มขึ้นจากนโยบาย
    Trump 2.0

    ที่มา : SCBEIC

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ภาวะเศรษฐกิจไทย2568
    #SCBEIC #thaitimes
    💥💥SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชณ์ ได้คาดการณ์ ภาวะเศรษฐกิจไทย ในปีหน้า 2568 ดังนี้ 1.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของไทย (GDP ประเทศไทย) SCB EIC ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจไทยปี 2568 เหลือ 2.4% จากเดิมที่คาดไว้ 2.6% เนื่องจากผลกระทบของนโยบาย "Trump 2.0" ที่อาจเพิ่มความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ และการกีดกันทางการค้าอย่างรุนแรง ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจไทย ผ่านช่องทางการค้า การผลิต และการลงทุนเป็นหลัก สำหรับเศรษฐกิจไทยปี 2567 SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์ การขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็น 2.7% จากเดิม 2.5% โดยเหตุผลหลักมาจากมาตรการแจกเงิน 10,000 บาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางที่เริ่มตั้งแต่ปลายไตรมาส 3 การใช้จ่ายของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งเบิกงบประมาณ รวมถึงการส่งออกสินค้าที่กลับมาฟื้นตัว นอกจากนี้ ยังมีการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในช่วงสองเดือนสุดท้ายของปี ซึ่งช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม 1.2 อัตราเงินเฟ้อของไทย SCB EIC ประเมินว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไทยในปี 2567 จะอยู่ที่ 0.5% สำหรับปีหน้า (2568) จะอยู่ที่ 1% (ประเมิน ณ เดือน พ.ย. 2567) 1.3 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย SCB EIC คาดการณ์ว่า ในการประชุมเดือน ธ.ค. นี้ กนง. จะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้เช่นเดิม ตามแนวทางที่ กนง. สื่อสารไว้เกี่ยวกับการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงิน (Policy space) เพื่อรับมือกับความไม่แน่นอนในระบบเศรษฐกิ จและการเงินของไทยในอนาคต อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่า กนง. อาจตัดสินใจลดดอกเบี้ย นโยบายลงอีก 0.25% ในการประชุมเดือน ก.พ. 2568 เพื่อช่วยผ่อนคลายสภาพคล่องทางการเงินเพิ่มเติม และเศรษฐกิจไทยจะมีความเสี่ยงด้านลบเพิ่มขึ้นจากนโยบาย Trump 2.0 ที่มา : SCBEIC #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ภาวะเศรษฐกิจไทย2568 #SCBEIC #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 455 มุมมอง 0 รีวิว
  • 01/12/67 แอดมิน นั่งทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 2 ตัว ที่มีราคาเหมาะสม และจังหวะในการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    01/12/67 แอดมิน นั่งทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 2 ตัว ที่มีราคาเหมาะสม และจังหวะในการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 359 มุมมอง 0 รีวิว
  • 29/11/2567 สิ่งที่น่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน และโบรก คือ คนซื้อหลักของวันนี้ ส่วนนักลงทุนต่างประเทศ และ นักลงทุนในประเทศ คือ คนขายหลักในวันนี้ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #Thaitimes
    29/11/2567 สิ่งที่น่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน และโบรก คือ คนซื้อหลักของวันนี้ ส่วนนักลงทุนต่างประเทศ และ นักลงทุนในประเทศ คือ คนขายหลักในวันนี้ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 332 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥แอดมิน นั่งทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 2 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    💥แอดมิน นั่งทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 2 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 541 มุมมอง 0 รีวิว
  • 21/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้
    สิ่งที่น่่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน
    และ นักลงทุนในประเทศ คือ คนซื้อหุ้นไทย
    หลักๆ ในวันนี้

    ส่วนนักลงทุนต่างประเทศ และ โบรก
    คือ คนขายหุ้นไทยในวันนี้

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    21/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้ สิ่งที่น่่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน และ นักลงทุนในประเทศ คือ คนซื้อหุ้นไทย หลักๆ ในวันนี้ ส่วนนักลงทุนต่างประเทศ และ โบรก คือ คนขายหุ้นไทยในวันนี้ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 499 มุมมอง 0 รีวิว
  • 20/11/2567 วันนี้ตลาดหุ้นไทย
    สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนต่างประเทศ,
    กองทุน หรือ สถาบัน และ โบรก
    คือ ผู้ขายหลักในวันนี้

    ส่วนนักลงทุนในประเทศ คือ ผู้ซื้อหลัก

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    20/11/2567 วันนี้ตลาดหุ้นไทย สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนต่างประเทศ, กองทุน หรือ สถาบัน และ โบรก คือ ผู้ขายหลักในวันนี้ ส่วนนักลงทุนในประเทศ คือ ผู้ซื้อหลัก #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 410 มุมมอง 0 รีวิว
  • แอดมิน นั่งทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100
    สัปดาห์นี้พบหุ้น ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะ
    การซื้อที่ดีจำนวน ศูนย์ ตัว 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitime
    แอดมิน นั่งทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100 สัปดาห์นี้พบหุ้น ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะ การซื้อที่ดีจำนวน ศูนย์ ตัว 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitime
    Wow
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 440 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥11/11/2567 ตลาดหุ้นไทย
    สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ, โบรก
    และ สถาบัน หรือ กองทุน คือ คนขายหุ้นไทยหลัก

    ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยในวันนี้คือ นักลงทุนในประเทศ

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    💥11/11/2567 ตลาดหุ้นไทย สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ, โบรก และ สถาบัน หรือ กองทุน คือ คนขายหุ้นไทยหลัก ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยในวันนี้คือ นักลงทุนในประเทศ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 487 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥แอดมิน นั่งทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และ จังหวะการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    💥แอดมิน นั่งทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และ จังหวะการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 595 มุมมอง 0 รีวิว
  • 06/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้ สิ่งที่น่าสนใจคือ
    นักลงทุนในประเทศ และสถาบันหรือกองทุน
    คือผู้ซื้อหุ้นไทยในวันนี้ ส่วนคนขายหุ้นไทยหลักๆ
    คือ นักลงทุนต่างประเทศ และ โบรก
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    06/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้ สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนในประเทศ และสถาบันหรือกองทุน คือผู้ซื้อหุ้นไทยในวันนี้ ส่วนคนขายหุ้นไทยหลักๆ คือ นักลงทุนต่างประเทศ และ โบรก #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 373 มุมมอง 0 รีวิว
  • 05/11/2567 วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ
    สถาบัน หรือ กองทุน และ นักลงทุนต่างประเทศ
    คือ คนซื้อหุ้นไทยหลักๆ

    ส่วนนักลงทุนในประเทศ และ โบรก คือ คนขายหุ้นไทยในวันนี้
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    05/11/2567 วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน และ นักลงทุนต่างประเทศ คือ คนซื้อหุ้นไทยหลักๆ ส่วนนักลงทุนในประเทศ และ โบรก คือ คนขายหุ้นไทยในวันนี้ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 524 มุมมอง 0 รีวิว
  • แอดมิน ทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    แอดมิน ทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 606 มุมมอง 0 รีวิว
  • 01/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้
    สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนต่างประเทศ คือ
    ผู้ขายหุ้นไทย หลักๆ ในวันนี้

    ส่วนผู้ที่ซื้อหลักในวันนี้ คือ นักลงทุนสถาบัน
    หรือ กองทุน สมทบด้วย โบรก และ นักลงทุนในประเทศ
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    01/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้ สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนต่างประเทศ คือ ผู้ขายหุ้นไทย หลักๆ ในวันนี้ ส่วนผู้ที่ซื้อหลักในวันนี้ คือ นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน สมทบด้วย โบรก และ นักลงทุนในประเทศ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 622 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥30/10/2567 ตลาดหุ้นไทย
    สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ
    คือ ผู้ขายหุ้นไทยหลักๆในวันนี้

    ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยหลักๆในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ
    สมทบการซื้อด้วย นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน
    และ โบรกเกอร์

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    💥💥30/10/2567 ตลาดหุ้นไทย สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ คือ ผู้ขายหุ้นไทยหลักๆในวันนี้ ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยหลักๆในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ สมทบการซื้อด้วย นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน และ โบรกเกอร์ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 525 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥หนังสือพิมพ์ U.S.News จัดสหรัฐอเมริกา
    ได้เผยแพร่ผลการจัดอันดับ
    ประเทศที่มีมรดกทางวัฒนธรรมมากที่สุดในโลก
    ประจำปี 2567 พบว่า ประเทศไทย อยู่อันดับที่ 8 ของโลก
    จากจำนวน 89 ประเทศทั่วโลก
    ส่วอันดับ 1 คือ กรีซ ,อันดับ 2 คือ อิตาลี, อันดับ 3 คือ สเปน

    ที่มา : U.S.News

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    💥💥หนังสือพิมพ์ U.S.News จัดสหรัฐอเมริกา ได้เผยแพร่ผลการจัดอันดับ ประเทศที่มีมรดกทางวัฒนธรรมมากที่สุดในโลก ประจำปี 2567 พบว่า ประเทศไทย อยู่อันดับที่ 8 ของโลก จากจำนวน 89 ประเทศทั่วโลก ส่วอันดับ 1 คือ กรีซ ,อันดับ 2 คือ อิตาลี, อันดับ 3 คือ สเปน ที่มา : U.S.News #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 445 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥สุดยอด ปรบมือ!! ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
    ประสานความร่วมมือ ยกระดับการทำหน้าที่กำกับดูแล
    ตลาดทุนร่วมกัน ให้มีประสิทธิภาพยอดเยี่ยม มากยิ่งขึ้น

    บันทึกความเข้าใจฉบับนี้ได้มีการปรับปรุงกรอบการ
    ทำงานร่วมกันของทั้ง 2 องค์กรในงานด้านกำกับดูแล
    ให้มีความชัดเจน ลดความซ้ำซ้อน รวมถึงสอดรับกับระบบนิเวศ
    และการเปลี่ยนแปลงของตลาดทุนในปัจจุบัน
    ตลอดจนสามารถรองรับกับแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
    ได้แก่

    (1) การกำกับดูแลบริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน
    และการกำกับดูแลบริษัทจดทะเบียน

    (2) การกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และสมาชิก
    ของตลาดหลักทรัพย์ฯ

    (3) การติดตามดูแลการซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียน
    และการบังคับใช้กฎหมาย และ

    (4) การออกระเบียบข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ
    อีกทั้งจะเพิ่มการสนับสนุนและแลกเปลี่ยนข้อมูลการกำกับดูแล
    ระหว่างกัน เพื่อให้การทำหน้าที่ของแต่ละองค์กรมีประสิทธิภาพ
    มากยิ่งขึ้น เช่น การร่วมกันพิจารณาคำขอกรณีการจดทะเบียนโดยอ้อม
    (Backdoor Listing) การขอย้ายกลับมาซื้อขายของบริษัทจดทะเบียน
    หลังแก้ไขเหตุอาจถูกเพิกถอน (Resume Trading) เพื่อให้กระบวนการ
    พิจารณา มีมาตรฐานเทียบเท่าการรับหลักทรัพย์จดทะเบียนใหม่
    และยังจะมีการร่วมกันกำหนดหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
    หากเห็นว่ากฎเกณฑ์ที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอที่จะช่วยสนับสนุน ป้องปราม
    หรือยับยั้งพฤติกรรมที่อาจนำไปสู่การซื้อขายหลักทรัพย์ที่ไม่เป็นธรรม
    ในตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นต้น

    อีกทั้งบันทึกความเข้าใจฉบับนี้ยังครอบคลุมถึงแนวทางการทำงาน
    และการประสานงานร่วมกัน ทั้งในระดับคณะกรรมการและฝ่ายจัดการ
    ของทั้ง 2 องค์กร เพื่อให้การขับเคลื่อนทิศทางนโยบายการพัฒนา
    ตลาดทุน การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันกับตลาดทุนอื่น
    และการกำกับดูแลตลาดทุนของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ
    มีความสอดคล้องกันมากยิ่งขึ้น

    นอกจากนี้ ทั้ง 2 องค์กรยังมีการหารือในประเด็นที่จะขับเคลื่อน
    ร่วมกันที่สำคัญ ดังนี้

    (1) การสร้างระบบนิเวศ (ecosystem) หลักทรัพย์อิเล็กทรอนิกส์
    เพื่อรองรับการพัฒนาการลงทุนในรูปแบบใหม่ ที่อยู่ระหว่างปรับปรุง
    พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

    (2) การสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า (value up) ของบริษัทจดทะเบียน
    เพื่อสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจให้บริษัทจดทะเบียนมุ่งมั่น
    ที่จะเสริมศักยภาพและมูลค่าของตัวเอง สื่อสารกับนักลงทุน
    อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกเหนือจากที่รัฐบาลได้สนับสนุน
    การขยายรายชื่อหลักทรัพย์ที่กองทุน Thai ESG สามารถลงทุนได้

    (3) การส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนตามมาตรฐาน
    International Sustainability Standards Board (ISSB)
    ซึ่ง ก.ล.ต. อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมและขอความร่วมมือ
    จากตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการสนับสนุนและต่อยอดการดำเนินการ
    และการทำความเข้าใจกับบริษัทจดทะเบียน

    (4) การส่งเสริมผู้ลงทุนให้มีความรู้ (investor empowerment)
    ผ่าน Open Data ของภาคตลาดทุนและภาคการเงิน เพื่อให้ผู้ลงทุน
    สามารถใช้ข้อมูลของตนที่อยู่กับผู้ประกอบธุรกิจได้อย่างมี
    ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

    ที่มา ก.ล.ต.
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    💥💥สุดยอด ปรบมือ!! ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประสานความร่วมมือ ยกระดับการทำหน้าที่กำกับดูแล ตลาดทุนร่วมกัน ให้มีประสิทธิภาพยอดเยี่ยม มากยิ่งขึ้น บันทึกความเข้าใจฉบับนี้ได้มีการปรับปรุงกรอบการ ทำงานร่วมกันของทั้ง 2 องค์กรในงานด้านกำกับดูแล ให้มีความชัดเจน ลดความซ้ำซ้อน รวมถึงสอดรับกับระบบนิเวศ และการเปลี่ยนแปลงของตลาดทุนในปัจจุบัน ตลอดจนสามารถรองรับกับแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ได้แก่ (1) การกำกับดูแลบริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน และการกำกับดูแลบริษัทจดทะเบียน (2) การกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และสมาชิก ของตลาดหลักทรัพย์ฯ (3) การติดตามดูแลการซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียน และการบังคับใช้กฎหมาย และ (4) การออกระเบียบข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ อีกทั้งจะเพิ่มการสนับสนุนและแลกเปลี่ยนข้อมูลการกำกับดูแล ระหว่างกัน เพื่อให้การทำหน้าที่ของแต่ละองค์กรมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น เช่น การร่วมกันพิจารณาคำขอกรณีการจดทะเบียนโดยอ้อม (Backdoor Listing) การขอย้ายกลับมาซื้อขายของบริษัทจดทะเบียน หลังแก้ไขเหตุอาจถูกเพิกถอน (Resume Trading) เพื่อให้กระบวนการ พิจารณา มีมาตรฐานเทียบเท่าการรับหลักทรัพย์จดทะเบียนใหม่ และยังจะมีการร่วมกันกำหนดหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง หากเห็นว่ากฎเกณฑ์ที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอที่จะช่วยสนับสนุน ป้องปราม หรือยับยั้งพฤติกรรมที่อาจนำไปสู่การซื้อขายหลักทรัพย์ที่ไม่เป็นธรรม ในตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นต้น อีกทั้งบันทึกความเข้าใจฉบับนี้ยังครอบคลุมถึงแนวทางการทำงาน และการประสานงานร่วมกัน ทั้งในระดับคณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ของทั้ง 2 องค์กร เพื่อให้การขับเคลื่อนทิศทางนโยบายการพัฒนา ตลาดทุน การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันกับตลาดทุนอื่น และการกำกับดูแลตลาดทุนของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ มีความสอดคล้องกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ทั้ง 2 องค์กรยังมีการหารือในประเด็นที่จะขับเคลื่อน ร่วมกันที่สำคัญ ดังนี้ (1) การสร้างระบบนิเวศ (ecosystem) หลักทรัพย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรองรับการพัฒนาการลงทุนในรูปแบบใหม่ ที่อยู่ระหว่างปรับปรุง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (2) การสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า (value up) ของบริษัทจดทะเบียน เพื่อสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจให้บริษัทจดทะเบียนมุ่งมั่น ที่จะเสริมศักยภาพและมูลค่าของตัวเอง สื่อสารกับนักลงทุน อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกเหนือจากที่รัฐบาลได้สนับสนุน การขยายรายชื่อหลักทรัพย์ที่กองทุน Thai ESG สามารถลงทุนได้ (3) การส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนตามมาตรฐาน International Sustainability Standards Board (ISSB) ซึ่ง ก.ล.ต. อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมและขอความร่วมมือ จากตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการสนับสนุนและต่อยอดการดำเนินการ และการทำความเข้าใจกับบริษัทจดทะเบียน (4) การส่งเสริมผู้ลงทุนให้มีความรู้ (investor empowerment) ผ่าน Open Data ของภาคตลาดทุนและภาคการเงิน เพื่อให้ผู้ลงทุน สามารถใช้ข้อมูลของตนที่อยู่กับผู้ประกอบธุรกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ที่มา ก.ล.ต. #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 596 มุมมอง 0 รีวิว
  • 26/10/2567
    แอดมินทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    26/10/2567 แอดมินทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 717 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล
    แนวโน้มธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ และการก่อสร้าง
    ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2567 มีแนวโน้มหดตัว
    จากปัจจัยกดดันด้านการฟื้นตัวของกำลังซื้อ
    และในปี 2568 ยังคงหดตัวต่อเนื่อง
    แต่ในอัตราที่ลดลง

    🚩ตลาดที่อยู่อาศัยยังต้องเผชิญความท้าทายอย่างต่อเนื่อง
    โดยเฉพาะจากการฟื้นตัวช้าของกำลังซื้อ ซึ่งกดดันให้
    ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2567-2568 มีแนวโน้มหดตัวต่อเนื่อง

    🚩ปัจจัยกดดันทางเศรษฐกิจทั้งค่าครองชีพ ค่าใช้จ่าย
    และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง ประกอบกับอัตราดอกเบี้ย
    และความเข้มงวดในการให้สินเชื่อ ยังคงกดดันการฟื้นตัว
    ของตลาดที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลาง-ล่าง
    ที่ส่วนใหญ่ตัดสินใจยังไม่ซื้อที่อยู่อาศัย หรือชะลอการซื้อออกไป

    🚩โดยคาดว่า หน่วยโอนกรรมสิทธิ์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
    ในปี 2567 จะหดตัวราว -10% (เทียบปีต่อปี) และหดตัวต่อเนื่องราว
    -1% ถึง -3% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2568

    🚩ส่วนมูลค่าโอนกรรมสิทธิ์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลในปี 2567
    มีแนวโน้มหดตัวราว -9% (เทียบปีต่อปี) แต่อาจเริ่มทรงตัวได้
    หรือหดตัวเล็กน้อยราว +0% ถึง -2% (ปีต่อปี) ในปี 2568

    🚩ขณะที่การโอนกรรมสิทธิ์ในต่างจังหวัด มีแนวโน้มหดตัว
    ในอัตราที่สูงกว่ากรุงเทพฯ และปริมณฑลเล็กน้อย
    เนื่องจากมีสัดส่วนกำลังซื้อกลุ่มรายได้ปานกลาง-ล่างที่สูงกว่า


    🚩การเปิดโครงการใหม่ในปี 2567-2568 ยังมีแนวโน้มหดตัว
    ต่อเนื่อง จากการที่ผู้ประกอบการระมัดระวังในการเปิดโครงการ
    จากหน่วยเหลือขายสะสมที่เพิ่มขึ้น

    🚩อีกทั้ง ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง จำนวนหน่วยที่อยู่อาศัย
    เปิดใหม่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลคาดว่าจะหดตัวราว
    -28% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2567 และหดตัวต่อเนื่องอีกราว
    -2% ถึง -4% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2568
    โดยเป็นการเปิดโครงการระดับราคาปานกลาง-บนเป็นหลัก
    เพื่อเน้นเจาะกลุ่มกำลังซื้อที่มีศักยภาพ

    🚩นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถรักษาอัตรา
    กำไรได้ ท่ามกลางภาวะต้นทุนการก่อสร้างที่ยังอยู่ในระดับสูง
    ทั้งวัสดุก่อสร้าง แรงงาน และราคาที่ดิน

    🚩ส่วนการเปิดโครงการระดับราคาปานกลาง-ล่าง ยังเป็นไป
    อย่างระมัดระวัง เน้นเฉพาะทำเลที่มีศักยภาพ และระบาย
    สินค้าคงเหลือ มากขึ้นแทน


    🚩ภาวะตลาดที่ซบเซาและการแข่งขันในตลาดที่อยู่อาศัย
    ที่ยังมีแนวโน้มเป็นไปอย่างเข้มข้น ผู้ประกอบการจึงต้อง
    ปรับกลยุทธ์ในหลายด้าน โดยกลยุทธ์ที่ผู้ประกอบการ
    ควรให้ความสำคัญ ได้แก่

    🚩1) พัฒนาโครงการใหม่อย่างระมัดระวัง
    🚩2) ตอบโจทย์ความต้องการผู้ซื้อแต่ละกลุ่มอย่างตรงจุด
    🚩3) ขยายตลาดผู้ซื้อชาวต่างชาติ
    🚩4) บริหารจัดการต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อรักษา
    อัตรากำไร นอกจากนี้ ผู้ประกอบการต้องให้ความสำคัญ
    กับการดำเนินธุรกิจภายใต้กรอบ ESG มากขึ้น
    โดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

    ที่มา : scbeic
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #อสังหาริมทรัพย์ #thaitimes
    💥💥ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล แนวโน้มธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ และการก่อสร้าง ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2567 มีแนวโน้มหดตัว จากปัจจัยกดดันด้านการฟื้นตัวของกำลังซื้อ และในปี 2568 ยังคงหดตัวต่อเนื่อง แต่ในอัตราที่ลดลง 🚩ตลาดที่อยู่อาศัยยังต้องเผชิญความท้าทายอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะจากการฟื้นตัวช้าของกำลังซื้อ ซึ่งกดดันให้ ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2567-2568 มีแนวโน้มหดตัวต่อเนื่อง 🚩ปัจจัยกดดันทางเศรษฐกิจทั้งค่าครองชีพ ค่าใช้จ่าย และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง ประกอบกับอัตราดอกเบี้ย และความเข้มงวดในการให้สินเชื่อ ยังคงกดดันการฟื้นตัว ของตลาดที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลาง-ล่าง ที่ส่วนใหญ่ตัดสินใจยังไม่ซื้อที่อยู่อาศัย หรือชะลอการซื้อออกไป 🚩โดยคาดว่า หน่วยโอนกรรมสิทธิ์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในปี 2567 จะหดตัวราว -10% (เทียบปีต่อปี) และหดตัวต่อเนื่องราว -1% ถึง -3% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2568 🚩ส่วนมูลค่าโอนกรรมสิทธิ์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลในปี 2567 มีแนวโน้มหดตัวราว -9% (เทียบปีต่อปี) แต่อาจเริ่มทรงตัวได้ หรือหดตัวเล็กน้อยราว +0% ถึง -2% (ปีต่อปี) ในปี 2568 🚩ขณะที่การโอนกรรมสิทธิ์ในต่างจังหวัด มีแนวโน้มหดตัว ในอัตราที่สูงกว่ากรุงเทพฯ และปริมณฑลเล็กน้อย เนื่องจากมีสัดส่วนกำลังซื้อกลุ่มรายได้ปานกลาง-ล่างที่สูงกว่า 🚩การเปิดโครงการใหม่ในปี 2567-2568 ยังมีแนวโน้มหดตัว ต่อเนื่อง จากการที่ผู้ประกอบการระมัดระวังในการเปิดโครงการ จากหน่วยเหลือขายสะสมที่เพิ่มขึ้น 🚩อีกทั้ง ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง จำนวนหน่วยที่อยู่อาศัย เปิดใหม่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลคาดว่าจะหดตัวราว -28% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2567 และหดตัวต่อเนื่องอีกราว -2% ถึง -4% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2568 โดยเป็นการเปิดโครงการระดับราคาปานกลาง-บนเป็นหลัก เพื่อเน้นเจาะกลุ่มกำลังซื้อที่มีศักยภาพ 🚩นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถรักษาอัตรา กำไรได้ ท่ามกลางภาวะต้นทุนการก่อสร้างที่ยังอยู่ในระดับสูง ทั้งวัสดุก่อสร้าง แรงงาน และราคาที่ดิน 🚩ส่วนการเปิดโครงการระดับราคาปานกลาง-ล่าง ยังเป็นไป อย่างระมัดระวัง เน้นเฉพาะทำเลที่มีศักยภาพ และระบาย สินค้าคงเหลือ มากขึ้นแทน 🚩ภาวะตลาดที่ซบเซาและการแข่งขันในตลาดที่อยู่อาศัย ที่ยังมีแนวโน้มเป็นไปอย่างเข้มข้น ผู้ประกอบการจึงต้อง ปรับกลยุทธ์ในหลายด้าน โดยกลยุทธ์ที่ผู้ประกอบการ ควรให้ความสำคัญ ได้แก่ 🚩1) พัฒนาโครงการใหม่อย่างระมัดระวัง 🚩2) ตอบโจทย์ความต้องการผู้ซื้อแต่ละกลุ่มอย่างตรงจุด 🚩3) ขยายตลาดผู้ซื้อชาวต่างชาติ 🚩4) บริหารจัดการต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อรักษา อัตรากำไร นอกจากนี้ ผู้ประกอบการต้องให้ความสำคัญ กับการดำเนินธุรกิจภายใต้กรอบ ESG มากขึ้น โดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่มา : scbeic #หุ้นติดดอย #การลงทุน #อสังหาริมทรัพย์ #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 877 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥🔥สตาร์บัค ร้านกาแฟเชนระดับโลก ยังไม่พ้นขีดอันตราย
    เมื่อกลยุทธ์ซื้อ 1 แถม 1 ไม่สามารถดันยอดขายขึ้นมาได้

    ซึ่งคาดการณ์ยอดขายกาแฟ ในไตรมาสสุดท้ายของปีนี้
    (ไตรมาส 4/2567)
    ยอดขายกาแฟสตาร์บัค มีแนวโน้มออกมาน่าผิดหวัง
    โดยยอดขายในสหรัฐ -6% และในจีนดิ่งเหวถึง -14%

    ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #สตาร์บัค #thaitimes
    🔥🔥สตาร์บัค ร้านกาแฟเชนระดับโลก ยังไม่พ้นขีดอันตราย เมื่อกลยุทธ์ซื้อ 1 แถม 1 ไม่สามารถดันยอดขายขึ้นมาได้ ซึ่งคาดการณ์ยอดขายกาแฟ ในไตรมาสสุดท้ายของปีนี้ (ไตรมาส 4/2567) ยอดขายกาแฟสตาร์บัค มีแนวโน้มออกมาน่าผิดหวัง โดยยอดขายในสหรัฐ -6% และในจีนดิ่งเหวถึง -14% ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #สตาร์บัค #thaitimes
    Sad
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 868 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥🔥กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ IMF
    คาดหนี้สาธารณะโลกจะพุ่งแตะ 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
    หรือ ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปีนี้

    🚩กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ออกคำเตือน
    เมื่อวันพุธที่ผ่านมาว่า สถานการณ์หนี้สาธารณะทั่วโลก
    อาจเลวร้ายกว่าที่หลายคนคิด โดยเน้นย้ำถึงการขาดดุล
    การคลัง ที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในสหรัฐและจีน

    🚩หน่วยงานดังกล่าวคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลก
    จะพุ่งสูงเกิน 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ
    ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปี 2567
    โดยคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลกจะพุ่งสูงถึง 100%
    ของ GDP ของโลกภายในสิ้นทศวรรษนี้

    🚩สหรัฐฯ และจีนมีสัดส่วนหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก
    หากไม่รวมทั้งสองประเทศนี้ในการคำนวณ อัตราส่วน
    หนี้สาธารณะต่อ GDP ทั่วโลกจะลดลงประมาณ 20%

    ที่มา : cnbc

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #IMF #thaitimes
    🔥🔥กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ IMF คาดหนี้สาธารณะโลกจะพุ่งแตะ 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปีนี้ 🚩กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ออกคำเตือน เมื่อวันพุธที่ผ่านมาว่า สถานการณ์หนี้สาธารณะทั่วโลก อาจเลวร้ายกว่าที่หลายคนคิด โดยเน้นย้ำถึงการขาดดุล การคลัง ที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในสหรัฐและจีน 🚩หน่วยงานดังกล่าวคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลก จะพุ่งสูงเกิน 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปี 2567 โดยคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลกจะพุ่งสูงถึง 100% ของ GDP ของโลกภายในสิ้นทศวรรษนี้ 🚩สหรัฐฯ และจีนมีสัดส่วนหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก หากไม่รวมทั้งสองประเทศนี้ในการคำนวณ อัตราส่วน หนี้สาธารณะต่อ GDP ทั่วโลกจะลดลงประมาณ 20% ที่มา : cnbc #หุ้นติดดอย #การลงทุน #IMF #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 864 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥25/10/2567 ตลาดหุ้นไทย
    วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ 3 รุม 1

    โดยนักลงทุนที่ขายหลักๆวันนี้ มี 3 กลุ่ม ได้แก่
    นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน, โบรก และ
    นักลงทุนต่างประเทศ

    ส่วนนักลงทุนที่รับซื้อหุ้นไว้วันนี้คือ
    นักลงทุนในประเทศ

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    💥💥25/10/2567 ตลาดหุ้นไทย วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ 3 รุม 1 โดยนักลงทุนที่ขายหลักๆวันนี้ มี 3 กลุ่ม ได้แก่ นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน, โบรก และ นักลงทุนต่างประเทศ ส่วนนักลงทุนที่รับซื้อหุ้นไว้วันนี้คือ นักลงทุนในประเทศ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 873 มุมมอง 0 รีวิว
  • 24/10/2567 ตลาดหุ้นไทย วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ
    สถาบัน หรือ กองทุน รวมทั้ง นักลงทุนต่างประเทศ
    คือ ผู้ขายหลักในวันนี้

    ส่วนผู้เข้าซื้อหลักๆ ในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ
    และ มีโบรกบางส่วน

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    24/10/2567 ตลาดหุ้นไทย วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน รวมทั้ง นักลงทุนต่างประเทศ คือ ผู้ขายหลักในวันนี้ ส่วนผู้เข้าซื้อหลักๆ ในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ และ มีโบรกบางส่วน #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 357 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล
    ภาพรวมการส่งออกของไทยในปัจจุบัน อยู่ในสภาวะ
    อ่อนแอลงไปเรื่อยๆ หากไม่ทำอะไรเลย

    นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้งในปี 2540 การส่งออก
    เป็นเครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยมายาวนาน
    คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 60-65% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
    ภายในประเทศ (จีดีพี) การส่งออกมีบทบาทสำคัญ
    ในการสร้างรายได้จากต่างประเทศ การจ้างงาน และเพิ่ม
    ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

    อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยได้สูญเสียบทบาท
    และความสามารถในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเช่นที่เคยเป็นมา

    SCB EIC มองว่า เครื่องยนต์ส่งออกของไทยกำลังอ่อนแรงลงมาก
    จากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งมีส่วนทำให้การส่งออกไทย
    ไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก
    ได้เหมือนในอดีต และไม่สามารถปรับตัวตามกระแสโลก
    ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ทัน

    ปัจจัยภายในประเทศ :

    1) สินค้าส่งออกไทยไม่ค่อยสอดคล้องกับความต้องการของโลก :
    ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดการผลิตสินค้านวัตกรรมใหม่ ๆ
    ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกที่เปลี่ยนไป
    เช่น สมาร์ตโฟน แผงวงจรไฟฟ้า หรือสินค้าที่ผลิตจากพลังงานสะอาด
    ขณะที่สินค้าหมวดเครื่องจักรและเครื่องใช้เครื่องกลที่ไทยผลิต
    กลับเป็นสินค้าที่โลกต้องการซื้อน้อยลงเช่น Hard Disk Drives (HDD)
    ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย แต่เมื่อเทคโนโลยี
    เปลี่ยนไปสู่ Solid State Drives (SSD) ความต้องการ HDD
    ก็ลดลงอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับสินค้าหมวดยานพาหนะ ส่วนประกอบ
    และอุปกรณ์เสริม ที่ไทยเคยส่งออกดีมาก จากการส่งออกยานยนต์
    และเครื่องยนต์สันดาป แต่ปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทาย
    จากการเปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ของผู้ซื้อ ซึ่งรวมมูลค่า
    การส่งออก 2 หมวดใหญ่นี้คิดเป็น 27% ของมูลค่าการส่งออก
    ไทยทั้งหมดในปี 2566

    2) โครงสร้างการผลิตเพื่อส่งออกไทยเปลี่ยนแปลงช้า :
    ภาคการผลิตของไทยยังผูกโยงกับห่วงโซ่อุปทานเก่าอยู่มาก
    ส่งผลให้โครงสร้างการส่งออกเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า
    ขณะที่โครงสร้างการผลิตของประเทศคู่แข่งหลายราย
    ที่เคยผลิตสินค้าล้าสมัยกว่าไทยในอดีต กลับสามารถ
    ปรับตามกระแสความต้องการในตลาดโลกที่เปลี่ยนไปได้
    อย่างรวดเร็วจากการหาห่วงโซ่อุปทานใหม่ สะท้อนจาก
    ส่วนแบ่งยอดขายสินค้าไทยในตลาดโลก ที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
    จาก 10 ปีก่อนมากนัก เช่น รถยนต์ EV แผงวงจรไฟฟ้า/เซมิคอนดักเตอร์
    สมาร์ตโฟน แผงโซลาร์เซลล์ (เป็นกลุ่มสินค้าส่งออกที่มีสัดส่วนสูงขึ้นในตลาดโลก)

    ทั้งนี้ถึงแม้การส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ของไทยจะมีสัดส่วนต่อมูลค่าการส่งออก
    ทั้งหมดสูงขึ้น แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 17% ในปี 2556-2560 เป็น 23%
    ในปี 2561-2565 ซึ่งแตกต่างจากเวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย
    ที่มีสัดส่วนการส่งออกกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นมาก จาก 16% เป็น 32%, 38%
    เป็น 44% และ 40% เป็น 48% ตามลำดับ โดยสาเหตุเป็นเพราะว่า
    ประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ผลิตสินค้ากลุ่มนี้ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง
    มีขั้นตอนการผลิตซับซ้อนกว่า และสร้างมูลค่าเพิ่มสูงกว่าได้
    ในขณะที่ไทยส่วนใหญ่แล้วยังคงผลิตสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลาง
    และมีความซับซ้อนน้อยกว่า สะท้อนขีดความสามารถในการแข่งขันที่ต่ำกว่า
    แสดงให้เห็นว่าไทยอาจไม่ได้รับอานิสงส์จากวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขาขึ้น
    ในปัจจุบันได้มากเท่าประเทศเพื่อนบ้าน

    3) ความสามารถในการกระจายตลาดใหม่ไม่ค่อยสูง :
    การส่งออกของไทยกว่า 75% ยังคงกระจุกตัวในบางตลาดหลัก เช่น จีน สหรัฐฯ
    ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอาเซียน เช่นในอดีต ซึ่งหากเกิดปัญหาเศรษฐกิจขึ้น
    ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ก็อาจสร้างความเสี่ยงสูงต่อไทยตามมา เช่น เศรษฐกิจจีน
    ชะลอตัว ในช่วงที่ผ่านมา จะกระทบการส่งออกไทยไปตลาดจีนตามไปด้วย
    สะท้อนความจำเป็นในการขยายตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยง
    และเพิ่มยอดส่งออกของไทยได้

    จากการวิเคราะห์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักของการส่งออกไทยมาจาก
    ปัญหาเชิงโครงสร้างของภาคการผลิตในประเทศที่ไม่ค่อยตอบโจทย์
    สินค้าใหม่ ๆ คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นสาเหตุทำให้ปัญหาเชิงโครงสร้าง
    ภาคการผลิตของไทยมาถึงจุดนี้?

    SCB EIC มองว่าสาเหตุหลักมาจากทักษะแรงงานไทยและการลงทุน
    จากต่างชาติที่ลดลง :

    1) แรงงานสูงวัยและทักษะต่ำ : ประเทศไทยกำลังเผชิญสังคมผู้สูงอายุ
    22.7% จากประชากรทั้งหมดในปี 2566 (อายุ 60 ปีขึ้นไป) และมีแนวโน้ม
    เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงปัญหาแรงงานขาดทักษะ
    ที่จำเป็น โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งมีความสำคัญต่อการผลิตสินค้า
    และการแข่งขันในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

    ปัญหานี้ทำให้การผลิตสินค้าเทคโนโลยีของไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ
    เทคโนโลยีขั้นกลาง และการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงจึงเกิดขึ้นค่อนข้างช้า
    เนื่องจากเพิ่มศักยภาพแรงงานไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

    2) สัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ลดลง :
    FDI เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยได้รับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และทันสมัย
    เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและการส่งออก
    รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
    การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในไทยลดลงมาก จากที่เคยเป็นหนึ่ง
    ในจุดหมายปลายทางหลักในอาเซียน ไทยกลับตกอันดับมาเรื่อย ๆ
    อยู่อันดับ 7 ในปี 2566 แย่กว่าในปี 2543 2553 และ 2562 ที่อันดับ 3, 3,
    และ 6 ตามลำดับ เสียอีก (ข้อมูลจาก World Bank)

    สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก

    (1) ทักษะแรงงานไทยไม่สูงและสัดส่วนแรงงานสูงวัย
    ยังมีมากที่สุดในอาเซียน

    (2) ไทยขาดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA)
    กับประเทศสำคัญ ๆ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ประเทศคู่แข่ง
    เช่น เวียดนาม ได้เปรียบจากการมีข้อตกลง FTA กับสหภาพยุโรป
    และการเข้าร่วม CPTPP ทำให้เข้าถึงตลาดสำคัญในโลกได้ง่ายขึ้น

    (3) การเมืองไทยมีความไม่แน่นอนสูง

    (4) นโยบายเศรษฐกิจระยะยาวขาดความชัดเจนและความต่อเนื่อง
    นักลงทุนไทยและต่างประเทศขาดความมั่นใจที่จะลงทุน
    วิจัยและพัฒนา (R&D) ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เนื่องจากเป็นการลงทุนสูง
    และใช้เวลากว่าจะเห็นผล และ

    (5) กฎระเบียบภาครัฐซับซ้อน ซึ่งเป็นปัจจัยหลัก ๆ ที่ทำให้นักลงทุน
    ต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง
    และนโยบายและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลงทุนดีกว่า

    ปัจจัยภายนอก :

    การส่งออกของไทยยังเผชิญแรงกดดันจากปัจจัยภายนอกหลายประการ

    ได้แก่ 1) China over-capacity ที่อาจซ้ำเติมปัญหาความสามารถ
    ในการแข่งขันของไทย โดยเฉพาะความสามารถในการแข่งขันด้านราคา
    กับสินค้าจีน

    2) ผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ อาจสร้างความไม่แน่นอนของนโยบายภาษี
    สินค้านำเข้าทุกประเภทจากทุกประเทศเพิ่มเติม

    3) ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์จากสงครามยืดเยื้อ การแบ่งขั้ว
    ทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น หรือมาตรการกีดกันการค้าที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบ
    ต่อการค้าโลก

    4) การผันผวนของค่าเงินบาท จากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลาง
    สำคัญทั่วโลก

    (5) ค่าระวางเรือและค่าขนส่งที่อาจจะกลับมาสูงขึ้น จากสงครามที่เกิดขึ้นบ่อย
    และรุนแรงขึ้น รวมถึงปัญหาการขาดแคลนเรือขนส่งและตู้คอนเทนเนอร์


    ปัจจัยภายในและนอกประเทศเหล่านี้กดดันให้เครื่องยนต์ส่งออกของไทย
    อ่อนแอลง และเป็นสัญญาณที่น่ากังวล เนื่องจากการบริโภคและการลงทุน
    ในประเทศก็กำลังอ่อนแรงเช่นกัน โดยการบริโภคถูกจำกัดจากภาระหนี้
    ครัวเรือนสูง และการลงทุนได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ในประเทศ
    ที่เปราะบาง

    อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยยังไม่ไร้ความหวังเสียทีเดียว
    หากรัฐบาลสามารถจัดการ 3 ปัจจัยหลักได้ ได้แก่ แรงงาน การลงทุน
    โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) และยุทธศาสตร์นโยบายอุปทานที่ชัดเจน
    ประเทศไทยจะสามารถปรับโครงสร้างการผลิตให้แข็งแกร่งขึ้น
    และช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้บนข้อได้เปรียบที่ไทยมีอยู่แล้ว
    เช่น โครงสร้างพื้นฐานที่ดี ทังนี้ปัจจัยกดดันจากภายนอกเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ
    ควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่าหากโครงสร้างการผลิตของไทย
    แข็งแกร่ง จะช่วยลดผลกระทบจากปัจจัยเหล่านี้ได้ และอาจทำให้ไทย
    ได้รับประโยชน์จากบางปัจจัย เช่น ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจนำมาซึ่ง
    การย้ายฐานการผลิตและการลงทุนใหม่ ๆ

    การส่งออกไทยในปัจจุบันเปรียบเหมือนรถที่กำลังวิ่งอย่างเชื่องช้า
    ที่ต้องเลือกว่าจะเริ่มซ่อมแซมและปรับปรุงโครงสร้างเครื่องยนต์
    ให้ทันสมัยจุดไหนบ้าง เพื่อให้รถคันนี้กลับมาวิ่งเร็วได้อีกครั้ง
    แต่หากไม่เริ่มทำอะไรวันนี้ เครื่องยนต์เก่านี้อาจพังในไม่ช้า
    ทำให้รถเราค่อยๆ หยุดวิ่ง และปล่อยให้รถคันอื่นแซงหน้า
    ไปคันแล้วคันเล่า

    ที่มา : SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #การส่งออกไทย #thaitimes
    💥💥ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล ภาพรวมการส่งออกของไทยในปัจจุบัน อยู่ในสภาวะ อ่อนแอลงไปเรื่อยๆ หากไม่ทำอะไรเลย นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้งในปี 2540 การส่งออก เป็นเครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยมายาวนาน คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 60-65% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (จีดีพี) การส่งออกมีบทบาทสำคัญ ในการสร้างรายได้จากต่างประเทศ การจ้างงาน และเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยได้สูญเสียบทบาท และความสามารถในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเช่นที่เคยเป็นมา SCB EIC มองว่า เครื่องยนต์ส่งออกของไทยกำลังอ่อนแรงลงมาก จากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งมีส่วนทำให้การส่งออกไทย ไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก ได้เหมือนในอดีต และไม่สามารถปรับตัวตามกระแสโลก ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ทัน ปัจจัยภายในประเทศ : 1) สินค้าส่งออกไทยไม่ค่อยสอดคล้องกับความต้องการของโลก : ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดการผลิตสินค้านวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกที่เปลี่ยนไป เช่น สมาร์ตโฟน แผงวงจรไฟฟ้า หรือสินค้าที่ผลิตจากพลังงานสะอาด ขณะที่สินค้าหมวดเครื่องจักรและเครื่องใช้เครื่องกลที่ไทยผลิต กลับเป็นสินค้าที่โลกต้องการซื้อน้อยลงเช่น Hard Disk Drives (HDD) ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย แต่เมื่อเทคโนโลยี เปลี่ยนไปสู่ Solid State Drives (SSD) ความต้องการ HDD ก็ลดลงอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับสินค้าหมวดยานพาหนะ ส่วนประกอบ และอุปกรณ์เสริม ที่ไทยเคยส่งออกดีมาก จากการส่งออกยานยนต์ และเครื่องยนต์สันดาป แต่ปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทาย จากการเปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ของผู้ซื้อ ซึ่งรวมมูลค่า การส่งออก 2 หมวดใหญ่นี้คิดเป็น 27% ของมูลค่าการส่งออก ไทยทั้งหมดในปี 2566 2) โครงสร้างการผลิตเพื่อส่งออกไทยเปลี่ยนแปลงช้า : ภาคการผลิตของไทยยังผูกโยงกับห่วงโซ่อุปทานเก่าอยู่มาก ส่งผลให้โครงสร้างการส่งออกเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า ขณะที่โครงสร้างการผลิตของประเทศคู่แข่งหลายราย ที่เคยผลิตสินค้าล้าสมัยกว่าไทยในอดีต กลับสามารถ ปรับตามกระแสความต้องการในตลาดโลกที่เปลี่ยนไปได้ อย่างรวดเร็วจากการหาห่วงโซ่อุปทานใหม่ สะท้อนจาก ส่วนแบ่งยอดขายสินค้าไทยในตลาดโลก ที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง จาก 10 ปีก่อนมากนัก เช่น รถยนต์ EV แผงวงจรไฟฟ้า/เซมิคอนดักเตอร์ สมาร์ตโฟน แผงโซลาร์เซลล์ (เป็นกลุ่มสินค้าส่งออกที่มีสัดส่วนสูงขึ้นในตลาดโลก) ทั้งนี้ถึงแม้การส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ของไทยจะมีสัดส่วนต่อมูลค่าการส่งออก ทั้งหมดสูงขึ้น แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 17% ในปี 2556-2560 เป็น 23% ในปี 2561-2565 ซึ่งแตกต่างจากเวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ที่มีสัดส่วนการส่งออกกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นมาก จาก 16% เป็น 32%, 38% เป็น 44% และ 40% เป็น 48% ตามลำดับ โดยสาเหตุเป็นเพราะว่า ประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ผลิตสินค้ากลุ่มนี้ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง มีขั้นตอนการผลิตซับซ้อนกว่า และสร้างมูลค่าเพิ่มสูงกว่าได้ ในขณะที่ไทยส่วนใหญ่แล้วยังคงผลิตสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลาง และมีความซับซ้อนน้อยกว่า สะท้อนขีดความสามารถในการแข่งขันที่ต่ำกว่า แสดงให้เห็นว่าไทยอาจไม่ได้รับอานิสงส์จากวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขาขึ้น ในปัจจุบันได้มากเท่าประเทศเพื่อนบ้าน 3) ความสามารถในการกระจายตลาดใหม่ไม่ค่อยสูง : การส่งออกของไทยกว่า 75% ยังคงกระจุกตัวในบางตลาดหลัก เช่น จีน สหรัฐฯ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอาเซียน เช่นในอดีต ซึ่งหากเกิดปัญหาเศรษฐกิจขึ้น ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ก็อาจสร้างความเสี่ยงสูงต่อไทยตามมา เช่น เศรษฐกิจจีน ชะลอตัว ในช่วงที่ผ่านมา จะกระทบการส่งออกไทยไปตลาดจีนตามไปด้วย สะท้อนความจำเป็นในการขยายตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยง และเพิ่มยอดส่งออกของไทยได้ จากการวิเคราะห์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักของการส่งออกไทยมาจาก ปัญหาเชิงโครงสร้างของภาคการผลิตในประเทศที่ไม่ค่อยตอบโจทย์ สินค้าใหม่ ๆ คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นสาเหตุทำให้ปัญหาเชิงโครงสร้าง ภาคการผลิตของไทยมาถึงจุดนี้? SCB EIC มองว่าสาเหตุหลักมาจากทักษะแรงงานไทยและการลงทุน จากต่างชาติที่ลดลง : 1) แรงงานสูงวัยและทักษะต่ำ : ประเทศไทยกำลังเผชิญสังคมผู้สูงอายุ 22.7% จากประชากรทั้งหมดในปี 2566 (อายุ 60 ปีขึ้นไป) และมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงปัญหาแรงงานขาดทักษะ ที่จำเป็น โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งมีความสำคัญต่อการผลิตสินค้า และการแข่งขันในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ปัญหานี้ทำให้การผลิตสินค้าเทคโนโลยีของไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ เทคโนโลยีขั้นกลาง และการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงจึงเกิดขึ้นค่อนข้างช้า เนื่องจากเพิ่มศักยภาพแรงงานไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 2) สัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ลดลง : FDI เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยได้รับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และทันสมัย เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและการส่งออก รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในไทยลดลงมาก จากที่เคยเป็นหนึ่ง ในจุดหมายปลายทางหลักในอาเซียน ไทยกลับตกอันดับมาเรื่อย ๆ อยู่อันดับ 7 ในปี 2566 แย่กว่าในปี 2543 2553 และ 2562 ที่อันดับ 3, 3, และ 6 ตามลำดับ เสียอีก (ข้อมูลจาก World Bank) สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก (1) ทักษะแรงงานไทยไม่สูงและสัดส่วนแรงงานสูงวัย ยังมีมากที่สุดในอาเซียน (2) ไทยขาดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) กับประเทศสำคัญ ๆ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ประเทศคู่แข่ง เช่น เวียดนาม ได้เปรียบจากการมีข้อตกลง FTA กับสหภาพยุโรป และการเข้าร่วม CPTPP ทำให้เข้าถึงตลาดสำคัญในโลกได้ง่ายขึ้น (3) การเมืองไทยมีความไม่แน่นอนสูง (4) นโยบายเศรษฐกิจระยะยาวขาดความชัดเจนและความต่อเนื่อง นักลงทุนไทยและต่างประเทศขาดความมั่นใจที่จะลงทุน วิจัยและพัฒนา (R&D) ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เนื่องจากเป็นการลงทุนสูง และใช้เวลากว่าจะเห็นผล และ (5) กฎระเบียบภาครัฐซับซ้อน ซึ่งเป็นปัจจัยหลัก ๆ ที่ทำให้นักลงทุน ต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง และนโยบายและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลงทุนดีกว่า ปัจจัยภายนอก : การส่งออกของไทยยังเผชิญแรงกดดันจากปัจจัยภายนอกหลายประการ ได้แก่ 1) China over-capacity ที่อาจซ้ำเติมปัญหาความสามารถ ในการแข่งขันของไทย โดยเฉพาะความสามารถในการแข่งขันด้านราคา กับสินค้าจีน 2) ผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ อาจสร้างความไม่แน่นอนของนโยบายภาษี สินค้านำเข้าทุกประเภทจากทุกประเทศเพิ่มเติม 3) ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์จากสงครามยืดเยื้อ การแบ่งขั้ว ทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น หรือมาตรการกีดกันการค้าที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบ ต่อการค้าโลก 4) การผันผวนของค่าเงินบาท จากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลาง สำคัญทั่วโลก (5) ค่าระวางเรือและค่าขนส่งที่อาจจะกลับมาสูงขึ้น จากสงครามที่เกิดขึ้นบ่อย และรุนแรงขึ้น รวมถึงปัญหาการขาดแคลนเรือขนส่งและตู้คอนเทนเนอร์ ปัจจัยภายในและนอกประเทศเหล่านี้กดดันให้เครื่องยนต์ส่งออกของไทย อ่อนแอลง และเป็นสัญญาณที่น่ากังวล เนื่องจากการบริโภคและการลงทุน ในประเทศก็กำลังอ่อนแรงเช่นกัน โดยการบริโภคถูกจำกัดจากภาระหนี้ ครัวเรือนสูง และการลงทุนได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ในประเทศ ที่เปราะบาง อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยยังไม่ไร้ความหวังเสียทีเดียว หากรัฐบาลสามารถจัดการ 3 ปัจจัยหลักได้ ได้แก่ แรงงาน การลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) และยุทธศาสตร์นโยบายอุปทานที่ชัดเจน ประเทศไทยจะสามารถปรับโครงสร้างการผลิตให้แข็งแกร่งขึ้น และช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้บนข้อได้เปรียบที่ไทยมีอยู่แล้ว เช่น โครงสร้างพื้นฐานที่ดี ทังนี้ปัจจัยกดดันจากภายนอกเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่าหากโครงสร้างการผลิตของไทย แข็งแกร่ง จะช่วยลดผลกระทบจากปัจจัยเหล่านี้ได้ และอาจทำให้ไทย ได้รับประโยชน์จากบางปัจจัย เช่น ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจนำมาซึ่ง การย้ายฐานการผลิตและการลงทุนใหม่ ๆ การส่งออกไทยในปัจจุบันเปรียบเหมือนรถที่กำลังวิ่งอย่างเชื่องช้า ที่ต้องเลือกว่าจะเริ่มซ่อมแซมและปรับปรุงโครงสร้างเครื่องยนต์ ให้ทันสมัยจุดไหนบ้าง เพื่อให้รถคันนี้กลับมาวิ่งเร็วได้อีกครั้ง แต่หากไม่เริ่มทำอะไรวันนี้ เครื่องยนต์เก่านี้อาจพังในไม่ช้า ทำให้รถเราค่อยๆ หยุดวิ่ง และปล่อยให้รถคันอื่นแซงหน้า ไปคันแล้วคันเล่า ที่มา : SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #การส่งออกไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 881 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥ตลาดหุ้นไทย หรือ SET หลังจากแรลลี่
    ขึ้นมากกว่า 170 จุด ตั้งแต่เดือน สิงหาคม
    จนถึง ตุลาคม 2567 จากปัจจัยหลักๆคือ
    1. กองทุนรวมวายุภักษ์1 ที่เข้าเทรดในตลาด
    มากกว่า 1.5 แสนล้านบาท
    2. ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐที่อ่อนค่าลง ในขณะที่
    ค่าเงินบาท แข็งค่าขึ้น ทำให้ฟันโฟว์
    หรือ เม็ดเงินจากนักลงทุนต่างประเทศ
    ไหลเข้าตลาดเกิดใหม่ รวมทั้งตลาดหุ้นไทย
    3. ธนาคารกลางสหรัฐ หรือ เฟด ได้ลดอัตราดอกเบี้ย
    นโยบายลง 0.5% เป็น 4.75 - 5.0%
    4. งบประมาณปี 2568 ของรัฐบาลผ่านความเห็นชอบ
    จากรัฐสภา
    5. มาตการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้น ด้วยดิจิทัลวอลเลต
    เฟส 1 (1.2 แสนล้านบาท) และ รอบเก็บตก

    ***ตอนนี้ กองทุน หรือ สถาบัน เริ่มเทขายหุ้นทำกำไรออกมา
    หลังจากเข้าซื้อมาตลอดระยะเวลา 3 เดือน***
    คาดการณ์ว่า นักลงทุนในประเทศ หรือ รายย่อย
    ที่เข้าซื้อแบบไล่ราคา จะมีโอกาสสูงที่จะติดดอยหุ้น
    ในระยะต่อไป

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    💥💥ตลาดหุ้นไทย หรือ SET หลังจากแรลลี่ ขึ้นมากกว่า 170 จุด ตั้งแต่เดือน สิงหาคม จนถึง ตุลาคม 2567 จากปัจจัยหลักๆคือ 1. กองทุนรวมวายุภักษ์1 ที่เข้าเทรดในตลาด มากกว่า 1.5 แสนล้านบาท 2. ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐที่อ่อนค่าลง ในขณะที่ ค่าเงินบาท แข็งค่าขึ้น ทำให้ฟันโฟว์ หรือ เม็ดเงินจากนักลงทุนต่างประเทศ ไหลเข้าตลาดเกิดใหม่ รวมทั้งตลาดหุ้นไทย 3. ธนาคารกลางสหรัฐ หรือ เฟด ได้ลดอัตราดอกเบี้ย นโยบายลง 0.5% เป็น 4.75 - 5.0% 4. งบประมาณปี 2568 ของรัฐบาลผ่านความเห็นชอบ จากรัฐสภา 5. มาตการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้น ด้วยดิจิทัลวอลเลต เฟส 1 (1.2 แสนล้านบาท) และ รอบเก็บตก ***ตอนนี้ กองทุน หรือ สถาบัน เริ่มเทขายหุ้นทำกำไรออกมา หลังจากเข้าซื้อมาตลอดระยะเวลา 3 เดือน*** คาดการณ์ว่า นักลงทุนในประเทศ หรือ รายย่อย ที่เข้าซื้อแบบไล่ราคา จะมีโอกาสสูงที่จะติดดอยหุ้น ในระยะต่อไป #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 694 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥ประธานาธิบดี สีจิ้นผิง ของจีน ได้แสดงวิสัยทัศน์
    และแนวทางของกลุ่ม BRICS ในการประชุม
    ฺBRICS Business Forum 2024
    ที่เมือง คาซาน ประเทศรัสเซีย ว่า

    🚩"เราตั้งใจที่จะปรับปรุงการประสานงานในแพลตฟอร์ม
    พหุภาคีทั้งหมดให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้มั่นใจถึงความมั่นคงระดับโลก
    และระเบียบโลกที่ยุติธรรม"

    🚩 ความร่วมมือในกลุ่ม BRICS ถือเป็น
    "เวทีที่สำคัญที่สุดสำหรับความสามัคคีและความร่วมมือ
    ระหว่างประเทศตลาดเกิดใหม่และประเทศกำลังพัฒนา
    ในโลกปัจจุบันอย่างแท้จริง"

    🚩รวมทั้งเป็น "พลังหลักในการส่งเสริมการตระหนักถึง
    ความเท่าเทียม และความเป็นระเบียบทั่วโลกหลายขั้ว
    ตลอดจนโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ ที่ครอบคลุมและอดทน"

    ที่มา : Reuters

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #BRICS #thaitimes
    💥💥ประธานาธิบดี สีจิ้นผิง ของจีน ได้แสดงวิสัยทัศน์ และแนวทางของกลุ่ม BRICS ในการประชุม ฺBRICS Business Forum 2024 ที่เมือง คาซาน ประเทศรัสเซีย ว่า 🚩"เราตั้งใจที่จะปรับปรุงการประสานงานในแพลตฟอร์ม พหุภาคีทั้งหมดให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้มั่นใจถึงความมั่นคงระดับโลก และระเบียบโลกที่ยุติธรรม" 🚩 ความร่วมมือในกลุ่ม BRICS ถือเป็น "เวทีที่สำคัญที่สุดสำหรับความสามัคคีและความร่วมมือ ระหว่างประเทศตลาดเกิดใหม่และประเทศกำลังพัฒนา ในโลกปัจจุบันอย่างแท้จริง" 🚩รวมทั้งเป็น "พลังหลักในการส่งเสริมการตระหนักถึง ความเท่าเทียม และความเป็นระเบียบทั่วโลกหลายขั้ว ตลอดจนโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ ที่ครอบคลุมและอดทน" ที่มา : Reuters #หุ้นติดดอย #การลงทุน #BRICS #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 449 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts