• เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) 2025 แก้ไขข้อจำกัดการต่อสู้่กับแก๊งคอลเซ็นเตอร์แบบเดิมๆ และเพิ่มแนวทางให้ผู้ให้บริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบค่าเสียหาย หากพิสูจน์ไม่ได้ว่าได้ทำตามมาตรฐานต่างๆ ครบถ้วนแล้ว
    ความเปลี่ยนแปลงสำคัญ ของกฎหมายนี้คือการก่อตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ศปอท.) เป็นศูนย์กลางรับแจ้งอาชญากรรมทางเทคโนโลยี มีอำนาจในการต่อสู้กับแก๊งคอลเซ็นเตอร์รูปแบบต่างๆ เช่น
    ระงับบัญชีเงินฝาก รวบรวมจำนวนบัญชีเงินฝากที่บุคคลถือไว้ (ไม่รวมจำนวนเงิน), ขอข้อมูลบัญชีต้องสงสัย
    เปิดเผยข้อมูลบัญชีไปยังหน่วยงานเอกชนหรือรัฐที่เกี่ยวข้อง แก้ไขข้อจำกัดที่เดิมธนาคารแห่งประเทศไทยไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับฝั่งผู้ให้บริการคริปโต
    แจ้งข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ หรือชื่อ SMS ให้กสทช. สั่งบล็อค
    รวบรวมรายชื่อบุคคลหรือหมายเลขบัญชีคริปโต และสั่งให้ระงับการให้บริการได้
    ศปอท. จะใช้คนจาก สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, กรมสอบสวนคดีพิเศษ, สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิย, ธนาคารแห่งประเทศไทย, ก.ล.ต., กสทช., และหน่วยงานอื่นที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
    ประเด็นหนึ่งที่กฎหมายนี้ได้รับการพูดถึงเป็นวงกว้างนอกจากการตั้ง ศปอท. ก็คือการให้ธนาคารและค่ายโทรศัพท์มือถือร่วมรับผิดชอบค่าเสียหายเหมือนมาตรการของสิงคโปร์ แต่พ.ร.ก. ฉบับนี้เขียนในมาตรา 8/10 ให้ครอบคลุมขึ้น ด้วยการรวมทั้งสถาบันการเงิน, ผู้ให้บริการโทรคมนาคม, ผู้ให้บริการสื่อสังคมออนไลน์, และผู้ให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย ยกเว้นว่าจะพิสูจน์ได้ว่าได้ปฎิบัติตามมาตรฐานป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยีไว้ครบแล้ว
    กฎหมายมีผลแล้ววันนี้ แต่ประกาศหลักเกณฑ์จำนวนมากยังต้องรอการประกาศต่อไป
    ที่มา - ราชกิจจานุเบกษา
    เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) 2025 แก้ไขข้อจำกัดการต่อสู้่กับแก๊งคอลเซ็นเตอร์แบบเดิมๆ และเพิ่มแนวทางให้ผู้ให้บริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบค่าเสียหาย หากพิสูจน์ไม่ได้ว่าได้ทำตามมาตรฐานต่างๆ ครบถ้วนแล้ว ความเปลี่ยนแปลงสำคัญ ของกฎหมายนี้คือการก่อตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ศปอท.) เป็นศูนย์กลางรับแจ้งอาชญากรรมทางเทคโนโลยี มีอำนาจในการต่อสู้กับแก๊งคอลเซ็นเตอร์รูปแบบต่างๆ เช่น ระงับบัญชีเงินฝาก รวบรวมจำนวนบัญชีเงินฝากที่บุคคลถือไว้ (ไม่รวมจำนวนเงิน), ขอข้อมูลบัญชีต้องสงสัย เปิดเผยข้อมูลบัญชีไปยังหน่วยงานเอกชนหรือรัฐที่เกี่ยวข้อง แก้ไขข้อจำกัดที่เดิมธนาคารแห่งประเทศไทยไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับฝั่งผู้ให้บริการคริปโต แจ้งข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ หรือชื่อ SMS ให้กสทช. สั่งบล็อค รวบรวมรายชื่อบุคคลหรือหมายเลขบัญชีคริปโต และสั่งให้ระงับการให้บริการได้ ศปอท. จะใช้คนจาก สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, กรมสอบสวนคดีพิเศษ, สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิย, ธนาคารแห่งประเทศไทย, ก.ล.ต., กสทช., และหน่วยงานอื่นที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ประเด็นหนึ่งที่กฎหมายนี้ได้รับการพูดถึงเป็นวงกว้างนอกจากการตั้ง ศปอท. ก็คือการให้ธนาคารและค่ายโทรศัพท์มือถือร่วมรับผิดชอบค่าเสียหายเหมือนมาตรการของสิงคโปร์ แต่พ.ร.ก. ฉบับนี้เขียนในมาตรา 8/10 ให้ครอบคลุมขึ้น ด้วยการรวมทั้งสถาบันการเงิน, ผู้ให้บริการโทรคมนาคม, ผู้ให้บริการสื่อสังคมออนไลน์, และผู้ให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย ยกเว้นว่าจะพิสูจน์ได้ว่าได้ปฎิบัติตามมาตรฐานป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยีไว้ครบแล้ว กฎหมายมีผลแล้ววันนี้ แต่ประกาศหลักเกณฑ์จำนวนมากยังต้องรอการประกาศต่อไป ที่มา - ราชกิจจานุเบกษา
    0 Comments 0 Shares 90 Views 0 Reviews
  • พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) บังคับใช้วันแรก เพิ่มเติมนิยามที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัลให้ครอบคลุม ลดขั้นตอนคืนเงินผู้เสียหาย รวมทั้งธนาคารและค่ายมือถือรับผิดชอบร่วมกัน

    วันนี้ (13 เม.ย.) เป็นวันแรกที่พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2568 มีผลบังคับใช้ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้สรุปสาระสำคัญ คือ เพิ่มเติมนิยามที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัล ให้ครอบคลุมการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บ และบัญชีสินทรัพย์ ที่เกี่ยวข้องการก่ออาชญากรรมทางเทคโนโลยี ให้สอดคล้องกับพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่มีการแก้ไข

    ขณะเดียวกัน ได้ลดขั้นตอนกระบวนการเพื่อสามารถคืนเงินให้แก่ผู้เสียหายได้โดยตรงในชั้นเจ้าหน้าที่ โดยไม่ต้องรอคำพิพากษาศาล อีกด้านหนึ่ง ยังมีการสร้างความร่วมมือ กำหนดความรับผิดชอบให้สถาบันการเงิน และผู้ให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้อง ร่วมรับผิดหากไม่ปฎิบัติตามมาตรการป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ตามมาตรการหรือมาตรฐานของหน่วยงานกำกับ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000035214

    #MGROnline #พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี #พรก #มาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี
    #DE #ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม #กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
    พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) บังคับใช้วันแรก เพิ่มเติมนิยามที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัลให้ครอบคลุม ลดขั้นตอนคืนเงินผู้เสียหาย รวมทั้งธนาคารและค่ายมือถือรับผิดชอบร่วมกัน • วันนี้ (13 เม.ย.) เป็นวันแรกที่พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2568 มีผลบังคับใช้ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้สรุปสาระสำคัญ คือ เพิ่มเติมนิยามที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ดิจิทัล ให้ครอบคลุมการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บ และบัญชีสินทรัพย์ ที่เกี่ยวข้องการก่ออาชญากรรมทางเทคโนโลยี ให้สอดคล้องกับพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่มีการแก้ไข • ขณะเดียวกัน ได้ลดขั้นตอนกระบวนการเพื่อสามารถคืนเงินให้แก่ผู้เสียหายได้โดยตรงในชั้นเจ้าหน้าที่ โดยไม่ต้องรอคำพิพากษาศาล อีกด้านหนึ่ง ยังมีการสร้างความร่วมมือ กำหนดความรับผิดชอบให้สถาบันการเงิน และผู้ให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้อง ร่วมรับผิดหากไม่ปฎิบัติตามมาตรการป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ตามมาตรการหรือมาตรฐานของหน่วยงานกำกับ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000035214 • #MGROnline #พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี #พรก #มาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี #DE #ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม #กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
    Like
    1
    0 Comments 1 Shares 107 Views 0 Reviews


  • 7 พฤศจิกายน 2567- รายงานสำนักข่าวอิศราระบุว่า คดีนี้สืบเนื่องจากเมื่อวานนี้ (6 พ.ย. 2567) คณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ กองคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้ดำเนินการเข้าตรวจตู้นิรภัยจำนวน 21 ตู้ของธนาคารพาณิชย์ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มนายทุนที่เชื่อมโยงกับธุรกิจพนันออนไลน์ในเครือข่าย “แม่มนต์” คดีพิเศษที่ 76/2566 และ 89/2567 โดยมีการดำเนินคดีกับผู้ต้องหา จำนวน 38 ราย ในข้อหาที่รวมถึงการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การจัดให้มีการพนันที่ไม่ได้รับอนุญาต และการฟอกเงิน อ้างอิงตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ. 2478 พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมตามหมายจับแล้วรวม 20 ราย ภายหลังจากการขยายผล พบว่ามีการกระทำความผิดเพิ่มเติม โดยกลุ่มบุคคลทำหน้าที่โยกย้ายเงินที่ได้จากเว็บพนันไปยังบัญชีธนาคารอื่น ซึ่งเกี่ยวข้องกับนายทุนใหญ่ 5 ราย โดยการกระทำดังกล่าวมีลักษณะการฟอกเงินและละเมิดพระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี พ.ศ. 2566 ทางกรมสอบสวนคดีพิเศษจึงได้อนุมัติให้ทำการสืบสวนสอบสวนเพิ่มเติมเป็นคดีพิเศษที่ 89/2567

    จากการตรวจสอบพบว่ากลุ่มนายทุนได้เช่าตู้นิรภัยไว้ที่ธนาคารในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ทางคณะพนักงานสอบสวนจึงขออนุมัติศาลจังหวัดลพบุรีเพื่อทำการเปิดตู้นิรภัยทั้ง 21 ตู้ พบทรัพย์สิน มูลค่าประเมินกว่า 200 ล้านบาท อาทิ ทรัพย์สินที่มีลักษณะสีคล้ายทองคำ เช่น สร้อยคอ กำไล ต่างหู แหวน สร้อยข้อมือ กำไลคอ เข็มขัด โลหะแท่ง ปิ่นโต แก้ว ชาม จาน ช้อนส้อม กระเป๋าถือ สร้อยคล้ายเพชร โฉนดที่ดิน เงินสดกว่า 15 ล้านบาท และพระเครื่อง รวมทั้งสิ้นประมาณ 300 ล้านบาท

    ที่มา : สำนักข่าวอิศรา
    https://www.isranews.org/article/isranews/133189-government-10.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0iJiORYEJns_S4fqAey0WQrVPeUAKT6HXQDwBcfhOTlmnBEIltKzAKMs8_aem_6sVgMMuvJg2RKvO0rDqBcA

    #Thaitimes
    7 พฤศจิกายน 2567- รายงานสำนักข่าวอิศราระบุว่า คดีนี้สืบเนื่องจากเมื่อวานนี้ (6 พ.ย. 2567) คณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ กองคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้ดำเนินการเข้าตรวจตู้นิรภัยจำนวน 21 ตู้ของธนาคารพาณิชย์ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มนายทุนที่เชื่อมโยงกับธุรกิจพนันออนไลน์ในเครือข่าย “แม่มนต์” คดีพิเศษที่ 76/2566 และ 89/2567 โดยมีการดำเนินคดีกับผู้ต้องหา จำนวน 38 ราย ในข้อหาที่รวมถึงการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การจัดให้มีการพนันที่ไม่ได้รับอนุญาต และการฟอกเงิน อ้างอิงตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ. 2478 พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมตามหมายจับแล้วรวม 20 ราย ภายหลังจากการขยายผล พบว่ามีการกระทำความผิดเพิ่มเติม โดยกลุ่มบุคคลทำหน้าที่โยกย้ายเงินที่ได้จากเว็บพนันไปยังบัญชีธนาคารอื่น ซึ่งเกี่ยวข้องกับนายทุนใหญ่ 5 ราย โดยการกระทำดังกล่าวมีลักษณะการฟอกเงินและละเมิดพระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี พ.ศ. 2566 ทางกรมสอบสวนคดีพิเศษจึงได้อนุมัติให้ทำการสืบสวนสอบสวนเพิ่มเติมเป็นคดีพิเศษที่ 89/2567 จากการตรวจสอบพบว่ากลุ่มนายทุนได้เช่าตู้นิรภัยไว้ที่ธนาคารในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ทางคณะพนักงานสอบสวนจึงขออนุมัติศาลจังหวัดลพบุรีเพื่อทำการเปิดตู้นิรภัยทั้ง 21 ตู้ พบทรัพย์สิน มูลค่าประเมินกว่า 200 ล้านบาท อาทิ ทรัพย์สินที่มีลักษณะสีคล้ายทองคำ เช่น สร้อยคอ กำไล ต่างหู แหวน สร้อยข้อมือ กำไลคอ เข็มขัด โลหะแท่ง ปิ่นโต แก้ว ชาม จาน ช้อนส้อม กระเป๋าถือ สร้อยคล้ายเพชร โฉนดที่ดิน เงินสดกว่า 15 ล้านบาท และพระเครื่อง รวมทั้งสิ้นประมาณ 300 ล้านบาท ที่มา : สำนักข่าวอิศรา https://www.isranews.org/article/isranews/133189-government-10.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0iJiORYEJns_S4fqAey0WQrVPeUAKT6HXQDwBcfhOTlmnBEIltKzAKMs8_aem_6sVgMMuvJg2RKvO0rDqBcA #Thaitimes
    WWW.ISRANEWS.ORG
    ‘ดีเอสไอ’ ค้นตู้นิรภัย 21 ตู้ ขยายผลพนันอนนไลน์ ‘แม่มนต์’ พบทรัพย์สินกว่า 300 ล้าน
    ‘ดีเอสไอ’ ขยายผลเครือข่ายพนันออนไลน์ ‘แม่มนต์’ เปิดตู้นิรภัย 21 ตู้ที่ฝากไว้กับธนาคาร พบทรัพย์สินมูลค่ารวม 300 ล้านบาท
    Like
    Wow
    3
    0 Comments 0 Shares 1170 Views 0 Reviews