• 'ทักษิณ' อวยตัวเอง สิงคโปร์หนักใจต้องปรับการแข่งขันเพราะตนกลับไทย โวย 'แพทองธาร' ถูกพักงานด้วยเรื่องเฮงซวย
    https://www.thai-tai.tv/news/20368/
    .
    #ทักษิณชินวัตร #การเมืองไทย #เศรษฐกิจไทย #ความสัมพันธ์ไทยกัมพูชา #พระราชกำหนด #เสถียรภาพรัฐบาล #แพทองธารชินวัตร #ปลดล็อกอนาคตไทย
    'ทักษิณ' อวยตัวเอง สิงคโปร์หนักใจต้องปรับการแข่งขันเพราะตนกลับไทย โวย 'แพทองธาร' ถูกพักงานด้วยเรื่องเฮงซวย https://www.thai-tai.tv/news/20368/ . #ทักษิณชินวัตร #การเมืองไทย #เศรษฐกิจไทย #ความสัมพันธ์ไทยกัมพูชา #พระราชกำหนด #เสถียรภาพรัฐบาล #แพทองธารชินวัตร #ปลดล็อกอนาคตไทย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ทักษิณ' อวยตัวเอง สิงคโปร์หนักใจต้องปรับการแข่งขันเพราะตนกลับไทย โวย 'แพทองธาร' ถูกพักงานด้วยเรื่องเฮงซวย
    https://www.thai-tai.tv/news/20368/
    .
    #ทักษิณชินวัตร #การเมืองไทย #เศรษฐกิจไทย #ความสัมพันธ์ไทยกัมพูชา #พระราชกำหนด #เสถียรภาพรัฐบาล #แพทองธารชินวัตร #ปลดล็อกอนาคตไทย
    'ทักษิณ' อวยตัวเอง สิงคโปร์หนักใจต้องปรับการแข่งขันเพราะตนกลับไทย โวย 'แพทองธาร' ถูกพักงานด้วยเรื่องเฮงซวย https://www.thai-tai.tv/news/20368/ . #ทักษิณชินวัตร #การเมืองไทย #เศรษฐกิจไทย #ความสัมพันธ์ไทยกัมพูชา #พระราชกำหนด #เสถียรภาพรัฐบาล #แพทองธารชินวัตร #ปลดล็อกอนาคตไทย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • 14 พฤษภาคม 2568 -อดีตรัฐมนตรีคลัง ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล วิเคราะห์เรื่องสำคัญในประเด็น“ประเทศชาติได้อะไรจาก G-token“[เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2568 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติวิธีการกู้เงินโดยการออกโทเคนดิจิทัลของรัฐบาล (Government Token: G-Token) ตามมาตรา 10 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548อนุมัติให้กระทรวงการคลังออกโทเคนดิจิทัลโดยวงเงินกู้ตามกรอบการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณด้วยวิธีการเสนอขายให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อโดยตรงผ่านผู้ที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ได้แก่ ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล นายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หรือนิติบุคคลอื่นที่สามารถรับคำสั่งซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลได้ ซึ่งมีหน้าที่ดำเนินการด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำและการออกโทเคนดิจิทัล นายทะเบียน หรือผู้รับฝากโทเคนดิจิทัล เป็นต้นให้กระทรวงการคลังกำหนดหลักเกณฑ์การชำระระดอกเบี้ยและการใช้เงินตามโทเคนดิจิทัล โดยให้กระทรวงการคลังหรือนิติบุคคลอื่นใดที่กระทรวงการคลังมอบหมาย โอนเงินให้แก่ผู้ถือโทเคน ดิจิทัลหรือผู้รับตามที่นายทะเบียนกำหนด ให้การโอนโทเคนดิจิทัลดำเนินการตามวิธีการที่ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล นายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หรือนิติบุคคลอื่นใดที่สามารถรับคำสั่งซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลได้ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้โอนได้เปิดบัญชีเก็บรักษาโทเคนดิจิทัลของตนไว้โดยให้มีผลสมบูรณ์เมื่อผู้โอนนั้นได้บันทึกการรับโอนโทเคนดิจิทัลเข้าไปในบัญชีของผู้รับโอนแล้ว เพื่อนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการพัฒนากลไกการบริหารหนี้สาธารณะให้มีประสิทธิภาพและภาครัฐสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่หลากหลายมากขึ้น ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการออมของภาคประชาชน อันสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการวางรากฐานเศรษฐกิจดิจิทัล พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลที่มีคุณภาพ มั่นคง ปลอดภัย ครอบคลุมเพียงพอ และเข้าถึงได้ทั้งในด้านพื้นที่และราคา เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สำนักงบประมาณ และธนาคารแห่งประเทศไทยเห็นชอบ/ไม่ขัดข้อง สำนักงาน ก.ล.ต. เห็นว่า หาก กค. พิจารณาได้ว่าการกู้เงินโดยวิธีการออก G-Token ไม่ใช่การออกตราสารหนี้ ซึ่งไม่เป็น “หลักทรัพย์” ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แล้ว ก็สามารถดำเนินการภายใต้พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 โดย G-Token มีการกำหนดสิทธิให้ผู้ถือมีสิทธิได้รับชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่ กค. กำหนด จึงมีลักษณะเป็นหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดสิทธิของผู้ถือในการเข้าร่วมลงทุนในโครงการหรือ กิจการใด ๆ หรือกำหนดสิทธิในการได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการหรือสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง และเข้าข่ายเป็นโทเคนดิจิทัล ตามมาตรา 3 แห่งพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561]**ถามว่า ประเทศชาติได้อะไรจาก G-token?+เรื่อง การนำประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลการนำประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลให้สำเร็จนั้น มีเรื่องที่ต้องดำเนินการด้านโครงสร้างพื้นฐานก่อนหลายอย่าง (ดูรูป) กล่าวคือ (1) ต้องช่วยให้ประชากรเข้าถึงระบบอินเทอร์เนตอย่างกว้างขวาง (2) ต้องให้ความรู้ทั้งในระบบโรงเรียนและในกลุ่มประชาคม (3) ต้องพัฒนาธุรกิจการเงินแบบดิจิทัลให้กว้างขวางมากขึ้น (4) ต้องกระตุ้นคนรุ่นหนุ่มสาวให้ลองทำธุรกิจขนาดย่อมด้านดิจิทัลให้มากขึ้น และ (5) รัฐต้องให้บริการทางออนไลน์มากขึ้นรวมทั้งใช้บล็อกเชนในการบริหารราชการให้โปร่งใส หน้าที่ของฝ่ายรัฐบาล คือพัฒนาให้เกิดโครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้ รวมไปถึงความแน่นอนด้านกฎหมายที่จะตีความกรณีเกิดข้อพิพาทเกี่ยวข้องกับโทเคน และการนำโทเคนไปใช้เป็นหลักประกันส่วนการดำเนินการให้โทเคนเกิดขึ้นในหลักทรัพย์ต่างๆ (tokenization) อย่างหลากหลาย เพื่อนำไปสู่ตลาดทุนดิจิทัลนั้น จะต้องมีโครงสร้างพื้นฐานครบถ้วนเสียก่อน ทั้ง stable coin สกุลบาท ทั้ง smart contract ทั้งระบบเคลียริ่งที่ปลอดภัย โดยภายหลังจากมีโครงสร้างพื้นฐานแน่นหนาแล้ว ก็จะเป็นหน้าที่ของเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ สำหรับรัฐบาลเองไม่ควรมีหน้าที่ไปออกโทเคนของตนเอง ดังเห็นได้ว่าปัจจุบันนี้ยังไม่มีประเทศใดที่ระบบการเงินล้ำหน้า ที่รัฐบาลเป็นผู้ออกโทเคนของตนเองในการกู้หนี้สาธารณะ+เรื่อง การทำให้ผู้ลงทุนรายย่อยซื้อพันธบัตรได้สะดวกวิธีการในการเปิดให้ผู้ลงทุนรายย่อยเข้ามาลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลนั้นมีอยู่แล้วในปัจจุบัน ด้วยกลไกผ่านกองทุนรวมที่ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล ดังนั้น กระทรวงการคลังจึงต้องชี้แจงให้ชัดเจนก่อนว่า G-Token จะเพิ่มความสะดวกอย่างใดแก่ผู้ลงทุน โดยเฉพาะในเรื่องการขายคืน ซึ่งราคาในกองทุนรวมจะเป็นไปตามกติกาโดยมี ก.ล.ต. กำกับดูแล แต่กรณี G-Token ผู้ลงทุนจะต้องไปขายในตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลซึ่งราคาอาจจะผันผวนไปแต่ละชั่วโมงตามแรงเก็งกำไรได้แทนที่จะเป็นการชักจูงให้ผู้ลงทุนรายย่อย ลงทุนเพื่อออมเงินอย่างปลอดภัย ระวังจะกลับกลายเป็นเวทีเก็งกำไร ระวังจะกลายเป็นกาสิโนโทเคนดิจิทัล+เรื่อง ฝ่าฝืนพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548ถึงแม้มาตรา 10 วรรคหนึ่งเปิดช่อง ให้กู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้จะทำเป็นวิธีการอื่นใดก็ได้ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แต่ข้อความก่อนหน้าซึ่งบัญญัติว่า “การกู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้จะทำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้หรือวิธีการอื่นใดก็ได้” นั้น คำว่า “วิธีการอื่นใด” น่าจะอยู่ในความหมายเดียวกับสัญญาหรือตราสารหนี้ ดังที่รายงานคณะรัฐมนตรีไว้ว่า “ปัจจุบัน การกู้เงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 จะทำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้ เช่น พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง หรือหุ้นกู้”การที่ กค. พิจารณาได้ว่าการกู้เงินโดยวิธีการออก G-Token ไม่ใช่การออกตราสารหนี้ เพื่อไม่เป็นให้เป็น “หลักทรัพย์” ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 นั้น ผมเห็นว่าขัดกับเจตนารมย์ของพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548ทั้งนี้ โทเคนดิจิทัลซึ่งตามนิยามในมาตรา 3 แห่งพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 กำหนดเป็นหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดสิทธิของผู้ถือในการได้มาซึ่งสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง นั้น คำว่า token แปลว่า สัญลักษณ์ ดังเช่น non-fungible token (NFT) หมายถึงสัญลักษณ์ที่ไม่สามารถแทนกันได้ ตัวอย่างที่ใช้กรณีงานศิลปะ ดังนั้น G-Token จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนสัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลัง ตัว G-Token เองจึงไม่ใช่สัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลังผมจึงเห็นว่า ในเมื่อเป็นเพียงสัญลักษณ์แทน แต่ไม่ใช่สัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลัง จึงไม่เข้าข่ายนิยามใดในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และจะนำไปสู่ปัญหาข้อพิพาททางกฎหมายเกิดขึ้นได้ในภายหลัง+เรื่อง การปฏิบัติตามกฏหมายเงินตรายังมีจำเป็นจะต้องมีเงื่อนไขบังคับ เพื่อไม่ให้ผู้ถือ G-Token นำไปใช้เพื่อชำระหนี้ตามกฎหมายแก่บุคคลอื่น เพราะจะเข้าข่ายเป็นเงินตราอย่างหนึ่งซึ่งจะต้องขออนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนกระทรวงการคลังต้องชี้แจงก่อนว่า จะมีมาตรการป้องกันไม่ให้ผู้ถือ G-Token นำไปใช้เพื่อชำระหนี้ตามกฎหมายแก่บุคคลอื่นได้อย่างไร+เรื่อง การประหยัดค่าใช้จ่ายนายเผ่าภูมิ โรจนสกุล รมช.คลัง กล่าวว่าการออก G-Token จะช่วยลดต้นทุนการดำเนินการ จากเดิมที่ออกพันธบัตรมีค่าธรรมเนียมดำเนินการจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) 0.03% ของกรอบวงเงินจำหน่ายนั้น กระทรวงการคลังจะต้องแจกแจงก่อนว่า G-Token จะมีต้นทุนค่าใช้จ่ายจริงเท่าไหร่ ทั้งด้านกระทรวงการคลัง ซึ่งต้องรวมไปถึงค่าใช้จ่ายทำหน้าที่เป็นนายทะเบียน ว่าต่ำกว่า ธปท. อย่างไร และทั้งด้านประชาชนผู้ลงทุนที่จะซื้อและขายคืน จะสูงหรือต่ำกว่ากลไกกองทุนรวมอย่างใดทั้งนี้ ต้องไม่ลืมว่าเงินที่กระทรวงการคลังจ่ายแก่ ธปท. นั้นไม่รั่วไหลไปไหน เพราะ ธปท. เป็นองค์กรของรัฐ **กล่าวโดยสรุป ระบบการขายพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ของรัฐบาลที่มีอยู่แล้วขณะนี้โดยผ่านกลไก ธปท. นั้น ใช้งานได้ดีไม่เคยมีปัญหา ดังนั้น การที่กระทรวงการคลังจะเพิ่มแนวการกู้หนี้สาธารณะโดยใช้โทเคนดิจิทัลนั้น จะต้องชั่งน้ำหนักแสดงแก่ประชาชนก่อนว่า ผลได้คุ้มกับผลเสียหรือไม่ส่วนความหวังที่จะนำไปสู่ตลาดทุนดิจิทัลนั้น ควรนำเสนอต่อประชาชนก่อนว่า รัฐบาลมีแผนการพัฒนาองค์รวมด้านนี้เป็นอย่างไร ไม่ใช่เดินหน้าเพียงเสี้ยวเดียวในเรื่องของการจัดทำโทเคนของรัฐบาล ซึ่งจนถึงบัดนี้ก็ยังไม่มีรัฐบาลอื่นใดในโลกที่ดำเนินการวันที่ 14 พฤษภาคม 2568นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล รองหัวหน้าพรรคฝ่ายเศรษฐกิจ พรรคพลังประชารัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    14 พฤษภาคม 2568 -อดีตรัฐมนตรีคลัง ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล วิเคราะห์เรื่องสำคัญในประเด็น“ประเทศชาติได้อะไรจาก G-token“[เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2568 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติวิธีการกู้เงินโดยการออกโทเคนดิจิทัลของรัฐบาล (Government Token: G-Token) ตามมาตรา 10 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548อนุมัติให้กระทรวงการคลังออกโทเคนดิจิทัลโดยวงเงินกู้ตามกรอบการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณด้วยวิธีการเสนอขายให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อโดยตรงผ่านผู้ที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ได้แก่ ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล นายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หรือนิติบุคคลอื่นที่สามารถรับคำสั่งซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลได้ ซึ่งมีหน้าที่ดำเนินการด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำและการออกโทเคนดิจิทัล นายทะเบียน หรือผู้รับฝากโทเคนดิจิทัล เป็นต้นให้กระทรวงการคลังกำหนดหลักเกณฑ์การชำระระดอกเบี้ยและการใช้เงินตามโทเคนดิจิทัล โดยให้กระทรวงการคลังหรือนิติบุคคลอื่นใดที่กระทรวงการคลังมอบหมาย โอนเงินให้แก่ผู้ถือโทเคน ดิจิทัลหรือผู้รับตามที่นายทะเบียนกำหนด ให้การโอนโทเคนดิจิทัลดำเนินการตามวิธีการที่ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล นายหน้าซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หรือนิติบุคคลอื่นใดที่สามารถรับคำสั่งซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลได้ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้โอนได้เปิดบัญชีเก็บรักษาโทเคนดิจิทัลของตนไว้โดยให้มีผลสมบูรณ์เมื่อผู้โอนนั้นได้บันทึกการรับโอนโทเคนดิจิทัลเข้าไปในบัญชีของผู้รับโอนแล้ว เพื่อนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการพัฒนากลไกการบริหารหนี้สาธารณะให้มีประสิทธิภาพและภาครัฐสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่หลากหลายมากขึ้น ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการออมของภาคประชาชน อันสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการวางรากฐานเศรษฐกิจดิจิทัล พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลที่มีคุณภาพ มั่นคง ปลอดภัย ครอบคลุมเพียงพอ และเข้าถึงได้ทั้งในด้านพื้นที่และราคา เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สำนักงบประมาณ และธนาคารแห่งประเทศไทยเห็นชอบ/ไม่ขัดข้อง สำนักงาน ก.ล.ต. เห็นว่า หาก กค. พิจารณาได้ว่าการกู้เงินโดยวิธีการออก G-Token ไม่ใช่การออกตราสารหนี้ ซึ่งไม่เป็น “หลักทรัพย์” ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แล้ว ก็สามารถดำเนินการภายใต้พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 โดย G-Token มีการกำหนดสิทธิให้ผู้ถือมีสิทธิได้รับชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่ กค. กำหนด จึงมีลักษณะเป็นหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดสิทธิของผู้ถือในการเข้าร่วมลงทุนในโครงการหรือ กิจการใด ๆ หรือกำหนดสิทธิในการได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการหรือสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง และเข้าข่ายเป็นโทเคนดิจิทัล ตามมาตรา 3 แห่งพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561]**ถามว่า ประเทศชาติได้อะไรจาก G-token?+เรื่อง การนำประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลการนำประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลให้สำเร็จนั้น มีเรื่องที่ต้องดำเนินการด้านโครงสร้างพื้นฐานก่อนหลายอย่าง (ดูรูป) กล่าวคือ (1) ต้องช่วยให้ประชากรเข้าถึงระบบอินเทอร์เนตอย่างกว้างขวาง (2) ต้องให้ความรู้ทั้งในระบบโรงเรียนและในกลุ่มประชาคม (3) ต้องพัฒนาธุรกิจการเงินแบบดิจิทัลให้กว้างขวางมากขึ้น (4) ต้องกระตุ้นคนรุ่นหนุ่มสาวให้ลองทำธุรกิจขนาดย่อมด้านดิจิทัลให้มากขึ้น และ (5) รัฐต้องให้บริการทางออนไลน์มากขึ้นรวมทั้งใช้บล็อกเชนในการบริหารราชการให้โปร่งใส หน้าที่ของฝ่ายรัฐบาล คือพัฒนาให้เกิดโครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้ รวมไปถึงความแน่นอนด้านกฎหมายที่จะตีความกรณีเกิดข้อพิพาทเกี่ยวข้องกับโทเคน และการนำโทเคนไปใช้เป็นหลักประกันส่วนการดำเนินการให้โทเคนเกิดขึ้นในหลักทรัพย์ต่างๆ (tokenization) อย่างหลากหลาย เพื่อนำไปสู่ตลาดทุนดิจิทัลนั้น จะต้องมีโครงสร้างพื้นฐานครบถ้วนเสียก่อน ทั้ง stable coin สกุลบาท ทั้ง smart contract ทั้งระบบเคลียริ่งที่ปลอดภัย โดยภายหลังจากมีโครงสร้างพื้นฐานแน่นหนาแล้ว ก็จะเป็นหน้าที่ของเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ สำหรับรัฐบาลเองไม่ควรมีหน้าที่ไปออกโทเคนของตนเอง ดังเห็นได้ว่าปัจจุบันนี้ยังไม่มีประเทศใดที่ระบบการเงินล้ำหน้า ที่รัฐบาลเป็นผู้ออกโทเคนของตนเองในการกู้หนี้สาธารณะ+เรื่อง การทำให้ผู้ลงทุนรายย่อยซื้อพันธบัตรได้สะดวกวิธีการในการเปิดให้ผู้ลงทุนรายย่อยเข้ามาลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลนั้นมีอยู่แล้วในปัจจุบัน ด้วยกลไกผ่านกองทุนรวมที่ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล ดังนั้น กระทรวงการคลังจึงต้องชี้แจงให้ชัดเจนก่อนว่า G-Token จะเพิ่มความสะดวกอย่างใดแก่ผู้ลงทุน โดยเฉพาะในเรื่องการขายคืน ซึ่งราคาในกองทุนรวมจะเป็นไปตามกติกาโดยมี ก.ล.ต. กำกับดูแล แต่กรณี G-Token ผู้ลงทุนจะต้องไปขายในตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลซึ่งราคาอาจจะผันผวนไปแต่ละชั่วโมงตามแรงเก็งกำไรได้แทนที่จะเป็นการชักจูงให้ผู้ลงทุนรายย่อย ลงทุนเพื่อออมเงินอย่างปลอดภัย ระวังจะกลับกลายเป็นเวทีเก็งกำไร ระวังจะกลายเป็นกาสิโนโทเคนดิจิทัล+เรื่อง ฝ่าฝืนพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548ถึงแม้มาตรา 10 วรรคหนึ่งเปิดช่อง ให้กู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้จะทำเป็นวิธีการอื่นใดก็ได้ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แต่ข้อความก่อนหน้าซึ่งบัญญัติว่า “การกู้เงินตามพระราชบัญญัตินี้จะทำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้หรือวิธีการอื่นใดก็ได้” นั้น คำว่า “วิธีการอื่นใด” น่าจะอยู่ในความหมายเดียวกับสัญญาหรือตราสารหนี้ ดังที่รายงานคณะรัฐมนตรีไว้ว่า “ปัจจุบัน การกู้เงินตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 จะทำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้ เช่น พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง หรือหุ้นกู้”การที่ กค. พิจารณาได้ว่าการกู้เงินโดยวิธีการออก G-Token ไม่ใช่การออกตราสารหนี้ เพื่อไม่เป็นให้เป็น “หลักทรัพย์” ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 นั้น ผมเห็นว่าขัดกับเจตนารมย์ของพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548ทั้งนี้ โทเคนดิจิทัลซึ่งตามนิยามในมาตรา 3 แห่งพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 กำหนดเป็นหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดสิทธิของผู้ถือในการได้มาซึ่งสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง นั้น คำว่า token แปลว่า สัญลักษณ์ ดังเช่น non-fungible token (NFT) หมายถึงสัญลักษณ์ที่ไม่สามารถแทนกันได้ ตัวอย่างที่ใช้กรณีงานศิลปะ ดังนั้น G-Token จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนสัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลัง ตัว G-Token เองจึงไม่ใช่สัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลังผมจึงเห็นว่า ในเมื่อเป็นเพียงสัญลักษณ์แทน แต่ไม่ใช่สัญญาหรือตราสารหนี้ที่ผูกพันกระทรวงการคลัง จึงไม่เข้าข่ายนิยามใดในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และจะนำไปสู่ปัญหาข้อพิพาททางกฎหมายเกิดขึ้นได้ในภายหลัง+เรื่อง การปฏิบัติตามกฏหมายเงินตรายังมีจำเป็นจะต้องมีเงื่อนไขบังคับ เพื่อไม่ให้ผู้ถือ G-Token นำไปใช้เพื่อชำระหนี้ตามกฎหมายแก่บุคคลอื่น เพราะจะเข้าข่ายเป็นเงินตราอย่างหนึ่งซึ่งจะต้องขออนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนกระทรวงการคลังต้องชี้แจงก่อนว่า จะมีมาตรการป้องกันไม่ให้ผู้ถือ G-Token นำไปใช้เพื่อชำระหนี้ตามกฎหมายแก่บุคคลอื่นได้อย่างไร+เรื่อง การประหยัดค่าใช้จ่ายนายเผ่าภูมิ โรจนสกุล รมช.คลัง กล่าวว่าการออก G-Token จะช่วยลดต้นทุนการดำเนินการ จากเดิมที่ออกพันธบัตรมีค่าธรรมเนียมดำเนินการจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) 0.03% ของกรอบวงเงินจำหน่ายนั้น กระทรวงการคลังจะต้องแจกแจงก่อนว่า G-Token จะมีต้นทุนค่าใช้จ่ายจริงเท่าไหร่ ทั้งด้านกระทรวงการคลัง ซึ่งต้องรวมไปถึงค่าใช้จ่ายทำหน้าที่เป็นนายทะเบียน ว่าต่ำกว่า ธปท. อย่างไร และทั้งด้านประชาชนผู้ลงทุนที่จะซื้อและขายคืน จะสูงหรือต่ำกว่ากลไกกองทุนรวมอย่างใดทั้งนี้ ต้องไม่ลืมว่าเงินที่กระทรวงการคลังจ่ายแก่ ธปท. นั้นไม่รั่วไหลไปไหน เพราะ ธปท. เป็นองค์กรของรัฐ **กล่าวโดยสรุป ระบบการขายพันธบัตรรัฐบาลและตราสารหนี้ของรัฐบาลที่มีอยู่แล้วขณะนี้โดยผ่านกลไก ธปท. นั้น ใช้งานได้ดีไม่เคยมีปัญหา ดังนั้น การที่กระทรวงการคลังจะเพิ่มแนวการกู้หนี้สาธารณะโดยใช้โทเคนดิจิทัลนั้น จะต้องชั่งน้ำหนักแสดงแก่ประชาชนก่อนว่า ผลได้คุ้มกับผลเสียหรือไม่ส่วนความหวังที่จะนำไปสู่ตลาดทุนดิจิทัลนั้น ควรนำเสนอต่อประชาชนก่อนว่า รัฐบาลมีแผนการพัฒนาองค์รวมด้านนี้เป็นอย่างไร ไม่ใช่เดินหน้าเพียงเสี้ยวเดียวในเรื่องของการจัดทำโทเคนของรัฐบาล ซึ่งจนถึงบัดนี้ก็ยังไม่มีรัฐบาลอื่นใดในโลกที่ดำเนินการวันที่ 14 พฤษภาคม 2568นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล รองหัวหน้าพรรคฝ่ายเศรษฐกิจ พรรคพลังประชารัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 718 มุมมอง 0 รีวิว
  • เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) 2025 แก้ไขข้อจำกัดการต่อสู้่กับแก๊งคอลเซ็นเตอร์แบบเดิมๆ และเพิ่มแนวทางให้ผู้ให้บริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบค่าเสียหาย หากพิสูจน์ไม่ได้ว่าได้ทำตามมาตรฐานต่างๆ ครบถ้วนแล้ว
    ความเปลี่ยนแปลงสำคัญ ของกฎหมายนี้คือการก่อตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ศปอท.) เป็นศูนย์กลางรับแจ้งอาชญากรรมทางเทคโนโลยี มีอำนาจในการต่อสู้กับแก๊งคอลเซ็นเตอร์รูปแบบต่างๆ เช่น
    ระงับบัญชีเงินฝาก รวบรวมจำนวนบัญชีเงินฝากที่บุคคลถือไว้ (ไม่รวมจำนวนเงิน), ขอข้อมูลบัญชีต้องสงสัย
    เปิดเผยข้อมูลบัญชีไปยังหน่วยงานเอกชนหรือรัฐที่เกี่ยวข้อง แก้ไขข้อจำกัดที่เดิมธนาคารแห่งประเทศไทยไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับฝั่งผู้ให้บริการคริปโต
    แจ้งข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ หรือชื่อ SMS ให้กสทช. สั่งบล็อค
    รวบรวมรายชื่อบุคคลหรือหมายเลขบัญชีคริปโต และสั่งให้ระงับการให้บริการได้
    ศปอท. จะใช้คนจาก สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, กรมสอบสวนคดีพิเศษ, สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิย, ธนาคารแห่งประเทศไทย, ก.ล.ต., กสทช., และหน่วยงานอื่นที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
    ประเด็นหนึ่งที่กฎหมายนี้ได้รับการพูดถึงเป็นวงกว้างนอกจากการตั้ง ศปอท. ก็คือการให้ธนาคารและค่ายโทรศัพท์มือถือร่วมรับผิดชอบค่าเสียหายเหมือนมาตรการของสิงคโปร์ แต่พ.ร.ก. ฉบับนี้เขียนในมาตรา 8/10 ให้ครอบคลุมขึ้น ด้วยการรวมทั้งสถาบันการเงิน, ผู้ให้บริการโทรคมนาคม, ผู้ให้บริการสื่อสังคมออนไลน์, และผู้ให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย ยกเว้นว่าจะพิสูจน์ได้ว่าได้ปฎิบัติตามมาตรฐานป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยีไว้ครบแล้ว
    กฎหมายมีผลแล้ววันนี้ แต่ประกาศหลักเกณฑ์จำนวนมากยังต้องรอการประกาศต่อไป
    ที่มา - ราชกิจจานุเบกษา
    เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) 2025 แก้ไขข้อจำกัดการต่อสู้่กับแก๊งคอลเซ็นเตอร์แบบเดิมๆ และเพิ่มแนวทางให้ผู้ให้บริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบค่าเสียหาย หากพิสูจน์ไม่ได้ว่าได้ทำตามมาตรฐานต่างๆ ครบถ้วนแล้ว ความเปลี่ยนแปลงสำคัญ ของกฎหมายนี้คือการก่อตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ศปอท.) เป็นศูนย์กลางรับแจ้งอาชญากรรมทางเทคโนโลยี มีอำนาจในการต่อสู้กับแก๊งคอลเซ็นเตอร์รูปแบบต่างๆ เช่น ระงับบัญชีเงินฝาก รวบรวมจำนวนบัญชีเงินฝากที่บุคคลถือไว้ (ไม่รวมจำนวนเงิน), ขอข้อมูลบัญชีต้องสงสัย เปิดเผยข้อมูลบัญชีไปยังหน่วยงานเอกชนหรือรัฐที่เกี่ยวข้อง แก้ไขข้อจำกัดที่เดิมธนาคารแห่งประเทศไทยไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับฝั่งผู้ให้บริการคริปโต แจ้งข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ หรือชื่อ SMS ให้กสทช. สั่งบล็อค รวบรวมรายชื่อบุคคลหรือหมายเลขบัญชีคริปโต และสั่งให้ระงับการให้บริการได้ ศปอท. จะใช้คนจาก สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, กรมสอบสวนคดีพิเศษ, สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิย, ธนาคารแห่งประเทศไทย, ก.ล.ต., กสทช., และหน่วยงานอื่นที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ประเด็นหนึ่งที่กฎหมายนี้ได้รับการพูดถึงเป็นวงกว้างนอกจากการตั้ง ศปอท. ก็คือการให้ธนาคารและค่ายโทรศัพท์มือถือร่วมรับผิดชอบค่าเสียหายเหมือนมาตรการของสิงคโปร์ แต่พ.ร.ก. ฉบับนี้เขียนในมาตรา 8/10 ให้ครอบคลุมขึ้น ด้วยการรวมทั้งสถาบันการเงิน, ผู้ให้บริการโทรคมนาคม, ผู้ให้บริการสื่อสังคมออนไลน์, และผู้ให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย ยกเว้นว่าจะพิสูจน์ได้ว่าได้ปฎิบัติตามมาตรฐานป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยีไว้ครบแล้ว กฎหมายมีผลแล้ววันนี้ แต่ประกาศหลักเกณฑ์จำนวนมากยังต้องรอการประกาศต่อไป ที่มา - ราชกิจจานุเบกษา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 712 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) บังคับใช้วันแรก เพิ่มเติมนิยามที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัลให้ครอบคลุม ลดขั้นตอนคืนเงินผู้เสียหาย รวมทั้งธนาคารและค่ายมือถือรับผิดชอบร่วมกัน

    วันนี้ (13 เม.ย.) เป็นวันแรกที่พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2568 มีผลบังคับใช้ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้สรุปสาระสำคัญ คือ เพิ่มเติมนิยามที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัล ให้ครอบคลุมการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บ และบัญชีสินทรัพย์ ที่เกี่ยวข้องการก่ออาชญากรรมทางเทคโนโลยี ให้สอดคล้องกับพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่มีการแก้ไข

    ขณะเดียวกัน ได้ลดขั้นตอนกระบวนการเพื่อสามารถคืนเงินให้แก่ผู้เสียหายได้โดยตรงในชั้นเจ้าหน้าที่ โดยไม่ต้องรอคำพิพากษาศาล อีกด้านหนึ่ง ยังมีการสร้างความร่วมมือ กำหนดความรับผิดชอบให้สถาบันการเงิน และผู้ให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้อง ร่วมรับผิดหากไม่ปฎิบัติตามมาตรการป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ตามมาตรการหรือมาตรฐานของหน่วยงานกำกับ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000035214

    #MGROnline #พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี #พรก #มาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี
    #DE #ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม #กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
    พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) บังคับใช้วันแรก เพิ่มเติมนิยามที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัลให้ครอบคลุม ลดขั้นตอนคืนเงินผู้เสียหาย รวมทั้งธนาคารและค่ายมือถือรับผิดชอบร่วมกัน • วันนี้ (13 เม.ย.) เป็นวันแรกที่พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2568 มีผลบังคับใช้ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้สรุปสาระสำคัญ คือ เพิ่มเติมนิยามที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัล ให้ครอบคลุมการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บ และบัญชีสินทรัพย์ ที่เกี่ยวข้องการก่ออาชญากรรมทางเทคโนโลยี ให้สอดคล้องกับพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่มีการแก้ไข • ขณะเดียวกัน ได้ลดขั้นตอนกระบวนการเพื่อสามารถคืนเงินให้แก่ผู้เสียหายได้โดยตรงในชั้นเจ้าหน้าที่ โดยไม่ต้องรอคำพิพากษาศาล อีกด้านหนึ่ง ยังมีการสร้างความร่วมมือ กำหนดความรับผิดชอบให้สถาบันการเงิน และผู้ให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้อง ร่วมรับผิดหากไม่ปฎิบัติตามมาตรการป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ตามมาตรการหรือมาตรฐานของหน่วยงานกำกับ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000035214 • #MGROnline #พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี #พรก #มาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี #DE #ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม #กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 491 มุมมอง 0 รีวิว
  • 7 เมษายน 2568 เวลา 22.00 น. DSI แถลงข่าวหลังจากรวบตัว"โบรกเกอร์" คนสนิทของหมอบุญ วนาสิน ที่หนีกบดานอยู่ประเทศจีน คดีร่วมกันฉ้อโกงเสียหาย 1.4 หมื่นล้านบาท กระทำความผิด ตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และความผิด ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และความผิดอื่น ที่เกี่ยวข้อง เป็นคดีพิเศษที่ 136/2567 เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2567 ที่ผ่านมาต่อมา ดีเอสไอได้ส่งสำนวนอัยการสั่งฟ้อง หมอบุญ กับพวกรวม 16 ราย ฐานฉ้อโกงประชาชน มูลค่าความเสียหาย 14,246,048,033 บาททั้งนี้วันนี้มีรายงานว่า ร้อยตำรวจเอก วิษณุ ฉิมตระกูล รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ พร้อมด้วย พลตำรวจโท สำราญ นวลมา ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และคณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษกองกิจการอำนวยความยุติธรรม เตรียมแถลงข่าวจับกุมผู้ต้องหาคดี "หมอบุญ วนาสิน" ที่หลบหนีไปต่างประเทศ ณ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ชั้น 2 ประตู 8 ในเวลา 22.00 น. ของวันนี้ทั้งนี้ จากรายงาน คือ น.ส.ฐิติพร เฉลิมรัตนประทีป ทำหน้าที่เป็น โบรกเกอร์ ผู้ต้องหาตามหมายจับศาลอาญา ลงวันที่ 4 ธ.ค. 67 โดยจับกุมได้ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้ ยังเหลือผู้ต้องหาอีก 2 ราย คือ นพ.บุญ และ น.ส.กชพร ที่อยู่ระหว่างหลบหนีในต่างประเทศโดยคดีดังกล่าว นพ.บุญ พร้อมพวก ได้หลอกชักชวนผู้เสียหายลงทุนโครงการทางการแพทย์ มูลค่าความเสียหายกว่า 16,000 ล้านบาท https://www.youtube.com/live/4JOmIY3cmYY?si=7NZSfJvhF4VqErlt
    7 เมษายน 2568 เวลา 22.00 น. DSI แถลงข่าวหลังจากรวบตัว"โบรกเกอร์" คนสนิทของหมอบุญ วนาสิน ที่หนีกบดานอยู่ประเทศจีน คดีร่วมกันฉ้อโกงเสียหาย 1.4 หมื่นล้านบาท กระทำความผิด ตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และความผิด ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และความผิดอื่น ที่เกี่ยวข้อง เป็นคดีพิเศษที่ 136/2567 เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2567 ที่ผ่านมาต่อมา ดีเอสไอได้ส่งสำนวนอัยการสั่งฟ้อง หมอบุญ กับพวกรวม 16 ราย ฐานฉ้อโกงประชาชน มูลค่าความเสียหาย 14,246,048,033 บาททั้งนี้วันนี้มีรายงานว่า ร้อยตำรวจเอก วิษณุ ฉิมตระกูล รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ พร้อมด้วย พลตำรวจโท สำราญ นวลมา ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และคณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษกองกิจการอำนวยความยุติธรรม เตรียมแถลงข่าวจับกุมผู้ต้องหาคดี "หมอบุญ วนาสิน" ที่หลบหนีไปต่างประเทศ ณ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ชั้น 2 ประตู 8 ในเวลา 22.00 น. ของวันนี้ทั้งนี้ จากรายงาน คือ น.ส.ฐิติพร เฉลิมรัตนประทีป ทำหน้าที่เป็น โบรกเกอร์ ผู้ต้องหาตามหมายจับศาลอาญา ลงวันที่ 4 ธ.ค. 67 โดยจับกุมได้ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้ ยังเหลือผู้ต้องหาอีก 2 ราย คือ นพ.บุญ และ น.ส.กชพร ที่อยู่ระหว่างหลบหนีในต่างประเทศโดยคดีดังกล่าว นพ.บุญ พร้อมพวก ได้หลอกชักชวนผู้เสียหายลงทุนโครงการทางการแพทย์ มูลค่าความเสียหายกว่า 16,000 ล้านบาท https://www.youtube.com/live/4JOmIY3cmYY?si=7NZSfJvhF4VqErlt
    - YouTube
    เพลิดเพลินไปกับวิดีโอและเพลงที่คุณชอบ อัปโหลดเนื้อหาต้นฉบับ และแชร์เนื้อหาทั้งหมดกับเพื่อน ครอบครัว และผู้คนทั่วโลกบน YouTube
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 637 มุมมอง 0 รีวิว
  • DSI รวบ "โบรกเกอร์" คนสนิท หมอบุญ หนีกบดานประเทศจีน ร่วมฉ้อโกง เสียหาย 1.4 หมื่นล้านเตรียมแถลงคืนนี้ 4 ทุ่มข่าวที่เกี่ยวข้องความคืบหน้ากรณี นายแพทย์บุญ วนาสิน กับพวก ถูกกล่าวหาว่าร่วมกันกระทำความผิด ตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และความผิด ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และความผิดอื่น ที่เกี่ยวข้อง เป็นคดีพิเศษที่ 136/2567 เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2567 ที่ผ่านมาต่อมา ดีเอสไอได้ส่งสำนวนอัยการสั่งฟ้อง หมอบุญ กับพวกรวม 16 ราย ฐานฉ้อโกงประชาชน มูลค่าความเสียหาย 14,246,048,033 บาท ตามที่เสนอข่าวไปแล้วนั้นล่าสุด วันที่ 7 เมษายน 2568 มีรายงานว่า ร้อยตำรวจเอก วิษณุ ฉิมตระกูล รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ พร้อมด้วย พลตำรวจโท สำราญ นวลมา ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และคณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษกองกิจการอำนวยความยุติธรรม เตรียมแถลงข่าวจับกุมผู้ต้องหาคดี "หมอบุญ วนาสิน" ที่หลบหนีไปต่างประเทศ ณ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ชั้น 2 ประตู 8 ในเวลา 22.00 น. ของวันนี้ทั้งนี้ จากรายงาน คือ น.ส.ฐิติพร เฉลิมรัตนประทีป ทำหน้าที่เป็น โบรกเกอร์ ผู้ต้องหาตามหมายจับศาลอาญา ลงวันที่ 4 ธ.ค. 67 โดยจับกุมได้ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้ ยังเหลือผู้ต้องหาอีก 2 ราย คือ นพ.บุญ และ น.ส.กชพร ที่อยู่ระหว่างหลบหนีในต่างประเทศโดยคดีดังกล่าว นพ.บุญ พร้อมพวก ได้หลอกชักชวนผู้เสียหายลงทุนโครงการทางการแพทย์ มูลค่าความเสียหายกว่า 16,000 ล้านบาทhttps://www.amarintv.com/news/crime/511086#
    DSI รวบ "โบรกเกอร์" คนสนิท หมอบุญ หนีกบดานประเทศจีน ร่วมฉ้อโกง เสียหาย 1.4 หมื่นล้านเตรียมแถลงคืนนี้ 4 ทุ่มข่าวที่เกี่ยวข้องความคืบหน้ากรณี นายแพทย์บุญ วนาสิน กับพวก ถูกกล่าวหาว่าร่วมกันกระทำความผิด ตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และความผิด ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และความผิดอื่น ที่เกี่ยวข้อง เป็นคดีพิเศษที่ 136/2567 เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2567 ที่ผ่านมาต่อมา ดีเอสไอได้ส่งสำนวนอัยการสั่งฟ้อง หมอบุญ กับพวกรวม 16 ราย ฐานฉ้อโกงประชาชน มูลค่าความเสียหาย 14,246,048,033 บาท ตามที่เสนอข่าวไปแล้วนั้นล่าสุด วันที่ 7 เมษายน 2568 มีรายงานว่า ร้อยตำรวจเอก วิษณุ ฉิมตระกูล รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ พร้อมด้วย พลตำรวจโท สำราญ นวลมา ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และคณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษกองกิจการอำนวยความยุติธรรม เตรียมแถลงข่าวจับกุมผู้ต้องหาคดี "หมอบุญ วนาสิน" ที่หลบหนีไปต่างประเทศ ณ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ชั้น 2 ประตู 8 ในเวลา 22.00 น. ของวันนี้ทั้งนี้ จากรายงาน คือ น.ส.ฐิติพร เฉลิมรัตนประทีป ทำหน้าที่เป็น โบรกเกอร์ ผู้ต้องหาตามหมายจับศาลอาญา ลงวันที่ 4 ธ.ค. 67 โดยจับกุมได้ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้ ยังเหลือผู้ต้องหาอีก 2 ราย คือ นพ.บุญ และ น.ส.กชพร ที่อยู่ระหว่างหลบหนีในต่างประเทศโดยคดีดังกล่าว นพ.บุญ พร้อมพวก ได้หลอกชักชวนผู้เสียหายลงทุนโครงการทางการแพทย์ มูลค่าความเสียหายกว่า 16,000 ล้านบาทhttps://www.amarintv.com/news/crime/511086#
    WWW.AMARINTV.COM
    DSI รวบ "โบรกเกอร์" คนสนิท หมอบุญ หลังหนีกบดานประเทศจีน
    DSI รวบ "โบรกเกอร์" คนสนิท หมอบุญ หนีกบดานประเทศจีน ร่วมฉ้อโกง เสียหาย 1.4 หมื่นล้านเตรียมแถลงคืนนี้ 4 ทุ่ม
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 598 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลอาญากรุงเทพใต้ พิพากษาจำคุก 5 ปี ไม่รอลงอาญา เอกลาภ ยิ้มวิไล ผู้ก่อตั้ง Zipmex ผู้ให้บริการด้านสินทรัพย์ดิจิทัล ฐานฉ้อโกงประชาชน พร้อมปรับบริษัทฯ 1 แสนบาท หลังผู้เสียหายรายหนึ่งฟ้องคดีอาญา ยังมีคดีกลุ่มผู้เสียหายยื่นฟ้องแบบกลุ่ม เรียกค่าเสียหายกว่า 5 พันล้าน กำลังไต่สวนคดี
    .
    วันนี้ (17 ก.พ.) ศาลอาญากรุงเทพใต้ อ่านคำพิพากษาคดีที่มีผู้เสียหายเป็นโจทก์ยื่นฟ้อง บริษัท ซิปเม็กซ์ จำกัด (Zipmex) ผู้ให้บริการด้านสินทรัพย์ดิจิทัล จำเลยที่ 1 และนายเอกลาภ ยิ้มวิไล ผู้ร่วมก่อตั้งและเป็นอดีตกรรมการและผู้บริหารบริษัท ซิปเม็กซ์ฯ จำเลยที่ 2 ความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 343 และความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 14 (1) ประกอบประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 โดยศาลพิเคราะห์พยานหลักฐานและพิพากษาให้จำเลยทั้งสองมีความผิด พิพากษาลงโทษปรับบริษัท ซิปเม็กซ์ฯ เป็นเงิน 100,000 บาท และลงโทษจำคุกนายเอกลาภ ยิ้มวิไล เวลา 5 ปี โดยไม่รอลงอาญา ส่วนข้อหาอื่นให้ยกฟ้อง
    .
    คดีนี้สืบเนื่องจาก Zipmex ซึ่งเคยได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทการเป็น ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลและนายหน้าซื้อขายคริปโทเคอร์เรนซีและโทเคนดิจิทัลตามพระราชกำหนด การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 ได้ก่อความเสียหายต่อประชาชนผู้ลงทุน ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้พบการกระทำความผิดกฎหมายหลายกรณีและได้กล่าวโทษจำเลยไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจให้ดำเนินคดีอาญา อีกทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ได้มีคำสั่งเพิกถอนการอนุญาตประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลของ Zipmex ตั้งแต่วันที่ 28 พ.ค. 2567
    .
    คดีดังกล่าวผู้เสียหายรายหนึ่งได้ฟ้องดำเนินคดีอาญา และมีคำพิพากษาในวันนี้ แต่ยังมีกลุ่มผู้เสียหายที่เรียกตัวเองว่า กลุ่มร่วมสู้ Zipmex ร่วมมือกันยื่นฟ้องคดีผู้บริโภคแบบกลุ่ม (Consumer Class Action) ซึ่งมีผู้เสียหายรวมตัวกัน 741 ราย มูลค่าความเสียหาย 2,667.29 ล้านบาท โดยฟ้องจำเลย 23 ราย ทั้งในไทยและต่างประเทศเพื่อเรียกค่าเสียหายเพื่อการลงโทษรวมไม่ต่ำกว่า 5,000 ล้านบาท ซึ่งได้มอบหมายให้นายวีรพัฒน์ ปริยวงศ์ ผู้ก่อตั้งสำนักกฎหมาย VLA รับมอบอำนาจยื่นฟ้องคดีแพ่งแบบกลุ่ม ปัจจุบันศาลแพ่งกรุงเทพใต้ นัดไต่สวคดีเมื่อวันที่ 3 ก.พ. ที่ผ่านมา
    .
    คลิกอ่าน >> https://sondhitalk.com/detail/9680000015807
    ......
    Sondhi X
    ศาลอาญากรุงเทพใต้ พิพากษาจำคุก 5 ปี ไม่รอลงอาญา เอกลาภ ยิ้มวิไล ผู้ก่อตั้ง Zipmex ผู้ให้บริการด้านสินทรัพย์ดิจิทัล ฐานฉ้อโกงประชาชน พร้อมปรับบริษัทฯ 1 แสนบาท หลังผู้เสียหายรายหนึ่งฟ้องคดีอาญา ยังมีคดีกลุ่มผู้เสียหายยื่นฟ้องแบบกลุ่ม เรียกค่าเสียหายกว่า 5 พันล้าน กำลังไต่สวนคดี . วันนี้ (17 ก.พ.) ศาลอาญากรุงเทพใต้ อ่านคำพิพากษาคดีที่มีผู้เสียหายเป็นโจทก์ยื่นฟ้อง บริษัท ซิปเม็กซ์ จำกัด (Zipmex) ผู้ให้บริการด้านสินทรัพย์ดิจิทัล จำเลยที่ 1 และนายเอกลาภ ยิ้มวิไล ผู้ร่วมก่อตั้งและเป็นอดีตกรรมการและผู้บริหารบริษัท ซิปเม็กซ์ฯ จำเลยที่ 2 ความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 343 และความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 14 (1) ประกอบประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 โดยศาลพิเคราะห์พยานหลักฐานและพิพากษาให้จำเลยทั้งสองมีความผิด พิพากษาลงโทษปรับบริษัท ซิปเม็กซ์ฯ เป็นเงิน 100,000 บาท และลงโทษจำคุกนายเอกลาภ ยิ้มวิไล เวลา 5 ปี โดยไม่รอลงอาญา ส่วนข้อหาอื่นให้ยกฟ้อง . คดีนี้สืบเนื่องจาก Zipmex ซึ่งเคยได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทการเป็น ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลและนายหน้าซื้อขายคริปโทเคอร์เรนซีและโทเคนดิจิทัลตามพระราชกำหนด การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 ได้ก่อความเสียหายต่อประชาชนผู้ลงทุน ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้พบการกระทำความผิดกฎหมายหลายกรณีและได้กล่าวโทษจำเลยไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจให้ดำเนินคดีอาญา อีกทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ได้มีคำสั่งเพิกถอนการอนุญาตประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลของ Zipmex ตั้งแต่วันที่ 28 พ.ค. 2567 . คดีดังกล่าวผู้เสียหายรายหนึ่งได้ฟ้องดำเนินคดีอาญา และมีคำพิพากษาในวันนี้ แต่ยังมีกลุ่มผู้เสียหายที่เรียกตัวเองว่า กลุ่มร่วมสู้ Zipmex ร่วมมือกันยื่นฟ้องคดีผู้บริโภคแบบกลุ่ม (Consumer Class Action) ซึ่งมีผู้เสียหายรวมตัวกัน 741 ราย มูลค่าความเสียหาย 2,667.29 ล้านบาท โดยฟ้องจำเลย 23 ราย ทั้งในไทยและต่างประเทศเพื่อเรียกค่าเสียหายเพื่อการลงโทษรวมไม่ต่ำกว่า 5,000 ล้านบาท ซึ่งได้มอบหมายให้นายวีรพัฒน์ ปริยวงศ์ ผู้ก่อตั้งสำนักกฎหมาย VLA รับมอบอำนาจยื่นฟ้องคดีแพ่งแบบกลุ่ม ปัจจุบันศาลแพ่งกรุงเทพใต้ นัดไต่สวคดีเมื่อวันที่ 3 ก.พ. ที่ผ่านมา . คลิกอ่าน >> https://sondhitalk.com/detail/9680000015807 ...... Sondhi X
    SONDHITALK.COM
    คุก 5 ปี เอกลาภ ยิ้มวิไล อดีตผู้บริหาร Zipmex ฐานฉ้อโกงประชาชน
    ศาลอาญากรุงเทพใต้ พิพากษาจำคุก 5 ปี ไม่รอลงอาญา เอกลาภ ยิ้มวิไล ผู้ก่อตั้ง Zipmex ผู้ให้บริการด้านสินทรัพย์ดิจิทัล ฐานฉ้อโกงประชาชน พร้อมปรับบริษัทฯ 1 แสนบาท หลังผู้เสียหายรายหนึ่งฟ้องคดีอาญา ยังมีคดีกลุ่มผู้เสียหายยื่นฟ้องแบบกลุ่
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 774 มุมมอง 0 รีวิว
  • เริ่ม กพ.นี้ แบงค์+ค่ายมือถือ ต้องรับผิดชอบ กรณีปชชถูกแก๊๊ง call เซ็นเตอร์ตุ๋น ออกเป็นพระราชกำหนดแล้ว
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง3
    เริ่ม กพ.นี้ แบงค์+ค่ายมือถือ ต้องรับผิดชอบ กรณีปชชถูกแก๊๊ง call เซ็นเตอร์ตุ๋น ออกเป็นพระราชกำหนดแล้ว #คิงส์โพธิ์แดง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 298 มุมมอง 0 รีวิว
  • โฆษกอัยการสูงสุด แถลงสั่งฟ้อง ดิไอคอนกรุ๊ป จำกัด กับพวก 17 ราย แต่สั่งไม่ฟ้อง แซม ยุรนันท์ - มีน พีชญา ดาราสาว เหตุพยานหลักฐานยังไม่เพียงพอ ส่งอธ.ดีเอสไอเห็นแย้งหรือไม่
    .
    วันนี้ (8 ม.ค.) เมื่อเวลา 14.00 น. นายศักดิ์เกษม นิไทรโยค ผู้ตรวจการอัยการ ในฐานะโฆษกสำนักงานอัยการสูงสุด แถลงข่าวว่า ตามที่สำนักงานคดีพิเศษ สำนักงานอัยการสูงสุด ได้รับสำนวนจากพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2567 คดีระหว่าง นายณัฏฐ์ ธนาพิพัฒน์ดลภัค กับพวก ผู้กล่าวหาบริษัท ดิไอคอน กรุ๊ป จำกัด โดยนายวรัตน์พล วรัทย์รกุล ผู้ต้องหาที่ 1 กับพวกรวม 19 คน ข้อหา "ร่วมกันฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันโดยทุจริตหรือโดยหลอกลวง นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือน หรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน, ร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรง ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงดำเนินกิจการใน ลักษณะที่เป็นการชักชวนให้บุคคลเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการประกอบธุรกิจโดยตกลงว่าจะให้ผลประโยชน์ตอบแทนจากการหาผู้เข้าร่วมเครือข่ายดังกล่าวซึ่งคำนวณจากจำนวนผู้เข้าร่วมเครือข่ายที่เพิ่มขึ้นโดยฝ่าฝืนต่อกฎหมาย, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรงโดยไม่ได้รับอนุญาต" เหตุเกิดระหว่างวันที่ 12 สิงหาคม 2563 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2567 ใน ท้องที่แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร และหลายท้องที่ทั่วราชอาณาจักรต่อเนื่องกัน คิดเป็นค่าเสียหายรวมประมาณ 649,912,290 บาท นั้น
    .
    เนื่องจากคดีนี้มีผู้เสียหายจำนวนมากและเป็นคดีที่ประชาชนและสื่อมวลชนให้ความสนใจ ถือเป็นคดีสำคัญตามระเบียบสำนักงานอัยการสูงสุด จึงได้มีคำสั่งตั้งคณะทำงานร่วมกันพิจารณา บัดนี้สำนักงานคดีพิเศษได้พิจารณาสำนวนดังกล่าวแล้วมีความเห็นและคำสั่ง ดังนี้
    .
    1. สั่งฟ้อง บริษัท ดิไอคอนกรุ๊ป จำกัด โดยนายวรัตน์พล วรัทย์วรกุล กรรมการผู้มีอำนาจ ผู้ต้องหาที่ 1,นายวรัตน์พล วรัทย์วรกุล หรือบอสพอล ผู้ต้องหาที่ 2, นายจิระวัฒน์ แสงภักดี หรือบอสแล็ป ผู้ต้องหาที่ 3,นายกลด เศรษฐนันท์ หรือบอสปีเตอร์ ผู้ต้องหาที่ 4, น.ส.ปัญจรัศม์ กนกรักษ์ธนพร หรือบอสปัน ผู้ต้องหาที่ 5,นายฐานานนท์ หิรัญไชยวรรณ หรือบอสหมอเอก ผูตองหาที่ 6, น.สนัฐปสรณ์ ฉัตรธนสรณ์ หรือบอสสวย ผู้ต้องหาที่ 7,น.ส.ญาสิกัญจณ์ เอกชิสนุพงศ์ หรือบอสโซดา ผู้ตองหาที่ 8, นายนันทธรัฐ เชาวนปรีชา หรือบอสโอม ผู้ต้องหาที่ 9,นายธวิณทรภัส ภูพัฒนรินทร์ หรือบอสวิน ผูตองหาที่ 10, น.ส.กนกธร ปูรณะสุคนธ์ หรือบอสแม่หญิง ผู้ต้องหาที่ 11,น.ส.เสาวภา วงษ์สาขา หรือบอสอูมมี ผู้ต้องหาที่ 12, นายเชษฐ์ณภัฏ อภิพัฒนกานต์ หรือบอสทอมมี่ ผู้ต้องหาที่ 13,นายหัสยานนท์ เอกชิสนุพงศ์ หรือบอสป๊อบ ผู้ต้องหาที่ 14, นางวิไลลักษณ์ ยาวิชัย หรือบอสจอย ผู้ต้องหาที่ 15,นายธนะโรจน์ ธิติจริยาวัชร์ หรือบอสออฟ ผู้ต้องหาที่ 16 และนายกันต์ กันตถาวร หรือบอสกันต์ ผู้ต้องหาที่ 19ตามข้อกล่าวหา
    .
    ฐาน "ร่วมกันฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันโดยทุจริตหรือโดยหลอกลวง นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือน หรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็ง โดยประการ ที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน, ร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรงประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงดำเนินกิจการในลักษณะที่เป็นการชักชวนให้บุคคลเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการประกอบ ธุรกิจโดยตกลงว่าจะให้ผลประโยชน์ตอบแทนจากการหาผู้เข้าร่วมเครือข่ายดังกล่าวซึ่งคำนวณจากจำนวนผู้เข้าร่วมเครือข่ายที่เพิ่มขึ้นโดยฝ่าฝืนต่อกฎหมาย, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรงโดยไม่ได้รับอนุญาต" ตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 มาตรา 3, 19, 20, 38, 46, 47, 54, พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 มาตรา 3, 6, 18, 23 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33, 83, 91, 341, 343 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2526 มาตรา 4 พระราชบัญญัติแก้ไขเพามเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 26) พ.ศ. 2560 มาตรา 4 พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527มาตรา 3, 4, 5, 9, 11/1, 12, 15 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนพ.ศ. 2534 มาตรา 3 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน (ฉบับที่ 2)
    พ.ศ. 2545 มาตรา 3, 4, 5 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของ ผู้แทนนิติบุคคล พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 มาตรา 8 ตามความเห็นพนักงานสอบสวน
    .
    2. สั่งไม่ฟ้อง นายยุรนันท์ ภมรมนตรี หรือบอสแชม ผู้ต้องหาที่ 17 และ น.ส.พีชญา วัฒนามนตรี หรือบอสมีน ผู้ต้องหาที่ 18 ตามข้อกล่าวหา ฐาน "ร่วมกันน้อโกงประชาชน, ร่วมกันโดยทุจริตหรือโดยหลอกลวง นำเข้า สู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือน หรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน, ร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรง ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงดำเนินกิจการในลักษณะที่เป็นการชักชวนให้บุคคลเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการประกอบธุรกิจโดยตกลงว่าจะให้ผลประโยชน์ตอบแทนจากการหาผู้เข้าร่วมเครือข่ายดังกล่าว ซึ่งคำนวณจากจำนวนผู้เข้าร่วมเครือข่ายที่เพิ่มขึ้นโดยผ่าฝืนต่อกฎหมาย, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรงโดยไม่ได้รับอนุญาต" ตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 มาตรา 3, 19, 20, 38, 46, 47, 54,พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 มาตรา 3, 6, 18, 23 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33, 83, 91, 341, 343 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2526 มาตรา 4พระราชบัญญัติแก่ไขเพามเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 26) พ.ศ. 2560 มาตรา 4 พระราชกำหนดการกูยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 มาตรา 3, 4, 5, 9, 11/1, 12, 15 พระราชบัญญัติแก่ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2534 มาตรา 3 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการ กูยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 3, 4, 5 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคล พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติวาด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 มาตรา 8 แย้งความเห็นพนักงานสอบสวนผู้ต้องหาที่พนักงานอัยการสำนักงานคดีพิเศษ มีคำสั่งฟ้องตามความเห็นของพนักงานสอบสวนกรมสอบสวนคดีพิเศษนั้น พนักงานอัยการสำนักงานคดีพิเศษ จะได้ดำเนินการยื่นฟ้องผู้ต้องหาทั้ง 17 ต่อศาลอาญาใน วันนี้
    .
    ส่วนผู้ต้องหาที่ 17 และ 18 ซึ่งพนักงานอัยการสำนักคดีพิเศษ มีคำสั่งไม่ฟ้องนั้น พนักงานอัยการสำนักงานคดีพิเศษ จะได้ดำเนินการยื่นคำร้องขอปล่อยตัวผู้ต้องหาต่อศาลอาญาและจะดำเนินการส่งสำนวนพร้อมความเห็นและคำสั่งไม่ฟ้องไปยังอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ เพื่อพิจารณาว่าจะมีความเห็นแย้งในคำสั่งไม่ฟ้องหรือไม่ตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 ต่อไป
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000002167
    .........
    Sondhi X
    โฆษกอัยการสูงสุด แถลงสั่งฟ้อง ดิไอคอนกรุ๊ป จำกัด กับพวก 17 ราย แต่สั่งไม่ฟ้อง แซม ยุรนันท์ - มีน พีชญา ดาราสาว เหตุพยานหลักฐานยังไม่เพียงพอ ส่งอธ.ดีเอสไอเห็นแย้งหรือไม่ . วันนี้ (8 ม.ค.) เมื่อเวลา 14.00 น. นายศักดิ์เกษม นิไทรโยค ผู้ตรวจการอัยการ ในฐานะโฆษกสำนักงานอัยการสูงสุด แถลงข่าวว่า ตามที่สำนักงานคดีพิเศษ สำนักงานอัยการสูงสุด ได้รับสำนวนจากพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2567 คดีระหว่าง นายณัฏฐ์ ธนาพิพัฒน์ดลภัค กับพวก ผู้กล่าวหาบริษัท ดิไอคอน กรุ๊ป จำกัด โดยนายวรัตน์พล วรัทย์รกุล ผู้ต้องหาที่ 1 กับพวกรวม 19 คน ข้อหา "ร่วมกันฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันโดยทุจริตหรือโดยหลอกลวง นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือน หรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน, ร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรง ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงดำเนินกิจการใน ลักษณะที่เป็นการชักชวนให้บุคคลเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการประกอบธุรกิจโดยตกลงว่าจะให้ผลประโยชน์ตอบแทนจากการหาผู้เข้าร่วมเครือข่ายดังกล่าวซึ่งคำนวณจากจำนวนผู้เข้าร่วมเครือข่ายที่เพิ่มขึ้นโดยฝ่าฝืนต่อกฎหมาย, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรงโดยไม่ได้รับอนุญาต" เหตุเกิดระหว่างวันที่ 12 สิงหาคม 2563 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2567 ใน ท้องที่แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร และหลายท้องที่ทั่วราชอาณาจักรต่อเนื่องกัน คิดเป็นค่าเสียหายรวมประมาณ 649,912,290 บาท นั้น . เนื่องจากคดีนี้มีผู้เสียหายจำนวนมากและเป็นคดีที่ประชาชนและสื่อมวลชนให้ความสนใจ ถือเป็นคดีสำคัญตามระเบียบสำนักงานอัยการสูงสุด จึงได้มีคำสั่งตั้งคณะทำงานร่วมกันพิจารณา บัดนี้สำนักงานคดีพิเศษได้พิจารณาสำนวนดังกล่าวแล้วมีความเห็นและคำสั่ง ดังนี้ . 1. สั่งฟ้อง บริษัท ดิไอคอนกรุ๊ป จำกัด โดยนายวรัตน์พล วรัทย์วรกุล กรรมการผู้มีอำนาจ ผู้ต้องหาที่ 1,นายวรัตน์พล วรัทย์วรกุล หรือบอสพอล ผู้ต้องหาที่ 2, นายจิระวัฒน์ แสงภักดี หรือบอสแล็ป ผู้ต้องหาที่ 3,นายกลด เศรษฐนันท์ หรือบอสปีเตอร์ ผู้ต้องหาที่ 4, น.ส.ปัญจรัศม์ กนกรักษ์ธนพร หรือบอสปัน ผู้ต้องหาที่ 5,นายฐานานนท์ หิรัญไชยวรรณ หรือบอสหมอเอก ผูตองหาที่ 6, น.สนัฐปสรณ์ ฉัตรธนสรณ์ หรือบอสสวย ผู้ต้องหาที่ 7,น.ส.ญาสิกัญจณ์ เอกชิสนุพงศ์ หรือบอสโซดา ผู้ตองหาที่ 8, นายนันทธรัฐ เชาวนปรีชา หรือบอสโอม ผู้ต้องหาที่ 9,นายธวิณทรภัส ภูพัฒนรินทร์ หรือบอสวิน ผูตองหาที่ 10, น.ส.กนกธร ปูรณะสุคนธ์ หรือบอสแม่หญิง ผู้ต้องหาที่ 11,น.ส.เสาวภา วงษ์สาขา หรือบอสอูมมี ผู้ต้องหาที่ 12, นายเชษฐ์ณภัฏ อภิพัฒนกานต์ หรือบอสทอมมี่ ผู้ต้องหาที่ 13,นายหัสยานนท์ เอกชิสนุพงศ์ หรือบอสป๊อบ ผู้ต้องหาที่ 14, นางวิไลลักษณ์ ยาวิชัย หรือบอสจอย ผู้ต้องหาที่ 15,นายธนะโรจน์ ธิติจริยาวัชร์ หรือบอสออฟ ผู้ต้องหาที่ 16 และนายกันต์ กันตถาวร หรือบอสกันต์ ผู้ต้องหาที่ 19ตามข้อกล่าวหา . ฐาน "ร่วมกันฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันโดยทุจริตหรือโดยหลอกลวง นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือน หรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็ง โดยประการ ที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน, ร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรงประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงดำเนินกิจการในลักษณะที่เป็นการชักชวนให้บุคคลเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการประกอบ ธุรกิจโดยตกลงว่าจะให้ผลประโยชน์ตอบแทนจากการหาผู้เข้าร่วมเครือข่ายดังกล่าวซึ่งคำนวณจากจำนวนผู้เข้าร่วมเครือข่ายที่เพิ่มขึ้นโดยฝ่าฝืนต่อกฎหมาย, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรงโดยไม่ได้รับอนุญาต" ตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 มาตรา 3, 19, 20, 38, 46, 47, 54, พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 มาตรา 3, 6, 18, 23 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33, 83, 91, 341, 343 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2526 มาตรา 4 พระราชบัญญัติแก้ไขเพามเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 26) พ.ศ. 2560 มาตรา 4 พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527มาตรา 3, 4, 5, 9, 11/1, 12, 15 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนพ.ศ. 2534 มาตรา 3 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 3, 4, 5 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของ ผู้แทนนิติบุคคล พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 มาตรา 8 ตามความเห็นพนักงานสอบสวน . 2. สั่งไม่ฟ้อง นายยุรนันท์ ภมรมนตรี หรือบอสแชม ผู้ต้องหาที่ 17 และ น.ส.พีชญา วัฒนามนตรี หรือบอสมีน ผู้ต้องหาที่ 18 ตามข้อกล่าวหา ฐาน "ร่วมกันน้อโกงประชาชน, ร่วมกันโดยทุจริตหรือโดยหลอกลวง นำเข้า สู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือน หรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน, ร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรง ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงดำเนินกิจการในลักษณะที่เป็นการชักชวนให้บุคคลเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการประกอบธุรกิจโดยตกลงว่าจะให้ผลประโยชน์ตอบแทนจากการหาผู้เข้าร่วมเครือข่ายดังกล่าว ซึ่งคำนวณจากจำนวนผู้เข้าร่วมเครือข่ายที่เพิ่มขึ้นโดยผ่าฝืนต่อกฎหมาย, ร่วมกันประกอบธุรกิจขายตรงโดยไม่ได้รับอนุญาต" ตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 มาตรา 3, 19, 20, 38, 46, 47, 54,พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 มาตรา 3, 6, 18, 23 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33, 83, 91, 341, 343 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2526 มาตรา 4พระราชบัญญัติแก่ไขเพามเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 26) พ.ศ. 2560 มาตรา 4 พระราชกำหนดการกูยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 มาตรา 3, 4, 5, 9, 11/1, 12, 15 พระราชบัญญัติแก่ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2534 มาตรา 3 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการ กูยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 3, 4, 5 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคล พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติวาด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 มาตรา 8 แย้งความเห็นพนักงานสอบสวนผู้ต้องหาที่พนักงานอัยการสำนักงานคดีพิเศษ มีคำสั่งฟ้องตามความเห็นของพนักงานสอบสวนกรมสอบสวนคดีพิเศษนั้น พนักงานอัยการสำนักงานคดีพิเศษ จะได้ดำเนินการยื่นฟ้องผู้ต้องหาทั้ง 17 ต่อศาลอาญาใน วันนี้ . ส่วนผู้ต้องหาที่ 17 และ 18 ซึ่งพนักงานอัยการสำนักคดีพิเศษ มีคำสั่งไม่ฟ้องนั้น พนักงานอัยการสำนักงานคดีพิเศษ จะได้ดำเนินการยื่นคำร้องขอปล่อยตัวผู้ต้องหาต่อศาลอาญาและจะดำเนินการส่งสำนวนพร้อมความเห็นและคำสั่งไม่ฟ้องไปยังอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ เพื่อพิจารณาว่าจะมีความเห็นแย้งในคำสั่งไม่ฟ้องหรือไม่ตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 ต่อไป . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000002167 ......... Sondhi X
    Like
    Haha
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1962 มุมมอง 0 รีวิว


  • 7 พฤศจิกายน 2567- รายงานสำนักข่าวอิศราระบุว่า คดีนี้สืบเนื่องจากเมื่อวานนี้ (6 พ.ย. 2567) คณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ กองคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้ดำเนินการเข้าตรวจตู้นิรภัยจำนวน 21 ตู้ของธนาคารพาณิชย์ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มนายทุนที่เชื่อมโยงกับธุรกิจพนันออนไลน์ในเครือข่าย “แม่มนต์” คดีพิเศษที่ 76/2566 และ 89/2567 โดยมีการดำเนินคดีกับผู้ต้องหา จำนวน 38 ราย ในข้อหาที่รวมถึงการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การจัดให้มีการพนันที่ไม่ได้รับอนุญาต และการฟอกเงิน อ้างอิงตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ. 2478 พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมตามหมายจับแล้วรวม 20 ราย ภายหลังจากการขยายผล พบว่ามีการกระทำความผิดเพิ่มเติม โดยกลุ่มบุคคลทำหน้าที่โยกย้ายเงินที่ได้จากเว็บพนันไปยังบัญชีธนาคารอื่น ซึ่งเกี่ยวข้องกับนายทุนใหญ่ 5 ราย โดยการกระทำดังกล่าวมีลักษณะการฟอกเงินและละเมิดพระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี พ.ศ. 2566 ทางกรมสอบสวนคดีพิเศษจึงได้อนุมัติให้ทำการสืบสวนสอบสวนเพิ่มเติมเป็นคดีพิเศษที่ 89/2567

    จากการตรวจสอบพบว่ากลุ่มนายทุนได้เช่าตู้นิรภัยไว้ที่ธนาคารในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ทางคณะพนักงานสอบสวนจึงขออนุมัติศาลจังหวัดลพบุรีเพื่อทำการเปิดตู้นิรภัยทั้ง 21 ตู้ พบทรัพย์สิน มูลค่าประเมินกว่า 200 ล้านบาท อาทิ ทรัพย์สินที่มีลักษณะสีคล้ายทองคำ เช่น สร้อยคอ กำไล ต่างหู แหวน สร้อยข้อมือ กำไลคอ เข็มขัด โลหะแท่ง ปิ่นโต แก้ว ชาม จาน ช้อนส้อม กระเป๋าถือ สร้อยคล้ายเพชร โฉนดที่ดิน เงินสดกว่า 15 ล้านบาท และพระเครื่อง รวมทั้งสิ้นประมาณ 300 ล้านบาท

    ที่มา : สำนักข่าวอิศรา
    https://www.isranews.org/article/isranews/133189-government-10.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0iJiORYEJns_S4fqAey0WQrVPeUAKT6HXQDwBcfhOTlmnBEIltKzAKMs8_aem_6sVgMMuvJg2RKvO0rDqBcA

    #Thaitimes
    7 พฤศจิกายน 2567- รายงานสำนักข่าวอิศราระบุว่า คดีนี้สืบเนื่องจากเมื่อวานนี้ (6 พ.ย. 2567) คณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ กองคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้ดำเนินการเข้าตรวจตู้นิรภัยจำนวน 21 ตู้ของธนาคารพาณิชย์ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มนายทุนที่เชื่อมโยงกับธุรกิจพนันออนไลน์ในเครือข่าย “แม่มนต์” คดีพิเศษที่ 76/2566 และ 89/2567 โดยมีการดำเนินคดีกับผู้ต้องหา จำนวน 38 ราย ในข้อหาที่รวมถึงการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การจัดให้มีการพนันที่ไม่ได้รับอนุญาต และการฟอกเงิน อ้างอิงตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ. 2478 พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมตามหมายจับแล้วรวม 20 ราย ภายหลังจากการขยายผล พบว่ามีการกระทำความผิดเพิ่มเติม โดยกลุ่มบุคคลทำหน้าที่โยกย้ายเงินที่ได้จากเว็บพนันไปยังบัญชีธนาคารอื่น ซึ่งเกี่ยวข้องกับนายทุนใหญ่ 5 ราย โดยการกระทำดังกล่าวมีลักษณะการฟอกเงินและละเมิดพระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี พ.ศ. 2566 ทางกรมสอบสวนคดีพิเศษจึงได้อนุมัติให้ทำการสืบสวนสอบสวนเพิ่มเติมเป็นคดีพิเศษที่ 89/2567 จากการตรวจสอบพบว่ากลุ่มนายทุนได้เช่าตู้นิรภัยไว้ที่ธนาคารในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ทางคณะพนักงานสอบสวนจึงขออนุมัติศาลจังหวัดลพบุรีเพื่อทำการเปิดตู้นิรภัยทั้ง 21 ตู้ พบทรัพย์สิน มูลค่าประเมินกว่า 200 ล้านบาท อาทิ ทรัพย์สินที่มีลักษณะสีคล้ายทองคำ เช่น สร้อยคอ กำไล ต่างหู แหวน สร้อยข้อมือ กำไลคอ เข็มขัด โลหะแท่ง ปิ่นโต แก้ว ชาม จาน ช้อนส้อม กระเป๋าถือ สร้อยคล้ายเพชร โฉนดที่ดิน เงินสดกว่า 15 ล้านบาท และพระเครื่อง รวมทั้งสิ้นประมาณ 300 ล้านบาท ที่มา : สำนักข่าวอิศรา https://www.isranews.org/article/isranews/133189-government-10.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0iJiORYEJns_S4fqAey0WQrVPeUAKT6HXQDwBcfhOTlmnBEIltKzAKMs8_aem_6sVgMMuvJg2RKvO0rDqBcA #Thaitimes
    WWW.ISRANEWS.ORG
    ‘ดีเอสไอ’ ค้นตู้นิรภัย 21 ตู้ ขยายผลพนันอนนไลน์ ‘แม่มนต์’ พบทรัพย์สินกว่า 300 ล้าน
    ‘ดีเอสไอ’ ขยายผลเครือข่ายพนันออนไลน์ ‘แม่มนต์’ เปิดตู้นิรภัย 21 ตู้ที่ฝากไว้กับธนาคาร พบทรัพย์สินมูลค่ารวม 300 ล้านบาท
    Like
    Wow
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1425 มุมมอง 0 รีวิว
  • อ่วม 18 บอสดิไอคอน เตรียมโดนข้อหาฟอกเงิน
    .
    ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการตรวจสอบการทำธุรกิจของบริษัท ดิ ไอคอน กรุ๊ป จำกัด นอกจากต้องจับตาความคืบหน้าในการขอประกันตัวของบรรดาเหล่าบอสคนดังแล้ว ปรากฎว่าการดำเนินไต่สวนของพนักงานสอบสวนก็มีความคืบหน้าเช่นกัน หลังจากมีรายงานว่ากองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) เตรียมแจ้งข้อหากับบรรดาบอสทั้ง 18 คน เพิ่มเติม
    .
    สำหรับฐานความผิดที่จะแจ้งเพิ่มนั้น มีข้อหาร่วมกันกระทำผิดฐานฟอกเงินเป็นหลัก นอกจากนี้อาจมีข้อหาอื่น ๆ ประกอบ เช่น ความผิดตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินอันเป็นการฉ้อโกงประชาชน รวมไปถึงข้อหาอั้งยี่และซ่องโจร เนื่องจากกลุ่มผู้ต้องหามีพฤติกรรมลักษณะขององค์กรอาชญากรรมอีกด้วย
    .
    โดยการแจ้งข้อหาเพิ่มเติมนั้น ทีมสอบสวนจะมอบให้ให้พนักงานสอบสวน บช.ก. เข้าไปแจ้งข้อหากับผู้ต้องหาทั้งหมดในเรือนจำ ซึ่งคาดว่าจะสรุปข้อหาทั้งหมดที่จะแจ้งเพิ่มเติมได้ภายในสัปดาห์นี้ ซึ่งชุดพนักงานสอบสวนจะประสานงานกับทีมสืบสวนที่มีตำรวจ กองปราบปราม เป็นตัวหลักในการตรวจสอบเส้นทางการเงินและทรัพย์สินของผู้ต้องหาแต่ละราย เพื่อให้ได้หลักฐานเชื่อมโยงไปสู่การกระทำความผิดฐานฟอกเงินด้วย
    .
    ด้าน ตำรวจสอบสวนกลาง สรุปจำนวนยอดผู้เสียหายพบว่ายอดรวมสะสม ระหว่างวันที่ 10-20 ตุลาคม 2567 จำนวนผู้เสียหายที่สอบปากคำแล้ว 2,875 ราย มูลค่าความเสียหายเฉพาะที่สอบปากคำแล้วรวม 979 ล้านบาทเศษ
    .
    ศูนย์ปฏิบัติการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ศปก.ตร.) สรุปข้อมูลการรับแจ้งความร้องทุกข์ในคดีดิไอคอนกรุ๊ป จากศูนย์รับแจ้งความร้องทุกข์ตำรวจภูธรจังหวัดและกองบังคับการตำรวจนครบาล ประจำวันที่ 19 ตุลาคม 2567 รวมผู้เสียหาย 892 ราย มูลค่าความเสียหาย 207 ล้านบาทเศษ ยอดรวมสะสม ระหว่างวันที่ 18-19 ตุลาคม 2567 มีจำนวนผู้เสียหายที่สอบปากคำแล้ว 2,773 ราย มูลค่าความเสียหายรวม 632 ล้านบาทเศษ
    ..............
    Sondhi X
    อ่วม 18 บอสดิไอคอน เตรียมโดนข้อหาฟอกเงิน . ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการตรวจสอบการทำธุรกิจของบริษัท ดิ ไอคอน กรุ๊ป จำกัด นอกจากต้องจับตาความคืบหน้าในการขอประกันตัวของบรรดาเหล่าบอสคนดังแล้ว ปรากฎว่าการดำเนินไต่สวนของพนักงานสอบสวนก็มีความคืบหน้าเช่นกัน หลังจากมีรายงานว่ากองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) เตรียมแจ้งข้อหากับบรรดาบอสทั้ง 18 คน เพิ่มเติม . สำหรับฐานความผิดที่จะแจ้งเพิ่มนั้น มีข้อหาร่วมกันกระทำผิดฐานฟอกเงินเป็นหลัก นอกจากนี้อาจมีข้อหาอื่น ๆ ประกอบ เช่น ความผิดตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินอันเป็นการฉ้อโกงประชาชน รวมไปถึงข้อหาอั้งยี่และซ่องโจร เนื่องจากกลุ่มผู้ต้องหามีพฤติกรรมลักษณะขององค์กรอาชญากรรมอีกด้วย . โดยการแจ้งข้อหาเพิ่มเติมนั้น ทีมสอบสวนจะมอบให้ให้พนักงานสอบสวน บช.ก. เข้าไปแจ้งข้อหากับผู้ต้องหาทั้งหมดในเรือนจำ ซึ่งคาดว่าจะสรุปข้อหาทั้งหมดที่จะแจ้งเพิ่มเติมได้ภายในสัปดาห์นี้ ซึ่งชุดพนักงานสอบสวนจะประสานงานกับทีมสืบสวนที่มีตำรวจ กองปราบปราม เป็นตัวหลักในการตรวจสอบเส้นทางการเงินและทรัพย์สินของผู้ต้องหาแต่ละราย เพื่อให้ได้หลักฐานเชื่อมโยงไปสู่การกระทำความผิดฐานฟอกเงินด้วย . ด้าน ตำรวจสอบสวนกลาง สรุปจำนวนยอดผู้เสียหายพบว่ายอดรวมสะสม ระหว่างวันที่ 10-20 ตุลาคม 2567 จำนวนผู้เสียหายที่สอบปากคำแล้ว 2,875 ราย มูลค่าความเสียหายเฉพาะที่สอบปากคำแล้วรวม 979 ล้านบาทเศษ . ศูนย์ปฏิบัติการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ศปก.ตร.) สรุปข้อมูลการรับแจ้งความร้องทุกข์ในคดีดิไอคอนกรุ๊ป จากศูนย์รับแจ้งความร้องทุกข์ตำรวจภูธรจังหวัดและกองบังคับการตำรวจนครบาล ประจำวันที่ 19 ตุลาคม 2567 รวมผู้เสียหาย 892 ราย มูลค่าความเสียหาย 207 ล้านบาทเศษ ยอดรวมสะสม ระหว่างวันที่ 18-19 ตุลาคม 2567 มีจำนวนผู้เสียหายที่สอบปากคำแล้ว 2,773 ราย มูลค่าความเสียหายรวม 632 ล้านบาทเศษ .............. Sondhi X
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1411 มุมมอง 0 รีวิว