• ปี 2550 ภาพจิตรกรรม “ภิกษุสันดานกา” เคยตกเป็นข่าวถกเถียงมาแล้วครั้งหนึ่ง ซึ่งเป็นผลงานของ “อนุพงษ์ จันทร “ใช้เทคนิคการวาดภาพด้วยสีอะคริลิกลงบนจีวรพระ ได้แรงบันดาลใจจากคติความเชื่อของไทยเรื่อง "เปรตภูมิ” และภาพ ”บรรพชิตทุศีล” ในสมุดภาพไตรภูมิ มีข้อความปรากฏเอาไว้ด้านล่างภาพว่า "บาปเป็นบรรพชิตทุศีลแลเลี้ยงชีพผิดมิชอบด้วยธรรม ตายไปต้องกลายเป็นเปรต มีไฟไหม้ลุกจีวรไหม้กาย"อนุพงษ์ ยืนยันว่า ”ภิกษุสันดานกา” ไม่ใช่ชื่อที่ตนตั้งขึ้นมาเอง แต่มีระบุในพระไตรปิฎก ในหนังสือคำพยากรณ์ของพระพุทธเจ้า ตำราดูพระภิกษุ และตนขอยืนยันว่า ภาพที่ตนเขียนขึ้นมา ไม่ใช่ภาพพระดีดีในสังคม แต่ตนเขียนเปรตที่แอบแฝงอยู่ในผ้ากาสาวพัสตร์ เพื่อเตือนสติคนในสังคม โดยสื่อภาพออกมาในเชิงสัญลักษณ์ ตามที่พระพุทธเจ้าได้ทรงเปรียบเทียบพระภิกษุลามกว่า มีนิสัยเหมือนกา 10 อย่าง“ภิกษุทั้งหลาย กาเป็นสัตว์ประกอบด้วยความเลวสิบประการ” สิบประการเป็นไฉน? สิบประการคือ1. กาเป็นสัตว์ทำลายความดี 2. กาเป็นสัตว์คะนอง 3. กาเป็นสัตว์ทะเยอทะยาน 4. กาเป็นสัตว์กินจุ 5. กาเป็นสัตว์หยาบคาย 6. กาเป็นสัตว์ไม่กรุณาปรานี 7. กาเป็นสัตว์ทุรพล 8. กาเป็นสัตว์เสียงอึง 9. กาเป็นสัตว์ปล่อยสติ 10. กาเป็นสัตว์สะสมของกินภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุลามกก็เป็นเช่นเดียวกับกานั่นแหละ เป็นคนประกอบด้วยอสัทธรรมสิบประการ สิบประการเป็นไฉน? สิบประการคือ1. ภิกษุลามกเป็นคนทำลายความดี 2. ภิกษุลามกเป็นคนคะนอง 3. ภิกษุลามกเป็นคนทะเยอทะยาน 4. ภิกษุลามกเป็นคนกินจุ 5. ภิกษุลามกเป็นคนหยาบคาย 6. ภิกษุลามกเป็นคนไม่กรุณาปรานี 7. ภิกษุลามกเป็นคนทุรพล 8. ภิกษุลามกเป็นคนร้องเสียงอึง 9. ภิกษุลามกเป็นคนปล่อยสติ 10. ภิกษุลามกเป็นคนสะสมของกินโดยนัยแห่งพฤติกรรมของนกกา สิบประการดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าล้วนแล้วแต่เป็นความเลวที่ไม่เหมาะไม่ควรที่คนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คนมีศีล เช่น ภิกษุในพระพุทธศาสนาไม่ควรประพฤติ ไม่ควรปฏิบัติแต่ในความเป็นจริง ความเป็นปุถุชนคนมีกิเลส ถึงแม้ว่าจะมาบวชถือศีล 227 ข้อแล้วก็ยังมีภิกษุบางรูปในครั้งพุทธกาลมีพฤติกรรมเยี่ยงนี้ พระพุทธองค์จึงได้ตรัสสอนด้วยข้อวัตรปฏิบัติที่พระภิกษุที่เข้ามาบวชเพื่อการทำความดี โดยมุ่งความหลุดพ้น ควรงดเว้นอสัทธรรม 10 ประการ อันเป็นพฤติกรรมของกาดังกล่าวอ.สามารถ มังสัง เคยเสนอแนวทางแก้ปัญหาภิกษุสันดานกาไว้ว่า “แต่ในความเป็นจริงที่ปรากฏพฤติกรรมอันไม่เหมาะไม่ควรในวงการสงฆ์ยังไม่ได้รับการแก้ไขจากสงฆ์ด้วยกันเท่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มหาเถรสมาคม และสำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ควรจะได้หยิบยกเรื่องนี้ขึ้นมา และกำหนดมาตรการแก้ไขและป้องกันดังต่อไปนี้1. ทำการสำรวจสำมโนประชากรพระสงฆ์ในประเทศไทยให้แน่ชัดว่ามีอยู่เท่าใด และมีรายละเอียดลงลึกถึงเรื่องการศึกษา อายุพรรษา และภาระหน้าที่ต่อสังคมเท่าที่พระจะพึงกระทำได้ เช่น เป็นครูสอนศีลธรรม อบรมประชาชน และให้ความรู้แก่พระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น2. เมื่อได้ข้อมูลแล้วให้จัดทำแผนฟื้นฟูพฤติกรรมพระสงฆ์ที่ไม่ได้รับการศึกษา และการอบรมอย่างทั่วถึง3. ให้นำพระภิกษุสงฆ์ที่มีความรู้ความสามารถในการสอนมาประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ แนวทางการปรับองค์กรสงฆ์ แล้วมอบหมายให้แต่ละท่านกลับไปดำเนินการในถิ่นของตนเองเป็นระยะเวลา 1-3 ปี แล้วส่งคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานออกไปทำการประเมินในการดำเนินการ 3 ประการนี้ ทางรัฐบาลจะต้องให้การสนับสนุนทางด้านการเงิน และบุคลากรให้เพียงพอแก่การดำเนินงานในขณะเดียวกัน ถ้าพบว่าในท้องถิ่นใดดำเนินการไม่ได้ผล ก็ควรอย่างยิ่งที่ทางการปกครองจะต้องเข้ามาดูแลแก้ไขโดยใช้อำนาจบริหาร เช่น การโยกย้ายหรือปลดออกจากตำแหน่ง เป็นการลงโทษผู้รับผิดชอบในระดับเจ้าคณะจังหวัด อำเภอ และตำบลลงไปตามลำดับชั้นยิ่งกว่านี้ ทางมหาเถรสมาคมจะต้องไม่ปล่อยให้พระสงฆ์ในระดับปกครองเข้าไปมีส่วนได้เสียกับกิจกรรมใดๆ ทั้งนี้เพื่อป้องกันการช่วยกันปกปิดความผิดของผู้อยู่ใต้ปกครอง เพื่อแลกกับลาภสักการะที่ผู้กระทำผิดมอบให้ถ้าทุกหน่วยงานดำเนินการได้เยี่ยงนี้ เชื่อว่าพฤติกรรมอันไม่เหมาะไม่ควรของพระสงฆ์จะลดลง และหมดไปในที่สุด”https://www.facebook.com/share/1Cj37basD6/?mibextid=wwXIfr
    ปี 2550 ภาพจิตรกรรม “ภิกษุสันดานกา” เคยตกเป็นข่าวถกเถียงมาแล้วครั้งหนึ่ง ซึ่งเป็นผลงานของ “อนุพงษ์ จันทร “ใช้เทคนิคการวาดภาพด้วยสีอะคริลิกลงบนจีวรพระ ได้แรงบันดาลใจจากคติความเชื่อของไทยเรื่อง "เปรตภูมิ” และภาพ ”บรรพชิตทุศีล” ในสมุดภาพไตรภูมิ มีข้อความปรากฏเอาไว้ด้านล่างภาพว่า "บาปเป็นบรรพชิตทุศีลแลเลี้ยงชีพผิดมิชอบด้วยธรรม ตายไปต้องกลายเป็นเปรต มีไฟไหม้ลุกจีวรไหม้กาย"อนุพงษ์ ยืนยันว่า ”ภิกษุสันดานกา” ไม่ใช่ชื่อที่ตนตั้งขึ้นมาเอง แต่มีระบุในพระไตรปิฎก ในหนังสือคำพยากรณ์ของพระพุทธเจ้า ตำราดูพระภิกษุ และตนขอยืนยันว่า ภาพที่ตนเขียนขึ้นมา ไม่ใช่ภาพพระดีดีในสังคม แต่ตนเขียนเปรตที่แอบแฝงอยู่ในผ้ากาสาวพัสตร์ เพื่อเตือนสติคนในสังคม โดยสื่อภาพออกมาในเชิงสัญลักษณ์ ตามที่พระพุทธเจ้าได้ทรงเปรียบเทียบพระภิกษุลามกว่า มีนิสัยเหมือนกา 10 อย่าง“ภิกษุทั้งหลาย กาเป็นสัตว์ประกอบด้วยความเลวสิบประการ” สิบประการเป็นไฉน? สิบประการคือ1. กาเป็นสัตว์ทำลายความดี 2. กาเป็นสัตว์คะนอง 3. กาเป็นสัตว์ทะเยอทะยาน 4. กาเป็นสัตว์กินจุ 5. กาเป็นสัตว์หยาบคาย 6. กาเป็นสัตว์ไม่กรุณาปรานี 7. กาเป็นสัตว์ทุรพล 8. กาเป็นสัตว์เสียงอึง 9. กาเป็นสัตว์ปล่อยสติ 10. กาเป็นสัตว์สะสมของกินภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุลามกก็เป็นเช่นเดียวกับกานั่นแหละ เป็นคนประกอบด้วยอสัทธรรมสิบประการ สิบประการเป็นไฉน? สิบประการคือ1. ภิกษุลามกเป็นคนทำลายความดี 2. ภิกษุลามกเป็นคนคะนอง 3. ภิกษุลามกเป็นคนทะเยอทะยาน 4. ภิกษุลามกเป็นคนกินจุ 5. ภิกษุลามกเป็นคนหยาบคาย 6. ภิกษุลามกเป็นคนไม่กรุณาปรานี 7. ภิกษุลามกเป็นคนทุรพล 8. ภิกษุลามกเป็นคนร้องเสียงอึง 9. ภิกษุลามกเป็นคนปล่อยสติ 10. ภิกษุลามกเป็นคนสะสมของกินโดยนัยแห่งพฤติกรรมของนกกา สิบประการดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าล้วนแล้วแต่เป็นความเลวที่ไม่เหมาะไม่ควรที่คนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คนมีศีล เช่น ภิกษุในพระพุทธศาสนาไม่ควรประพฤติ ไม่ควรปฏิบัติแต่ในความเป็นจริง ความเป็นปุถุชนคนมีกิเลส ถึงแม้ว่าจะมาบวชถือศีล 227 ข้อแล้วก็ยังมีภิกษุบางรูปในครั้งพุทธกาลมีพฤติกรรมเยี่ยงนี้ พระพุทธองค์จึงได้ตรัสสอนด้วยข้อวัตรปฏิบัติที่พระภิกษุที่เข้ามาบวชเพื่อการทำความดี โดยมุ่งความหลุดพ้น ควรงดเว้นอสัทธรรม 10 ประการ อันเป็นพฤติกรรมของกาดังกล่าวอ.สามารถ มังสัง เคยเสนอแนวทางแก้ปัญหาภิกษุสันดานกาไว้ว่า “แต่ในความเป็นจริงที่ปรากฏพฤติกรรมอันไม่เหมาะไม่ควรในวงการสงฆ์ยังไม่ได้รับการแก้ไขจากสงฆ์ด้วยกันเท่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มหาเถรสมาคม และสำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ควรจะได้หยิบยกเรื่องนี้ขึ้นมา และกำหนดมาตรการแก้ไขและป้องกันดังต่อไปนี้1. ทำการสำรวจสำมโนประชากรพระสงฆ์ในประเทศไทยให้แน่ชัดว่ามีอยู่เท่าใด และมีรายละเอียดลงลึกถึงเรื่องการศึกษา อายุพรรษา และภาระหน้าที่ต่อสังคมเท่าที่พระจะพึงกระทำได้ เช่น เป็นครูสอนศีลธรรม อบรมประชาชน และให้ความรู้แก่พระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น2. เมื่อได้ข้อมูลแล้วให้จัดทำแผนฟื้นฟูพฤติกรรมพระสงฆ์ที่ไม่ได้รับการศึกษา และการอบรมอย่างทั่วถึง3. ให้นำพระภิกษุสงฆ์ที่มีความรู้ความสามารถในการสอนมาประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ แนวทางการปรับองค์กรสงฆ์ แล้วมอบหมายให้แต่ละท่านกลับไปดำเนินการในถิ่นของตนเองเป็นระยะเวลา 1-3 ปี แล้วส่งคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานออกไปทำการประเมินในการดำเนินการ 3 ประการนี้ ทางรัฐบาลจะต้องให้การสนับสนุนทางด้านการเงิน และบุคลากรให้เพียงพอแก่การดำเนินงานในขณะเดียวกัน ถ้าพบว่าในท้องถิ่นใดดำเนินการไม่ได้ผล ก็ควรอย่างยิ่งที่ทางการปกครองจะต้องเข้ามาดูแลแก้ไขโดยใช้อำนาจบริหาร เช่น การโยกย้ายหรือปลดออกจากตำแหน่ง เป็นการลงโทษผู้รับผิดชอบในระดับเจ้าคณะจังหวัด อำเภอ และตำบลลงไปตามลำดับชั้นยิ่งกว่านี้ ทางมหาเถรสมาคมจะต้องไม่ปล่อยให้พระสงฆ์ในระดับปกครองเข้าไปมีส่วนได้เสียกับกิจกรรมใดๆ ทั้งนี้เพื่อป้องกันการช่วยกันปกปิดความผิดของผู้อยู่ใต้ปกครอง เพื่อแลกกับลาภสักการะที่ผู้กระทำผิดมอบให้ถ้าทุกหน่วยงานดำเนินการได้เยี่ยงนี้ เชื่อว่าพฤติกรรมอันไม่เหมาะไม่ควรของพระสงฆ์จะลดลง และหมดไปในที่สุด”https://www.facebook.com/share/1Cj37basD6/?mibextid=wwXIfr
    0 Comments 0 Shares 62 Views 0 Reviews
  • จิตคนคิดทำบุญได้บุญกุศล จิตคนคิดไปทางบาปก็ได้บาป มันอยู่จิตของคน(สันดานของจิต)
    จิตคนคิดทำบุญได้บุญกุศล จิตคนคิดไปทางบาปก็ได้บาป มันอยู่จิตของคน(สันดานของจิต)
    0 Comments 0 Shares 28 Views 0 Reviews
  • ผู้ที่รักษาศิล 5 หรือ ศิล 8 ก็ครองศิลให้ดีไว้ อย่าให้ศิลมัวหมองนะ บาปได้ ทำให้ดีงาม
    ผู้ที่รักษาศิล 5 หรือ ศิล 8 ก็ครองศิลให้ดีไว้ อย่าให้ศิลมัวหมองนะ บาปได้ ทำให้ดีงาม
    0 Comments 0 Shares 13 Views 0 Reviews
  • บุญไม่ใช่สิ่งลอยๆ — แต่คือ ‘เหตุ’ ของความสุขที่แท้จริง

    พระพุทธเจ้าสอนว่า
    ความสุขไม่ได้เกิดจากโชคดี
    ไม่ได้มาจากฟ้าโปรยพร
    แต่มาจากการที่เราค่อยๆ “สั่งสมกุศล”
    คือ กรรมที่เป็นฝ่ายสว่าง ฝ่ายเจริญ

    ถ้าเคยทำบุญไว้จริง
    ใจจะสุขได้เอง
    แม้ไม่มีเหตุการณ์ดีๆ มากระตุ้น
    แม้ไม่มีใครมายิ้มให้
    แม้ไม่มีทรัพย์สินตำแหน่งมารองรับ

    สุขเพราะใจเป็นบุญ
    สุขเพราะรู้ว่าบุญคือธรรมชาติของความสว่าง
    สุขเพราะเข้าใจแล้วว่า “ธรรมะ” ไม่ได้อยู่ไกลตัว

    สูตรของความสุขในพุทธศาสนา คือ
    ให้ทาน + รักษาศีล + เจริญสติ
    → ตกผลึกในใจ → เกิดสุขจากข้างใน
    ไม่ใช่สุขชั่วแล่นตามวัตถุ
    แต่เป็นสุขยาวนานจากความเข้าใจชีวิต

    สัญญาณว่าเรามาถูกทางแล้วคืออะไร?
    ทำอะไรก็ตาม… แล้ว สบายใจ
    เลือกทางไหน… แล้ว ใจรู้สึกเบา โล่ง สว่าง

    เพราะ…

    “บุญ เป็นเหตุให้เกิด ความสุข
    บาป เป็นเหตุให้เกิด ความทุกข์”

    ใครมองเห็นเหตุแห่งความสุขได้
    ใครอ่านเกมชีวิตได้ขาด
    คนนั้น...จะมีความสุขได้ตลอดชีวิต

    #ธรรมะใช้ได้จริง
    #เข้าใจบุญอย่างถูกต้อง
    #สุขแท้ไม่ใช่แค่สุขแวบๆ
    #โพสต์นี้เพื่อเตือนใจทุกเช้า
    🌱 บุญไม่ใช่สิ่งลอยๆ — แต่คือ ‘เหตุ’ ของความสุขที่แท้จริง พระพุทธเจ้าสอนว่า ความสุขไม่ได้เกิดจากโชคดี ไม่ได้มาจากฟ้าโปรยพร แต่มาจากการที่เราค่อยๆ “สั่งสมกุศล” คือ กรรมที่เป็นฝ่ายสว่าง ฝ่ายเจริญ ถ้าเคยทำบุญไว้จริง ใจจะสุขได้เอง แม้ไม่มีเหตุการณ์ดีๆ มากระตุ้น แม้ไม่มีใครมายิ้มให้ แม้ไม่มีทรัพย์สินตำแหน่งมารองรับ ✨ สุขเพราะใจเป็นบุญ ✨ สุขเพราะรู้ว่าบุญคือธรรมชาติของความสว่าง ✨ สุขเพราะเข้าใจแล้วว่า “ธรรมะ” ไม่ได้อยู่ไกลตัว สูตรของความสุขในพุทธศาสนา คือ ให้ทาน + รักษาศีล + เจริญสติ → ตกผลึกในใจ → เกิดสุขจากข้างใน ไม่ใช่สุขชั่วแล่นตามวัตถุ แต่เป็นสุขยาวนานจากความเข้าใจชีวิต สัญญาณว่าเรามาถูกทางแล้วคืออะไร? ✅ ทำอะไรก็ตาม… แล้ว สบายใจ ✅ เลือกทางไหน… แล้ว ใจรู้สึกเบา โล่ง สว่าง เพราะ… 🌟 “บุญ เป็นเหตุให้เกิด ความสุข บาป เป็นเหตุให้เกิด ความทุกข์” ใครมองเห็นเหตุแห่งความสุขได้ ใครอ่านเกมชีวิตได้ขาด คนนั้น...จะมีความสุขได้ตลอดชีวิต #ธรรมะใช้ได้จริง #เข้าใจบุญอย่างถูกต้อง #สุขแท้ไม่ใช่แค่สุขแวบๆ #โพสต์นี้เพื่อเตือนใจทุกเช้า
    0 Comments 0 Shares 60 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ตโปชิคุจฉิวัตร(การเกียจกันบาปด้วยตบะ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 681
    ชื่อบทธรรม :- ตโปชิคุจฉิวัตร-เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=681
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ตโปชิคุจฉิวัตร
    --เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ
    ....
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติการรื้อถอนซึ่งโอฆะ
    โดยข้อปฏิบัติซึ่งประกอบด้วยธรรม ๒ อย่าง คือ
    ด้วยสีลวิสุทธิ์ และด้วยตโปชิคุจฉะ (การเกียจกันบาปด้วยตบะ).
    http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=ตโปชิคุจฺฉ
    +--ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในเรื่องนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่าอย่างไร?”
    --สาฬ๎หะเอ๋ย ! เรากล่าวสีลวิสุทธิ์ว่าเป็นองค์แห่งสามัญญปฏิบัติองค์ใดองค์หนึ่ง
    http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=สีลวิสุทฺธิ
    ส่วนสมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท (การสอนเกียจกันบาปด้วยตบะ)
    มีตโปชิคุจฉะเป็นสาระ เกลือกกลั้วพัวพันอยู่ในตโปชิคุจฉะ
    เป็นพวกที่ไม่สมควรที่จะรื้อถอนซึ่งโอฆะ ;
    ถึงแม้สมณพราหมณ์พวกที่
    มีกายสมาจารไม่บริสุทธิ์
    มีวจีสมาจารไม่บริสุทธิ์
    มีมโนสมาจารไม่บริสุทธิ์
    มีอาชีวะไม่บริสุทธิ์
    พวกนั้นไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ
    และแก่ความรู้พร้อมอันไม่มีอะไรยิ่งกว่า (อนุตฺต สมฺโพธ).
    http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=อนุตฺต+สมฺโพธ
    --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะข้ามแม่น้ำ ถือขวานกุฏฐารี
    เข้าไปสู่ป่า เห็นต้นสาละใหญ่ ลำต้นตรง ยังหนุ่ม ไม่มีส่วนน่ารังเกียจ
    เขาตัดต้นไม้นั้นที่โคน แล้วตัดที่ปลาย ริดกิ่งและใบออกหมดจด
    แล้วถากด้วยขวานกุฏฐารี แล้วถากด้วยมีด ขูดด้วยเครื่องขูด
    ขัดให้เกลี้ยงด้วยก้อนหินกลม แล้วปล่อยลงน้ำ.
    --สาฬ๎หะ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : บุรุษนั้นอาจจะข้ามแม่น้ำไปได้หรือหนอ ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !”
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    “+--ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะท่อนไม้สาละนั้น
    ทำบริกรรมถูกต้องแต่ภายนอก ภายในไม่ถูกต้อง (สำหรับความเป็นเรือ) เลย
    สิ่งที่บุรุษนั้นจะหวังได้คือ ท่อนไม้สาละนั้นจักจมลง
    บุรุษนั้นจักถึงความพินาศ พระเจ้าข้า ! ”
    --สาฬ๎หะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น
    : สมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท ก็ไม่อาจที่จะถอนซึ่งโอฆะ;
    แม้พวกที่มีสมาจารไม่บริสุทธิ์ ก็ไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ
    และแก่อนุตตรสัมโพธะ ฉันนั้นเหมือนกัน.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=อนุตฺต+สมฺโพธ
    ...
    (ต่อไปได้ตรัสข้อความอันเป็นปฏิปักขนัย(ฝ่ายตรงข้าม)​
    ซึ่งผู้อ่านอาจจะเปรียบเทียบได้เองจนตลอดเรื่อง...)​.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/190-193/196.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๑-๒๗๔/๑๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=681
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=681
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ตโปชิคุจฉิวัตร(การเกียจกันบาปด้วยตบะ) สัทธรรมลำดับที่ : 681 ชื่อบทธรรม :- ตโปชิคุจฉิวัตร-เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=681 เนื้อความทั้งหมด :- --ตโปชิคุจฉิวัตร --เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ .... --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติการรื้อถอนซึ่งโอฆะ โดยข้อปฏิบัติซึ่งประกอบด้วยธรรม ๒ อย่าง คือ ด้วยสีลวิสุทธิ์ และด้วยตโปชิคุจฉะ (การเกียจกันบาปด้วยตบะ). http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=ตโปชิคุจฺฉ +--ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในเรื่องนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่าอย่างไร?” --สาฬ๎หะเอ๋ย ! เรากล่าวสีลวิสุทธิ์ว่าเป็นองค์แห่งสามัญญปฏิบัติองค์ใดองค์หนึ่ง http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=สีลวิสุทฺธิ ส่วนสมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท (การสอนเกียจกันบาปด้วยตบะ) มีตโปชิคุจฉะเป็นสาระ เกลือกกลั้วพัวพันอยู่ในตโปชิคุจฉะ เป็นพวกที่ไม่สมควรที่จะรื้อถอนซึ่งโอฆะ ; ถึงแม้สมณพราหมณ์พวกที่ มีกายสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีวจีสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีมโนสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีอาชีวะไม่บริสุทธิ์ พวกนั้นไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ และแก่ความรู้พร้อมอันไม่มีอะไรยิ่งกว่า (อนุตฺต สมฺโพธ). http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=อนุตฺต+สมฺโพธ --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะข้ามแม่น้ำ ถือขวานกุฏฐารี เข้าไปสู่ป่า เห็นต้นสาละใหญ่ ลำต้นตรง ยังหนุ่ม ไม่มีส่วนน่ารังเกียจ เขาตัดต้นไม้นั้นที่โคน แล้วตัดที่ปลาย ริดกิ่งและใบออกหมดจด แล้วถากด้วยขวานกุฏฐารี แล้วถากด้วยมีด ขูดด้วยเครื่องขูด ขัดให้เกลี้ยงด้วยก้อนหินกลม แล้วปล่อยลงน้ำ. --สาฬ๎หะ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นอาจจะข้ามแม่น้ำไปได้หรือหนอ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? “+--ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะท่อนไม้สาละนั้น ทำบริกรรมถูกต้องแต่ภายนอก ภายในไม่ถูกต้อง (สำหรับความเป็นเรือ) เลย สิ่งที่บุรุษนั้นจะหวังได้คือ ท่อนไม้สาละนั้นจักจมลง บุรุษนั้นจักถึงความพินาศ พระเจ้าข้า ! ” --สาฬ๎หะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : สมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท ก็ไม่อาจที่จะถอนซึ่งโอฆะ; แม้พวกที่มีสมาจารไม่บริสุทธิ์ ก็ไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ และแก่อนุตตรสัมโพธะ ฉันนั้นเหมือนกัน. http://etipitaka.com/read/pali/21/272/?keywords=อนุตฺต+สมฺโพธ ... (ต่อไปได้ตรัสข้อความอันเป็นปฏิปักขนัย(ฝ่ายตรงข้าม)​ ซึ่งผู้อ่านอาจจะเปรียบเทียบได้เองจนตลอดเรื่อง...)​.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/190-193/196. http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๑-๒๗๔/๑๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=681 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=681 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ตโปชิคุจฉิวัตร
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า คำว่า “กามสุขัลลิกานุโยค“ กับคำว่า “สุขัลลิกานุโยค“ มิใช่คำคำเดียวกัน และมีความหมายแคบกว่ากัน คือกามสุขัลลิกานุโยคนั้น มุ่งความสุขเกิดแต่กามอย่างเดียว ส่วนสุขัลลิกานุโยคนั้น รวมเอาความสุขของคนบาปก็ได้ ของคนบริโภคกามก็ได้ ของคนมีความสุขเกิดจากฌานหรือสมาธิก็ได้, กล่าวได้ว่า มีความหมายกว้างกว่ากามสุขัลลิกานุโยคสามเท่าตัวเป็นอย่างน้อย). ตโปชิคุจฉิวัตร เปรียบเสมือนการขี่ขอนสดท่อนกลมข้ามแม่น้ำ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งบัญญัติการรื้อถอนซึ่งโอฆะ โดยข้อปฏิบัติซึ่งประกอบด้วยธรรม ๒ อย่าง คือ ด้วยสีลวิสุทธิ์ และด้วยตโปชิคุจฉะ (การเกียจกันบาปด้วยตบะ). ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในเรื่องนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่าอย่างไร?”. สาฬ๎หะเอ๋ย ! เรากล่าวสีลวิสุทธิ์ว่าเป็นองค์แห่งสามัญญปฏิบัติองค์ใดองค์หนึ่ง ส่วนสมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท (การสอนเกียจกันบาป ด้วยตบะ) มีตโปชิคุจฉะเป็นสาระ เกลือกกลั้วพัวพันอยู่ในตโปชิคุจฉะ เป็นพวกที่ไม่สมควรที่จะรื้อถอนซึ่งโอฆะ ; ถึงแม้สมณพราหมณ์พวกที่มีกายสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีวจีสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีมโนสมาจารไม่บริสุทธิ์ มีอาชีวะไม่บริสุทธิ์ พวกนั้นไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ และแก่ความรู้พร้อมอันไม่มีอะไรยิ่งกว่า (อนุตฺตรสมฺโพธ). สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือนบุรุษต้องการจะข้ามแม่น้ำ ถือขวานกุฏฐารี เข้าไปสู่ป่า เห็นต้นสาละใหญ่ ลำต้นตรง ยังหนุ่ม ไม่มีส่วนน่ารังเกียจ เขาตัดต้นไม้นั้นที่โคน แล้วตัดที่ปลาย ริดกิ่งและใบออกหมดจด แล้วถากด้วยขวานกุฏฐารี แล้วถากด้วยมีด ขูดด้วยเครื่องขูด ขัดให้เกลี้ยงด้วยก้อนหินกลม แล้วปล่อยลงน้ำ. สาฬ๎หะ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : บุรุษนั้นอาจจะข้ามแม่น้ำไปได้หรือหนอ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เพราะท่อนไม้สาละนั้น ทำบริกรรมถูกต้องแต่ภายนอก ภายในไม่ถูกต้อง (สำหรับความเป็นเรือ) เลย สิ่งที่บุรุษนั้นจะหวังได้คือ ท่อนไม้สาละนั้นจักจมลง บุรุษนั้น จักถึงความพินาศ พระเจ้าข้า ! ” สาฬ๎หะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : สมณพราหมณ์พวกที่เป็นตโปชิคุจฉวาท ก็ไม่อาจที่จะถอนซึ่งโอฆะ; แม้พวกที่มีสมาจารไม่บริสุทธิ์ ก็ไม่ควรแก่ญาณทัสสนะ และแก่อนุตตรสัมโพธะ ฉันนั้นเหมือนกัน. (ต่อไปได้ตรัสข้อความอันเป็นปฏิปักขนัย ฝ่ายตรงข้าม ซึ่งผู้อ่านอาจจะเปรียบเทียบได้เองจนตลอดเรื่อง).
    0 Comments 0 Shares 77 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาปกิณณกทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 312
    ชื่อบทธรรม :- ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูลและตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง.
    เก้าอย่าง อย่างไรเล่า ?
    ๑--เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา (ปริเยสนา) ;
    ๒--เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได้ (ลาโภ) ;
    ๓--เพราะอาศัยการได้ จึงมีความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ;
    ๔--เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมีความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ;
    ๕--เพราะอาศัยความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ;
    ๖--เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ;
    ๗--เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ;
    ๘--เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข) ;
    ๙--เพราะอาศัยการหวงกั้น จึงมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=อารกฺขาธิกร
    กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม
    การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท
    การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด
    และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อม.

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ชื่อว่าธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง.
    *อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก -- นวก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๗;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97
    (สอบทานด้วย - มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙).
    http://etipitaka.com/read/pali/10/69/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99

    --ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ สิ่งอันเป็นที่รัก,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก ;
    เมื่อพ้นแล้วจากสิ่งเป็นที่รัก, ความโศก ย่อมไม่มี แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก ;
    เมื่อพ้นแล้วจา ความรัก, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี ;
    เมื่อพ้นแล้วจากความยินดี, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่ ;
    เมื่อพ้นแล้วจากความใคร่, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา,
    ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา ;
    เมื่อพ้นแล้วตัณหา, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจ​สี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/43/26.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๔๓/๒๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/43/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=312
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาปกิณณกทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 312 ชื่อบทธรรม :- ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูลและตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312 เนื้อความทั้งหมด :- --ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. เก้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ๑--เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา (ปริเยสนา) ; ๒--เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได้ (ลาโภ) ; ๓--เพราะอาศัยการได้ จึงมีความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ; ๔--เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมีความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ; ๕--เพราะอาศัยความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ; ๖--เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ; ๗--เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ; ๘--เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข) ; ๙--เพราะอาศัยการหวงกั้น จึงมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) ; http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=อารกฺขาธิกร กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อม. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ชื่อว่าธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. *อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก -- นวก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๗; http://etipitaka.com/read/pali/23/413/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97 (สอบทานด้วย - มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙). http://etipitaka.com/read/pali/10/69/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 --ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ สิ่งอันเป็นที่รัก, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก ; เมื่อพ้นแล้วจากสิ่งเป็นที่รัก, ความโศก ย่อมไม่มี แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความรัก ; เมื่อพ้นแล้วจา ความรัก, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความยินดี ; เมื่อพ้นแล้วจากความยินดี, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ความใคร่ ; เมื่อพ้นแล้วจากความใคร่, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. --ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ ตัณหา ; เมื่อพ้นแล้วตัณหา, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจ​สี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/43/26. http://etipitaka.com/read/thai/25/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๔๓/๒๖. http://etipitaka.com/read/pali/25/43/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=312 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=312 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล
    -ปกิณณกทุกข์ ที่มีกามตัณหาเป็นมูล ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. เก้าอย่าง อย่างไรเล่า ? เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา (ปริเยสนา) ; เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได้ (ลาโภ) ; เพราะอาศัยการได้ จึงมีความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ; เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมีความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ; เพราะอาศัยความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ; เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ; เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ; เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข) ; เพราะอาศัยการหวงกั้น จึงมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) ; กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อม. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ชื่อว่าธรรม (เป็นฝักฝ่ายแห่งทุกข์) ที่มี (กาม) ตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. นวก. อํ. ๒๓/๔๑๓/๒๒๗; (สอบทานด้วย - มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙). ตัณหาเป็นเหตุแห่งความโศก ความโศก ย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก, ความกลัวย่อมเกิดมาแต่สิ่งอันเป็นที่รัก ; เมื่อพ้นแล้วจากสิ่งเป็นที่รัก, ความโศก ย่อมไม่มี แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ความรัก, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ความรัก ; เมื่อพ้นแล้วจา ความรัก, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ความยินดี, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ความยินดี ; เมื่อพ้นแล้วจากความยินดี, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ความใคร่, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ความใคร่ ; เมื่อพ้นแล้วจากความใคร่, ความโศกย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า. ความโศก ย่อมเกิดมาแต่ตัณหา, ความกลัว ย่อมเกิดมาแต่ตัณหา ; เมื่อพ้นแล้วตัณหา, ความโศก ย่อมไม่มี, แล้วความกลัว จะมีมาแต่ไหนเล่า.
    0 Comments 0 Shares 75 Views 0 Reviews
  • ตามหลักพุทธศาสนา การกระทำของผู้บริหารบ้านเมืองที่ "ขายชาติ" (นำผลประโยชน์ของชาติไปให้ต่างชาติโดยมิชอบ) และ "โกงแผ่นดิน" (คอร์รัปชั่น, ฉ้อราษฎร์บังหลวง) ถือเป็น **อกุศลกรรมหนัก** ที่ส่งผลทั้งในชาตินี้และชาติหน้า ดังนี้

    ### ผลกรรมตามหลักกรรม (กฎแห่งเหตุและผล)
    1. **วิบากกรรมในปัจจุบัน (ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม):**
    - สูญเสียความน่าเชื่อถือ ถูกสังคมประณาม ต้องเผชิญการฟ้องร้องทางกฎหมาย
    - ขาดมิตรแท้ อยู่ในความหวาดระแวง ครอบครัวแตกแยก
    - นำไปสู่การล่มสลายทางการเมือง เช่น ถูกปลดออกจากตำแหน่ง ต้องโทษจำคุก
    - สร้างความเสื่อมโทรมให้ประเทศ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ/สังคมที่ประชาชนรับผลกระทบ

    2. **วิบากกรรมในภพใหม่ (อุปปัชชเวทนียกรรม):**
    - เกิดในอบายภูมิ (นรก เปรต อสุรกาย) เนื่องจากทำลาย "สังคหวัตถุ" (หลักการสงเคราะห์สังคม)
    - หากได้เกิดเป็นมนุษย์ มักเกิดในตระกูลต่ำ ขาดโอกาส ถูกกดขี่ หรือมีชีวิตเต็มไปด้วยอุปสรรค
    - พลาดโอกาสในการศึกษาพระธรรม เพราะกรรมหนักปิดกั้นปัญญา

    3. **วิบากกรรมสืบเนื่อง (อปราปริยเวทนียกรรม):**
    - แม้พ้นจากอบายภูมิแล้ว วิบากยังสืบเนื่อง เช่น มีสุขภาพย่ำแย่ ทรัพย์สินสูญหายง่าย ถูกหลอกลวงเป็นนิสัย

    ### อกุศลกรรมหลักที่ก่อ
    - **อทินนาทาน (ลักทรัพย์):** การคอร์รัปชันคือการลักทรัพย์ส่วนรวม
    - **มุสาวาท (พูดเท็จ):** การปกปิดการทุจริต ใช้วาทศิลป์หลอกลวงประชาชน
    - **มิจฉาชีพ (การงานผิด):** ใช้อำนาจในทางมิชอบ
    - **ทำลายหลัก "ธรรมาธิปไตย":** ซึ่งพุทธศาสนาส่งเสริมการปกครองด้วยธรรม

    ### ผลต่อสังคมตามหลักพุทธ
    การกระทำดังกล่าว **ทำลาย "ธรรมิกราชธรรม" (หลักการปกครองที่ดี)** โดยเฉพาะ:
    - **ขาดเมตตาธรรม:** ไม่เกื้อกูลประชาชน
    - **ขาดสัจจะ:** ไม่รักษาคำมั่นสัญญาต่อชาติ
    - **ขาดทมะ:** ไม่รู้จักควบคุมความโลภ

    ### สรุป
    พุทธศาสนามองว่ากรรมนี้ **"หนัก"** เพราะส่งผลร้ายต่อมหาชน ("กรรมที่มีเวรเป็นผล") ผู้ก่อย่อมได้รับผลกรรมทั้งทางตรง (การลงโทษทางโลก) และทางอ้อม (วิบากในสังสาระ) แม้ผลกรรมอาจไม่ปรากฏทันที แต่ย่อมตามสนองอย่างแน่นอนตามกฎแห่งกรรม

    > "ผู้ปกครองที่ดีต้องมี **หิริ-โอตตัปปะ** (ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป) เป็นพื้นฐาน หากขาดธรรมนี้ ย่อมนำความวิบัติมาสู่ตนเองและแผ่นดิน" — อ้างตามพระไตรปิฎกและอรรถกถา
    ตามหลักพุทธศาสนา การกระทำของผู้บริหารบ้านเมืองที่ "ขายชาติ" (นำผลประโยชน์ของชาติไปให้ต่างชาติโดยมิชอบ) และ "โกงแผ่นดิน" (คอร์รัปชั่น, ฉ้อราษฎร์บังหลวง) ถือเป็น **อกุศลกรรมหนัก** ที่ส่งผลทั้งในชาตินี้และชาติหน้า ดังนี้ ### ผลกรรมตามหลักกรรม (กฎแห่งเหตุและผล) 1. **วิบากกรรมในปัจจุบัน (ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม):** - สูญเสียความน่าเชื่อถือ ถูกสังคมประณาม ต้องเผชิญการฟ้องร้องทางกฎหมาย - ขาดมิตรแท้ อยู่ในความหวาดระแวง ครอบครัวแตกแยก - นำไปสู่การล่มสลายทางการเมือง เช่น ถูกปลดออกจากตำแหน่ง ต้องโทษจำคุก - สร้างความเสื่อมโทรมให้ประเทศ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ/สังคมที่ประชาชนรับผลกระทบ 2. **วิบากกรรมในภพใหม่ (อุปปัชชเวทนียกรรม):** - เกิดในอบายภูมิ (นรก เปรต อสุรกาย) เนื่องจากทำลาย "สังคหวัตถุ" (หลักการสงเคราะห์สังคม) - หากได้เกิดเป็นมนุษย์ มักเกิดในตระกูลต่ำ ขาดโอกาส ถูกกดขี่ หรือมีชีวิตเต็มไปด้วยอุปสรรค - พลาดโอกาสในการศึกษาพระธรรม เพราะกรรมหนักปิดกั้นปัญญา 3. **วิบากกรรมสืบเนื่อง (อปราปริยเวทนียกรรม):** - แม้พ้นจากอบายภูมิแล้ว วิบากยังสืบเนื่อง เช่น มีสุขภาพย่ำแย่ ทรัพย์สินสูญหายง่าย ถูกหลอกลวงเป็นนิสัย ### อกุศลกรรมหลักที่ก่อ - **อทินนาทาน (ลักทรัพย์):** การคอร์รัปชันคือการลักทรัพย์ส่วนรวม - **มุสาวาท (พูดเท็จ):** การปกปิดการทุจริต ใช้วาทศิลป์หลอกลวงประชาชน - **มิจฉาชีพ (การงานผิด):** ใช้อำนาจในทางมิชอบ - **ทำลายหลัก "ธรรมาธิปไตย":** ซึ่งพุทธศาสนาส่งเสริมการปกครองด้วยธรรม ### ผลต่อสังคมตามหลักพุทธ การกระทำดังกล่าว **ทำลาย "ธรรมิกราชธรรม" (หลักการปกครองที่ดี)** โดยเฉพาะ: - **ขาดเมตตาธรรม:** ไม่เกื้อกูลประชาชน - **ขาดสัจจะ:** ไม่รักษาคำมั่นสัญญาต่อชาติ - **ขาดทมะ:** ไม่รู้จักควบคุมความโลภ ### สรุป พุทธศาสนามองว่ากรรมนี้ **"หนัก"** เพราะส่งผลร้ายต่อมหาชน ("กรรมที่มีเวรเป็นผล") ผู้ก่อย่อมได้รับผลกรรมทั้งทางตรง (การลงโทษทางโลก) และทางอ้อม (วิบากในสังสาระ) แม้ผลกรรมอาจไม่ปรากฏทันที แต่ย่อมตามสนองอย่างแน่นอนตามกฎแห่งกรรม > "ผู้ปกครองที่ดีต้องมี **หิริ-โอตตัปปะ** (ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป) เป็นพื้นฐาน หากขาดธรรมนี้ ย่อมนำความวิบัติมาสู่ตนเองและแผ่นดิน" — อ้างตามพระไตรปิฎกและอรรถกถา
    0 Comments 0 Shares 132 Views 0 Reviews
  • ใครลงคะแนนให้ ช่วยรับผิดชอบ ตราบาป
    https://www.youtube.com/live/hrqIdblS9lQ?si=ERzNRWVchcJkS9Cw
    ใครลงคะแนนให้ ช่วยรับผิดชอบ ตราบาป https://www.youtube.com/live/hrqIdblS9lQ?si=ERzNRWVchcJkS9Cw
    - YouTube
    เพลิดเพลินไปกับวิดีโอและเพลงที่คุณชอบ อัปโหลดเนื้อหาต้นฉบับ และแชร์เนื้อหาทั้งหมดกับเพื่อน ครอบครัว และผู้คนทั่วโลกบน YouTube
    0 Comments 0 Shares 46 Views 0 Reviews
  • ..555,ข่าวแหกตา เศรษฐกิจโลกมันพังปกติอยู่แล้ว โยนบาปให้ทรัมป์เป็นแพะว่าชาติต่างๆจะล้มละลายเพราะนโยบายทรัมป์ ซึ่งมันไม่จริงอะไรเลย อเมริกามีประชากรไม่กี่ร้อยล้านคนจะบริโภคห่าเหวอะไรมากมายขนาดนั้น,ส่วนใหญ่อาจแค่ใข้อเมริกาเป็นทางผ่านแบรนด์นามใช้ชื่อโลโก้อเมริกานั้นล่ะ,นำเข้าหลอกๆอีก ไม่ได้เข้าอเมริกาเป็นรูปร่างรูปธรรมห่าอะไรด้วย แค่นำเข้าในนามกระดาษ แบรนด์อเมริกากิจการเครือข่ายอเมริกาแต่ละชาติรับไปขายต่อผ่านอเมริกาเท่านั่น มุกตย.หนึ่งแค่นั้นล่ะ เช่นเรือน้ำมันอเมริกาแท่งขุดบริษัทอเมริกาลอยลำในไทยตีตราว่าส่งออกเข้าอเมริกาแล้ววนเอกสารนำเข้ามาไทยในที่สุดนั้นล่ะ,อเมริกาคิดภาษีเสร็จแล้วก็มาขายคืนไทย0%กำไรทันทีถ้าตกลงแบบเวียดนามให้สินค้าอเมริกามาขายเวียดนามในอัตรานำเข้า0%แลกส่งออกไปอเมริกาก็ว่า ,เจ้าสัวไทยไม่เดือดร้อนอะไรหรอกสมุนอีลิทมันรับรู้ล่วงหน้าแล้วเลยไม่ตั้งสายการผลิตทั่วอาเชียนทั่วเอเชียก็ส่งออกในชื่อที่ภาษีถูกคิดน้อยๆไง,คืออเมริกามีแต่ได้จริงๆในภาวะตังเงินโลกพัง,ทรัมป์ก็เหี้ยถูกจังหวะพอดี,เลยรับซวยไป,มองอีกมุม ทรัมป์กำลังเล่นงานบริษัทกิจการอีลิทdeep stateอยู่ก็ได้,ปลดปล่อยทาสแรงงานออกจากระบบทาสdeep stateที่ควบคุมมานานคือทำงานรับใช้พวกมันเหมือนทาสในกิจการบริษัทมันนั้นล่ะ,เร่งให้คนออกจากระบบทาสมันกลับบ้านใครบ้านมันไปอยู่ในธรรมชาติบ้านเกิดท้องเมืองนอนเดิมตนเสียก็ว่า,แก้ง่ายๆคือนายกฯต้องมานำประเทศแบบมุ่งการพึ่งพาตนเองภายในประเทศตนและกันและกันให้ได้ก่อน,ต้องมาในลักษณะพิเศษ กฎหมายพิเศษด้วย คือนายกฯพระราชทานนั้นล่ะมาบริหารชาติด้วยกฎหมายพิเศษมีอำนาจเด็ดขาดพร้อมสร้างทุกๆกลยุทธทางสงครามตังปากท้องและอธิปไตยตนทันทีสลับสับเปลี่ยนคล่องตัวก็ว่า,โดยกลไกปกติทำไม่ได้ ไม่ทันกาล ทันยุคที่การเปลี่ยนทางกระสุนตังกระสุนเงินรวดเร็วมาก,อเมริกาก็เป็นบ้าเป็นบอเพราะตังเพราะเงินใช้หนี้นี้ล่ะ,ญี่ปุ่นก็จะล่มละลายทั่งประเทศก็ตังนี้ล่ะบวกภัยธรรมชาติแบบแผ่นดินไหวอีก,"ตัง"คือชื่อเรียกหนึ่งว่าชื่อ"เศรษฐกิจ"ในชื่อเรียกหนึ่งเท่านั้น,
    ..อนาคตคนไทยต้องตกงานแน่นอนอยู่แล้วเพราะจักรกลจะมาแทนที่เป็นอันมากตลอดAIแทรกซึมทุกๆกระบวนการทำตังแล้ว,ช่องทางปกติอาจลดบทบาทลงมากขึ้น,คนจะถูกแทนที่มากขึ้นเรื่อยๆจากเอไอ,ผู้นำประเทศไทยเราจึงสำคัญมากในยุคการละครบทบาทเวลานี้ที่จะมาลงเล่นในยุคต่อไป,นำพาคนไทยทั้งประเทศตั้งรับและรุกหรือถอยเพื่อชนะตนเองหรือการดำรงอยู่ของคนไทยและประเทศชาติให้ได้บนฐานความอิ่มดีมีสุขก็ว่า,คือทั่วโลกจะเป็นห่าเหวอะไร,แต่ภายในประเทศเรา ครอบครัวพร้อมหน้ายิ้มแย้มอย่างมีความสุขตังทองพอดีพองามไม่ขาดไม่เดือดร้อน มีก็ได้ ไม่มีก็ได้ อาหารการกินเต็มบ้าน แบ่งปันกันภายในประเทศไทยตน เหลือก็ขาย ยาสมุนไพรเคมีเพียงพอแก่การรักษาคนในชาติไทยตน,คือผู้นำสามารถนำพาชาติไทยตนตั้งรับตั้งรุกหรือนิ่งเฉยได้หมด,คืออุดมสมบูรณ์ปกติดีทั่วถึงแก่ทุกๆคนไทยเราอย่างไร,,ทรัมป์กีดกันก็ค้าขายกับชาติอื่น ขายคนแค่100คน กับขายคนรวมกันหลายๆบ้านกว่า1,000คนได้ตังหลายพันบาทมากกว่าร้อยบาทย่อมดีแน่นอน,บางทีอาจแลกเปลี่ยนวัตถุดิบในรัฐต่อรัฐได้เช่น ไทยขุดน้ำมันเอง ยึดทุกๆบ่อน้ำมันเสร็จ แลกน้ำมันกับจักรกลทางการเกษตรหรืออุตสากรรมก็ได้อีกมาช่วยทุ่นแรงคนไทยตนในราคาไม่แพง,อาหารแลกอาหาร,เสบียงใดเราขาดก็แลกเสบียงนั้นที่เขาขาดได้,รัฐสร้างโรงงานผลิตยานบินในฮับไทย ขาดวัตถุดิบก็ใช้ทรัพยากรเรามีที่เขาต้องการแลกกัน,ผลิตเสร็จขายราคาไม่แพงแก่เขาก็ได้หรือประเทศอื่นในราคาไม่แพงก็ได้อีก,คือผู้นำเราทั้งสิ้นจะควบคุมกลไกให้สมดุลในระบบแบบใด,ประเทศไทยเราพร้อมหมด,ฉีกกฎหมายผูกตีผูกมือผูกการกระทำกิจกรรมที่สร้างสรรคของคนไทยทิ้ง จะเพิ่มโอกาสนวัตกรรมใหม่ตรึมบนแผ่นดินไทยเรา,เพราะผู้ปกครองชั่วเลวปกครองกดขี่คนไทยด้วยกฎหมายผีบ้าผีบ้อมากมายนั่นล่ะ,คนชั่วในไทยแม้มีมากแต่ระบบสังคมจะจัดการเขาเองร่วมด้วยก็ได้,อาทิ เสพยาบ้าแล้วคลั่ง ชุมชนสะกำได้ทันทีก็ว่า,ข่มขื่นไทบ้านชาวบ้านรุมสะกัมเกือบตายก็ได้ซึ่งคนชั่วเลวที่ชัดเจน สมควรต้องเปิดเผยถูกกระซากหน้าให้สังคมรับรู้ เช่นแบงค์สถุนกากยักยอกตังคนฝากก็ประจานชื่อแบงค์สถุนกากนั้นเลย สาขาอะไร พนักงานคนไหน เป็นต้น นี้อะไรเขียนกฎหมายช่วยเหลือคนชั่วเลวเป็นต้น,นี้คือลักษณะกฎหมายเลวชั่วแบบเปิดสัมปทานน้ำมันแต่ไม่เอาเข้าสภาสส.สว.นั้นล่ะ,นี้คือกฎหมายเลวก็ด้วย,แบบพรบ.ผูกขาดเมล็ดพันธุ์ที่ร่างออกมาจะออกเป็นพรบ.มาบังคับคนปลูกต่างๆทั่วไทยโดยเฉพาะสานคนเกษตรกรรมซวยแน่นอนหากพรบ.500ยึดทหารยุดอำนาจนั้นผ่านได้เอกชนไทยแดกรวบทั้งระบบทั้งประเทศทันที นี้คือกฎหมายชั่วสารเลวอีกตัวอย่างหนึ่งที่ชัดเจนว่า,กฎหมายเราคือตัวถ่วงความเจริญอยู่ดีมีสุขสงบร่มเย็นพึ่งพาตนเองได้จริงของคนไทยโดยการปล้นชิงผ่านกฎหมายนั้นเองไปจากประชาชนคนไทย,สร้างข้อกำหนด ทำได้ทำไม่ได้นั่นล่ะ,ปลูกกัญชาเสรีก็ทำไม่ได้ สกัดยาสาระพัดวิจัย5ปีก่อนนะ,แต่วัคซีนโควิดไม่มีงานวิจัยปลอดภัยอะไรรองรับเสือกฉีดเข้าร่างกายคนไทยกว่า60ล้านคนหน้าตาเฉย ต่างชาติบริษัทยามันเองรับผิดถูกฟ้องคดีตรึมบอกเองว่ามีผลเป็นพิษจริงแก่คนฉีดมากกว่า1โรคโน้น รัฐบาลไทยเปลี่ยนมาสองนายกฯสองรักษาการแล้วนะก็ไม่ยอมประกาศความจริงอย่างเป็นทางการเลนด้วย.
    ..นี้จึงคือสาเหตุชัดต้องล้างทั้งหมด,ทรัมป์คือปัญหาภายนอกผู้นำภายนอก,เราต้องจัดการภายในเราก่อน,จึงนายกฯพระราชทานคือทางออก,และเด็ดขาดกับความชั่วเลวจริง,เด็ดขาดกับเดอะแก๊งแดกประเทศไทยทั้งหมดจริงด้วย.
    ..
    ..https://youtu.be/UqqWf54tRMM?si=T-lTaXTTUXijbHdQ
    ..555,ข่าวแหกตา เศรษฐกิจโลกมันพังปกติอยู่แล้ว โยนบาปให้ทรัมป์เป็นแพะว่าชาติต่างๆจะล้มละลายเพราะนโยบายทรัมป์ ซึ่งมันไม่จริงอะไรเลย อเมริกามีประชากรไม่กี่ร้อยล้านคนจะบริโภคห่าเหวอะไรมากมายขนาดนั้น,ส่วนใหญ่อาจแค่ใข้อเมริกาเป็นทางผ่านแบรนด์นามใช้ชื่อโลโก้อเมริกานั้นล่ะ,นำเข้าหลอกๆอีก ไม่ได้เข้าอเมริกาเป็นรูปร่างรูปธรรมห่าอะไรด้วย แค่นำเข้าในนามกระดาษ แบรนด์อเมริกากิจการเครือข่ายอเมริกาแต่ละชาติรับไปขายต่อผ่านอเมริกาเท่านั่น มุกตย.หนึ่งแค่นั้นล่ะ เช่นเรือน้ำมันอเมริกาแท่งขุดบริษัทอเมริกาลอยลำในไทยตีตราว่าส่งออกเข้าอเมริกาแล้ววนเอกสารนำเข้ามาไทยในที่สุดนั้นล่ะ,อเมริกาคิดภาษีเสร็จแล้วก็มาขายคืนไทย0%กำไรทันทีถ้าตกลงแบบเวียดนามให้สินค้าอเมริกามาขายเวียดนามในอัตรานำเข้า0%แลกส่งออกไปอเมริกาก็ว่า ,เจ้าสัวไทยไม่เดือดร้อนอะไรหรอกสมุนอีลิทมันรับรู้ล่วงหน้าแล้วเลยไม่ตั้งสายการผลิตทั่วอาเชียนทั่วเอเชียก็ส่งออกในชื่อที่ภาษีถูกคิดน้อยๆไง,คืออเมริกามีแต่ได้จริงๆในภาวะตังเงินโลกพัง,ทรัมป์ก็เหี้ยถูกจังหวะพอดี,เลยรับซวยไป,มองอีกมุม ทรัมป์กำลังเล่นงานบริษัทกิจการอีลิทdeep stateอยู่ก็ได้,ปลดปล่อยทาสแรงงานออกจากระบบทาสdeep stateที่ควบคุมมานานคือทำงานรับใช้พวกมันเหมือนทาสในกิจการบริษัทมันนั้นล่ะ,เร่งให้คนออกจากระบบทาสมันกลับบ้านใครบ้านมันไปอยู่ในธรรมชาติบ้านเกิดท้องเมืองนอนเดิมตนเสียก็ว่า,แก้ง่ายๆคือนายกฯต้องมานำประเทศแบบมุ่งการพึ่งพาตนเองภายในประเทศตนและกันและกันให้ได้ก่อน,ต้องมาในลักษณะพิเศษ กฎหมายพิเศษด้วย คือนายกฯพระราชทานนั้นล่ะมาบริหารชาติด้วยกฎหมายพิเศษมีอำนาจเด็ดขาดพร้อมสร้างทุกๆกลยุทธทางสงครามตังปากท้องและอธิปไตยตนทันทีสลับสับเปลี่ยนคล่องตัวก็ว่า,โดยกลไกปกติทำไม่ได้ ไม่ทันกาล ทันยุคที่การเปลี่ยนทางกระสุนตังกระสุนเงินรวดเร็วมาก,อเมริกาก็เป็นบ้าเป็นบอเพราะตังเพราะเงินใช้หนี้นี้ล่ะ,ญี่ปุ่นก็จะล่มละลายทั่งประเทศก็ตังนี้ล่ะบวกภัยธรรมชาติแบบแผ่นดินไหวอีก,"ตัง"คือชื่อเรียกหนึ่งว่าชื่อ"เศรษฐกิจ"ในชื่อเรียกหนึ่งเท่านั้น, ..อนาคตคนไทยต้องตกงานแน่นอนอยู่แล้วเพราะจักรกลจะมาแทนที่เป็นอันมากตลอดAIแทรกซึมทุกๆกระบวนการทำตังแล้ว,ช่องทางปกติอาจลดบทบาทลงมากขึ้น,คนจะถูกแทนที่มากขึ้นเรื่อยๆจากเอไอ,ผู้นำประเทศไทยเราจึงสำคัญมากในยุคการละครบทบาทเวลานี้ที่จะมาลงเล่นในยุคต่อไป,นำพาคนไทยทั้งประเทศตั้งรับและรุกหรือถอยเพื่อชนะตนเองหรือการดำรงอยู่ของคนไทยและประเทศชาติให้ได้บนฐานความอิ่มดีมีสุขก็ว่า,คือทั่วโลกจะเป็นห่าเหวอะไร,แต่ภายในประเทศเรา ครอบครัวพร้อมหน้ายิ้มแย้มอย่างมีความสุขตังทองพอดีพองามไม่ขาดไม่เดือดร้อน มีก็ได้ ไม่มีก็ได้ อาหารการกินเต็มบ้าน แบ่งปันกันภายในประเทศไทยตน เหลือก็ขาย ยาสมุนไพรเคมีเพียงพอแก่การรักษาคนในชาติไทยตน,คือผู้นำสามารถนำพาชาติไทยตนตั้งรับตั้งรุกหรือนิ่งเฉยได้หมด,คืออุดมสมบูรณ์ปกติดีทั่วถึงแก่ทุกๆคนไทยเราอย่างไร,,ทรัมป์กีดกันก็ค้าขายกับชาติอื่น ขายคนแค่100คน กับขายคนรวมกันหลายๆบ้านกว่า1,000คนได้ตังหลายพันบาทมากกว่าร้อยบาทย่อมดีแน่นอน,บางทีอาจแลกเปลี่ยนวัตถุดิบในรัฐต่อรัฐได้เช่น ไทยขุดน้ำมันเอง ยึดทุกๆบ่อน้ำมันเสร็จ แลกน้ำมันกับจักรกลทางการเกษตรหรืออุตสากรรมก็ได้อีกมาช่วยทุ่นแรงคนไทยตนในราคาไม่แพง,อาหารแลกอาหาร,เสบียงใดเราขาดก็แลกเสบียงนั้นที่เขาขาดได้,รัฐสร้างโรงงานผลิตยานบินในฮับไทย ขาดวัตถุดิบก็ใช้ทรัพยากรเรามีที่เขาต้องการแลกกัน,ผลิตเสร็จขายราคาไม่แพงแก่เขาก็ได้หรือประเทศอื่นในราคาไม่แพงก็ได้อีก,คือผู้นำเราทั้งสิ้นจะควบคุมกลไกให้สมดุลในระบบแบบใด,ประเทศไทยเราพร้อมหมด,ฉีกกฎหมายผูกตีผูกมือผูกการกระทำกิจกรรมที่สร้างสรรคของคนไทยทิ้ง จะเพิ่มโอกาสนวัตกรรมใหม่ตรึมบนแผ่นดินไทยเรา,เพราะผู้ปกครองชั่วเลวปกครองกดขี่คนไทยด้วยกฎหมายผีบ้าผีบ้อมากมายนั่นล่ะ,คนชั่วในไทยแม้มีมากแต่ระบบสังคมจะจัดการเขาเองร่วมด้วยก็ได้,อาทิ เสพยาบ้าแล้วคลั่ง ชุมชนสะกำได้ทันทีก็ว่า,ข่มขื่นไทบ้านชาวบ้านรุมสะกัมเกือบตายก็ได้ซึ่งคนชั่วเลวที่ชัดเจน สมควรต้องเปิดเผยถูกกระซากหน้าให้สังคมรับรู้ เช่นแบงค์สถุนกากยักยอกตังคนฝากก็ประจานชื่อแบงค์สถุนกากนั้นเลย สาขาอะไร พนักงานคนไหน เป็นต้น นี้อะไรเขียนกฎหมายช่วยเหลือคนชั่วเลวเป็นต้น,นี้คือลักษณะกฎหมายเลวชั่วแบบเปิดสัมปทานน้ำมันแต่ไม่เอาเข้าสภาสส.สว.นั้นล่ะ,นี้คือกฎหมายเลวก็ด้วย,แบบพรบ.ผูกขาดเมล็ดพันธุ์ที่ร่างออกมาจะออกเป็นพรบ.มาบังคับคนปลูกต่างๆทั่วไทยโดยเฉพาะสานคนเกษตรกรรมซวยแน่นอนหากพรบ.500ยึดทหารยุดอำนาจนั้นผ่านได้เอกชนไทยแดกรวบทั้งระบบทั้งประเทศทันที นี้คือกฎหมายชั่วสารเลวอีกตัวอย่างหนึ่งที่ชัดเจนว่า,กฎหมายเราคือตัวถ่วงความเจริญอยู่ดีมีสุขสงบร่มเย็นพึ่งพาตนเองได้จริงของคนไทยโดยการปล้นชิงผ่านกฎหมายนั้นเองไปจากประชาชนคนไทย,สร้างข้อกำหนด ทำได้ทำไม่ได้นั่นล่ะ,ปลูกกัญชาเสรีก็ทำไม่ได้ สกัดยาสาระพัดวิจัย5ปีก่อนนะ,แต่วัคซีนโควิดไม่มีงานวิจัยปลอดภัยอะไรรองรับเสือกฉีดเข้าร่างกายคนไทยกว่า60ล้านคนหน้าตาเฉย ต่างชาติบริษัทยามันเองรับผิดถูกฟ้องคดีตรึมบอกเองว่ามีผลเป็นพิษจริงแก่คนฉีดมากกว่า1โรคโน้น รัฐบาลไทยเปลี่ยนมาสองนายกฯสองรักษาการแล้วนะก็ไม่ยอมประกาศความจริงอย่างเป็นทางการเลนด้วย. ..นี้จึงคือสาเหตุชัดต้องล้างทั้งหมด,ทรัมป์คือปัญหาภายนอกผู้นำภายนอก,เราต้องจัดการภายในเราก่อน,จึงนายกฯพระราชทานคือทางออก,และเด็ดขาดกับความชั่วเลวจริง,เด็ดขาดกับเดอะแก๊งแดกประเทศไทยทั้งหมดจริงด้วย. .. ..https://youtu.be/UqqWf54tRMM?si=T-lTaXTTUXijbHdQ
    0 Comments 0 Shares 223 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    สัทธรรมลำดับที่ : 1046
    ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้
    แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน
    กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น
    แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ
    ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก.
    พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น
    พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !”
    --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย,
    ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ.

    (ก. ฝ่ายอกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,”
    ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !”
    --มีโทษหรือไม่มีโทษ ?
    “มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !”

    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย”
    ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.

    ( ข. ฝ่ายกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !”
    มี โทษหรือไม่มีโทษ ?
    “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล
    ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้
    กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’
    ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด”
    ดังนี้
    ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.
    ----
    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้
    ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า

    +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ;

    +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้
    มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า
    “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี.
    ฐานะที่จะมีได้ก็คือ
    เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย
    เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี,
    เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ
    ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ,
    ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ
    ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้,
    ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้
    มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก
    “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น.
    ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น.
    ”(ชาวกาลามเหล่านั้น
    รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง,
    แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).-

    (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า
    การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น
    จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด
    เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า
    ทุกข์เป็นอย่างไร
    เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร
    ความดับทุกข์เป็นอย่างไร
    มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร
    โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา
    หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก
    หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก
    หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ
    หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ.
    เป็นอัน กล่าวได้ว่า
    ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้
    ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส
    อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร สัทธรรมลำดับที่ : 1046 ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 เนื้อความทั้งหมด :- --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” --มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ---- --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น. ”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).- (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า ทุกข์เป็นอย่างไร เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร ความดับทุกข์เป็นอย่างไร มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ. เป็นอัน กล่าวได้ว่า ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้ ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505. http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    -การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคมนี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยา ผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า มีจิตสหรคตด้วยเมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยกรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอัน ใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยมุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; มีจิตสหรคตด้วยอุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลกมี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลกไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหนดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่ เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น . . . .”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).
    0 Comments 0 Shares 139 Views 0 Reviews
  • วันนี้ได้สะสาง/เคลียร์เควสต์เก่าใน Maplestory เพราะรอเวลานี้มานานแล้ว ต้องทำให้หมด แต่เดือนนึงไม่ไหวอะ แต่ปีหน้าไม่แน่อาจจะจบหมดนะครับ
    ทำแล้ว ทำอยู่ ทำต่อไป ทำเรื่อยๆ เดี๋ยวก็เจอปลายทางที่ได้ดั่งใจหวัง
    แต่เวลาที่ทำตามความคาดหวังคนอื่น ผมประเมินเองแล้วหลังทบทวนตัวเองจนค้นพบตัวตนและความอยากโดยพื้นฐานของผมมานาน ได้แค่ความสุขระยะสั้น แถมได้ความทุกข์ล่วงหน้า ความทุกข์ระยะยาว ที่ต้องทนเป็นทาสชั้นต่ำของผู้ใหญ่ออฟฟิศปากโคตรตลาด
    สำรวมระวัง ละอายชั่วกลัวบาป อยู่กับปัจจุบัน ถ้านึกถึงอดีตควรรำลึกถึงอดีตที่ดีๆ อดีตที่เลวร้ายอย่าไปจมปลัก ไม่งั้นเราจะไม่พัฒนา เราจะไม่ก้าวหน้า
    วันนี้ได้สะสาง/เคลียร์เควสต์เก่าใน Maplestory เพราะรอเวลานี้มานานแล้ว ต้องทำให้หมด แต่เดือนนึงไม่ไหวอะ แต่ปีหน้าไม่แน่อาจจะจบหมดนะครับ ทำแล้ว ทำอยู่ ทำต่อไป ทำเรื่อยๆ เดี๋ยวก็เจอปลายทางที่ได้ดั่งใจหวัง แต่เวลาที่ทำตามความคาดหวังคนอื่น ผมประเมินเองแล้วหลังทบทวนตัวเองจนค้นพบตัวตนและความอยากโดยพื้นฐานของผมมานาน ได้แค่ความสุขระยะสั้น แถมได้ความทุกข์ล่วงหน้า ความทุกข์ระยะยาว ที่ต้องทนเป็นทาสชั้นต่ำของผู้ใหญ่ออฟฟิศปากโคตรตลาด สำรวมระวัง ละอายชั่วกลัวบาป อยู่กับปัจจุบัน ถ้านึกถึงอดีตควรรำลึกถึงอดีตที่ดีๆ อดีตที่เลวร้ายอย่าไปจมปลัก ไม่งั้นเราจะไม่พัฒนา เราจะไม่ก้าวหน้า
    0 Comments 0 Shares 76 Views 0 Reviews
  • #อดีตชาติหลวงพ่อฤาษี 13 ชาติ..

    #ที่เกิดตั้งแต่สมัยโยนกนคร #จนถึงรัตนโกสินทร์

    ลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็นปึกแผ่น และเพื่อช่วยเหลือคนไทย และช่วยให้พระพุทธศาสนามีอายุครบ 5000 ปี

    #วาระที่ 1 เกิดเป็นพระเจ้ามังราย รัชกาลที่ 2 แห่งโยนกนคร เป็นลูกชายพระเจ้าอชุตราช ในชาตินั้นท่านเป็นผู้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าที่ดอยตุง โดยการนำมาของพระมหากัสสปะพร้อมด้วยพระอรหันต์ 500 องค์

    #วาระที่ 2 เกิดสมัยโยนก เป็นเณรน้อยอายุ 7 ปีทรงฌานสมาบัติ แต่ได้ถูกขอมดำกระทำย่ำยี เวลานั้นขอมดำมายึดเมืองโยนกนครได้แล้ว แล้วทำการกดขี่ข่มเหงรังแกคนไทย
    เณรจึงเข้าฌานสมาบัติ ตั้งจิตอธิษฐานว่า เกิดคราวหน้าขอให้ได้เกิดมาเป็นคนไทย และได้ช่วยคนไทยทุกแง่ทุกมุม
    มิไม่ใช่เฉพาะการรบ การเศรษฐกิจ การปกครอง แม้แต่การรบทุกอย่างให้ครบถ้วน ให้คนไทยพ้นจากความเป็นทาส "พอตั้งจิตอธิษฐานก็ไม่ถอนจากฌานสมาบัติ ก็นั่งทรงฌานอย่างนั้นจนตาย แล้วไปเกิดเป็นพรหม ชั้นที่ 11

    #การเกิดครั้งที่3 หลังจากตายจากเณรน้อย ไปเป็นพรหมชั้นที่11ได้เพียง1ปีเศษ ก็ลงมาเกิดเป็น "พระเจ้าพรหม มหาราช" เป็นโอรสของพระเจ้าพังคราช รัชกาลที่ 37 ในสมัยโยนกนคร มีพี่ชายชื่อทุกภิขะ( บริเวณพระธาตุจอมกิตติ ดอยตุง เป็นเขตเมืองโยนกนคร) เกิดพร้อมสหชาติที่เป็นพรหม เทวดา ลงมาเกิดพร้อมกัน 250 คน ทั้ง 250 คน เกิดเป็นผู้ชายทั้งหมด พรหมอีกองค์นึงเกิดเป็นช้างประกายแก้ว ช้างคู่บารมีพระเจ้าพรหม ลงมาเกิดเพื่อกู้ชาติให้พ้นความเป็นทาสจากขอมดำ และทำสำเร็จด้วย ทุกวันนี้วันอาสาฬหบูชาที่วัดท่าซุงก็มีการแห่ชัยชนะพระเจ้าพรหมทุกๆปี

    #การเกิดในวาระที่4 หลังจากที่ตายจากการเป็นพระเจ้าพรหมสมัยโยนก แล้วเข้าฌาณตาย กลับไปเป็นพรหม เวลาผ่านไปอีก 800 ปีลงมาเกิดเป็นพระร่วงโรจนฤทธิ์ ตอนเด็กมีนามว่าอรุณกุมาร เป็นผู้ที่มีฤทธิ์มาก มีวิชาอาคม มีวาจาสิทธิ์ สามารถเสกขอมให้เป็นหินได้ และขยายอาณาเขตของประเทศไทย (ตอนนั้นยังไม่เป็นเทศไทย )กว้างใหญ่ไพศาล ยึดมอญ พม่าขอมไว้ได้หมด อาณาจักรยาวเหยียด เวลานั้นคือก่อนเมืองสุโขทัย 700 ปีเศษ ก่อนหน้าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ 700ประมาณปีเศษ

    #วาระที่5 เกิดเป็น"พ่อขุนศรีเมืองมาน"( เป็นพ่อของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ แห่งอณาจักรสุโขทัย) ตายจากพระร่วงโรจนฤทธิ์ก็เข้าฌานตาย กลับไปเป็นพรหมเช่นเดิม กลับมาเกิดวาระที่5 เป็นพ่อขุนศรีเมืองมาน มีสหชาติเกิดมาด้วยคือ พ่อขุนน้าวนําถมลงมาช่วยกู้ชาติไทยจากขอมดำ ขยายอาณาเขตประเทศไทยไปถึงสิงคโปร์ มีภรรยาชื่อพรรณวดีศรีโสภาศ เป็นเมียเอก และมีเมียราษฏร์อีก 29 คน พอเมียเอกตาย ก็บวชไม่สึกอีกเลย เข้าฌานตายแล้วไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม

    #วาระที่6 "ขุนหลวงพระงั่ว" รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงศรีอยุธยา ต่อมาคนไทยเกิดแบ่งเป็น 2 พวก จึงต้องลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็น1เดียว ลงมาเกิดในราชวงศ์อู่ทอง เป็น"ขุนหลวงพระงั่ว" มาปลุกจิตสำนึกคนไทยให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ จึงนิมนต์พระสงฆ์มาร่าง"ไตรภูมิพระร่วง
    ไตรภูมิพระร่วง พระร่วงไม่ได้ทำ
    ท่านเป็นเพียงแต่ศาสนูปถัมภ์
    ไตรภูมิพระร่วง เป็นการร่วมมือกันระหว่างสุโขทัยและกรุงศรี
    และยังได้ร่วมกันสร้างพระพุทธชินราชพระพุทธชินสีห์ และพระศรีศากยมุนีขึ้นมาเป็นมิ่งขวัญของเมืองไทย เป็นการแสดงสัญลักษณ์ว่าประเทศไทยจะทรงตัวได้ด้วยเหตุ 3 อย่างด้วยกัน
    คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
    พระพุทธชินราช หมายถึง พระมหากษัตริย์ พระพุทธชินสีห์ หมายถึง พระศาสนา พระศากยมุนี หมายถึง ชาติ
    การสร้างครั้งนี้ก็เป็นหน้าที่ของท้าวโกสีย์สักกะเทวราชให้พระวิษณุกรรมมาช่วย ขุนหลวงพระงั่วได้มารวมสุโขทัยกับอยุธยาเป็นประเทศเดียวกัน

    #เกิดวาระที่7 ต่อมาลงมาเกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงศรีฯ ครั้งนี้เป็นลูกชาวบ้าน แต่เป็นลูกมหาเศรษฐี มีแม่ชื่อปิ่นทอง พ่อชื่อกองแก้ว ท่านเองเป็นลูกชายชื่ออำไพ ลงมาช่วยคน ให้เงินให้ทอง ให้ที่ทำกิน ช่วยการเกษตร ช่วยทุกสิ่งทุกอย่าง ให้การศึกษา จนคนไทยเป็นปึกแผ่นแน่นหนาพอ ประชาชนมีความสุข และท่านก็ตายไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม

    #วาระที่ 8 เกิดมาในตระกูลของแม่ทัพสมเด็จพระพันวสา คือสมเด็จพระอินทราธิราช มีนามว่า "ขุนไกร" (#ขุนแผน) เป็นอันว่าชาตินี้ขุนแผนต้องรวบรวมไทยอาศัยที่มีวิชาการมาก เป็นนักรบเก่ง
    ล่องหนหายตัวได้ สะเดาะกลอนได้
    ทำหุ่นพยนต์ได้ ทำอะไรได้แปลกๆ
    การยกทัพไปก็ไม่ต้องใช้กำลังคนมาก
    ก็สามารถจะสู้ข้าศึกได้

    #วาระที่ 9 เกิดมาเป็นลูกกษัตริย์ มีนามว่าพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อพระบรมไตรโลกนาสวรรนคตก็ไปเป็นพรหมตามเดิมไม่ช้าไม่นานก็ต้องเสด็จลงมาเกิดอีก

    #วาระที่10 เกิดสมัยพระนารายณ์ ท่านลงมาเกิดเป็น"ขุนเหล็ก"
    หรือพระยาโกษาเหล็ก เกิดควบคู่กับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช รุ่นราวคราวเดียวกัน เป็นเพื่อนเล่นกัน ขุนเหล็กมีน้องชายชื่อว่าขุนปาน หรือพระยาโกษาปาน ทั้งสองพระองค์ เป็นที่ไว้วางใจของสมเด็จพระนารายณ์มาก
    #บั้นปลายชีวิตลากิจราชการไปจำศีลเจริญภาวนาวิปัสสนาญาณ ให้ทาน ตายจากเจ้าพระยาโกษาเหล็ก ก็เข้าฌานกลับไปเป็นพรหมตามเดิม
    (#ท่านไม่ได้ตายตามประวัติศาสตร์เขียนไว้หรอกนะ)

    #วาระที่11 ลงมาเกิดมาเป็นขุนดาบคู่ใจของพระเจ้าตากสินมหาราช คือพระยาศรีสิทธิสงคราม อยู่ในกองทัพหลวงประจำองค์พระเจ้าตากสินมหาราชสมัยกรุงธนบุรี ก่อนกรุงศรีจะแตก เป็นกำนันจัน ชื่อว่า #จันหนวดเขี้ยว เป็นที่รักของประชาชน ต่อมาค่ายบางระจันแตก
    #นายจันหนวดเขี้ยวไม่ได้ตายไปตามประวัติศาสตร์ที่เขียน
    นายจันหนวดเขี้ยวจึงมารวมกำลังกับพระเจ้าตากสินกู้ชาติ ต่อมาพระเจ้าตากสินจึงเปลี่ยนชื่อให้จากกำนันจัน มาเป็นพระยาศรีสิทธิสงคราม ประจำกองทัพหลวง (ด้วง- นายจันหนวดเขี้ยว- พระยาศรีสิทธิสงคราม -เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก-และ #สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

    #วาระที่12 มาเกิดเป็น รัชกาลที่ 5 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์

    #วาระที่13 ชาติสุดท้ายเกิดมาเป็น
    หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง

    หนังสือเรื่องจริงอิงนิทานพิเศษ
    พระราชพรหมยานเถระ (หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง)​
    คัดลอกแบ่งปันเป็นธรรมทานโดย
    จิตหนึ่งประภัสสร สุดยอดคือพระนิพพาน
    ⚜️ #อดีตชาติหลวงพ่อฤาษี 13 ชาติ..⚜️ 🔱#ที่เกิดตั้งแต่สมัยโยนกนคร #จนถึงรัตนโกสินทร์🔱 ลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็นปึกแผ่น และเพื่อช่วยเหลือคนไทย และช่วยให้พระพุทธศาสนามีอายุครบ 5000 ปี ✴️ #วาระที่ 1 เกิดเป็นพระเจ้ามังราย รัชกาลที่ 2 แห่งโยนกนคร เป็นลูกชายพระเจ้าอชุตราช ในชาตินั้นท่านเป็นผู้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าที่ดอยตุง โดยการนำมาของพระมหากัสสปะพร้อมด้วยพระอรหันต์ 500 องค์ ✴️ #วาระที่ 2 เกิดสมัยโยนก เป็นเณรน้อยอายุ 7 ปีทรงฌานสมาบัติ แต่ได้ถูกขอมดำกระทำย่ำยี เวลานั้นขอมดำมายึดเมืองโยนกนครได้แล้ว แล้วทำการกดขี่ข่มเหงรังแกคนไทย เณรจึงเข้าฌานสมาบัติ ตั้งจิตอธิษฐานว่า เกิดคราวหน้าขอให้ได้เกิดมาเป็นคนไทย และได้ช่วยคนไทยทุกแง่ทุกมุม มิไม่ใช่เฉพาะการรบ การเศรษฐกิจ การปกครอง แม้แต่การรบทุกอย่างให้ครบถ้วน ให้คนไทยพ้นจากความเป็นทาส "พอตั้งจิตอธิษฐานก็ไม่ถอนจากฌานสมาบัติ ก็นั่งทรงฌานอย่างนั้นจนตาย แล้วไปเกิดเป็นพรหม ชั้นที่ 11 ✴️ #การเกิดครั้งที่3 หลังจากตายจากเณรน้อย ไปเป็นพรหมชั้นที่11ได้เพียง1ปีเศษ ก็ลงมาเกิดเป็น "พระเจ้าพรหม มหาราช" เป็นโอรสของพระเจ้าพังคราช รัชกาลที่ 37 ในสมัยโยนกนคร มีพี่ชายชื่อทุกภิขะ( บริเวณพระธาตุจอมกิตติ ดอยตุง เป็นเขตเมืองโยนกนคร) เกิดพร้อมสหชาติที่เป็นพรหม เทวดา ลงมาเกิดพร้อมกัน 250 คน ทั้ง 250 คน เกิดเป็นผู้ชายทั้งหมด พรหมอีกองค์นึงเกิดเป็นช้างประกายแก้ว ช้างคู่บารมีพระเจ้าพรหม ลงมาเกิดเพื่อกู้ชาติให้พ้นความเป็นทาสจากขอมดำ และทำสำเร็จด้วย ทุกวันนี้วันอาสาฬหบูชาที่วัดท่าซุงก็มีการแห่ชัยชนะพระเจ้าพรหมทุกๆปี ✴️ #การเกิดในวาระที่4 หลังจากที่ตายจากการเป็นพระเจ้าพรหมสมัยโยนก แล้วเข้าฌาณตาย กลับไปเป็นพรหม เวลาผ่านไปอีก 800 ปีลงมาเกิดเป็นพระร่วงโรจนฤทธิ์ ตอนเด็กมีนามว่าอรุณกุมาร เป็นผู้ที่มีฤทธิ์มาก มีวิชาอาคม มีวาจาสิทธิ์ สามารถเสกขอมให้เป็นหินได้ และขยายอาณาเขตของประเทศไทย (ตอนนั้นยังไม่เป็นเทศไทย )กว้างใหญ่ไพศาล ยึดมอญ พม่าขอมไว้ได้หมด อาณาจักรยาวเหยียด เวลานั้นคือก่อนเมืองสุโขทัย 700 ปีเศษ ก่อนหน้าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ 700ประมาณปีเศษ ✴️ #วาระที่5 เกิดเป็น"พ่อขุนศรีเมืองมาน"( เป็นพ่อของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ แห่งอณาจักรสุโขทัย) ตายจากพระร่วงโรจนฤทธิ์ก็เข้าฌานตาย กลับไปเป็นพรหมเช่นเดิม กลับมาเกิดวาระที่5 เป็นพ่อขุนศรีเมืองมาน มีสหชาติเกิดมาด้วยคือ พ่อขุนน้าวนําถมลงมาช่วยกู้ชาติไทยจากขอมดำ ขยายอาณาเขตประเทศไทยไปถึงสิงคโปร์ มีภรรยาชื่อพรรณวดีศรีโสภาศ เป็นเมียเอก และมีเมียราษฏร์อีก 29 คน พอเมียเอกตาย ก็บวชไม่สึกอีกเลย เข้าฌานตายแล้วไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม ✴️ #วาระที่6 "ขุนหลวงพระงั่ว" รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงศรีอยุธยา ต่อมาคนไทยเกิดแบ่งเป็น 2 พวก จึงต้องลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็น1เดียว ลงมาเกิดในราชวงศ์อู่ทอง เป็น"ขุนหลวงพระงั่ว" มาปลุกจิตสำนึกคนไทยให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ จึงนิมนต์พระสงฆ์มาร่าง"ไตรภูมิพระร่วง ไตรภูมิพระร่วง พระร่วงไม่ได้ทำ ท่านเป็นเพียงแต่ศาสนูปถัมภ์ ไตรภูมิพระร่วง เป็นการร่วมมือกันระหว่างสุโขทัยและกรุงศรี และยังได้ร่วมกันสร้างพระพุทธชินราชพระพุทธชินสีห์ และพระศรีศากยมุนีขึ้นมาเป็นมิ่งขวัญของเมืองไทย เป็นการแสดงสัญลักษณ์ว่าประเทศไทยจะทรงตัวได้ด้วยเหตุ 3 อย่างด้วยกัน คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ พระพุทธชินราช หมายถึง พระมหากษัตริย์ พระพุทธชินสีห์ หมายถึง พระศาสนา พระศากยมุนี หมายถึง ชาติ การสร้างครั้งนี้ก็เป็นหน้าที่ของท้าวโกสีย์สักกะเทวราชให้พระวิษณุกรรมมาช่วย ขุนหลวงพระงั่วได้มารวมสุโขทัยกับอยุธยาเป็นประเทศเดียวกัน ✴️ #เกิดวาระที่7 ต่อมาลงมาเกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงศรีฯ ครั้งนี้เป็นลูกชาวบ้าน แต่เป็นลูกมหาเศรษฐี มีแม่ชื่อปิ่นทอง พ่อชื่อกองแก้ว ท่านเองเป็นลูกชายชื่ออำไพ ลงมาช่วยคน ให้เงินให้ทอง ให้ที่ทำกิน ช่วยการเกษตร ช่วยทุกสิ่งทุกอย่าง ให้การศึกษา จนคนไทยเป็นปึกแผ่นแน่นหนาพอ ประชาชนมีความสุข และท่านก็ตายไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม ✴️ #วาระที่ 8 เกิดมาในตระกูลของแม่ทัพสมเด็จพระพันวสา คือสมเด็จพระอินทราธิราช มีนามว่า "ขุนไกร" (#ขุนแผน) เป็นอันว่าชาตินี้ขุนแผนต้องรวบรวมไทยอาศัยที่มีวิชาการมาก เป็นนักรบเก่ง ล่องหนหายตัวได้ สะเดาะกลอนได้ ทำหุ่นพยนต์ได้ ทำอะไรได้แปลกๆ การยกทัพไปก็ไม่ต้องใช้กำลังคนมาก ก็สามารถจะสู้ข้าศึกได้ ✴️ #วาระที่ 9 เกิดมาเป็นลูกกษัตริย์ มีนามว่าพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อพระบรมไตรโลกนาสวรรนคตก็ไปเป็นพรหมตามเดิมไม่ช้าไม่นานก็ต้องเสด็จลงมาเกิดอีก ✴️ #วาระที่10 เกิดสมัยพระนารายณ์ ท่านลงมาเกิดเป็น"ขุนเหล็ก" หรือพระยาโกษาเหล็ก เกิดควบคู่กับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช รุ่นราวคราวเดียวกัน เป็นเพื่อนเล่นกัน ขุนเหล็กมีน้องชายชื่อว่าขุนปาน หรือพระยาโกษาปาน ทั้งสองพระองค์ เป็นที่ไว้วางใจของสมเด็จพระนารายณ์มาก #บั้นปลายชีวิตลากิจราชการไปจำศีลเจริญภาวนาวิปัสสนาญาณ ให้ทาน ตายจากเจ้าพระยาโกษาเหล็ก ก็เข้าฌานกลับไปเป็นพรหมตามเดิม (#ท่านไม่ได้ตายตามประวัติศาสตร์เขียนไว้หรอกนะ) ✴️ #วาระที่11 ลงมาเกิดมาเป็นขุนดาบคู่ใจของพระเจ้าตากสินมหาราช คือพระยาศรีสิทธิสงคราม อยู่ในกองทัพหลวงประจำองค์พระเจ้าตากสินมหาราชสมัยกรุงธนบุรี ก่อนกรุงศรีจะแตก เป็นกำนันจัน ชื่อว่า #จันหนวดเขี้ยว เป็นที่รักของประชาชน ต่อมาค่ายบางระจันแตก ✴️ #นายจันหนวดเขี้ยวไม่ได้ตายไปตามประวัติศาสตร์ที่เขียน นายจันหนวดเขี้ยวจึงมารวมกำลังกับพระเจ้าตากสินกู้ชาติ ต่อมาพระเจ้าตากสินจึงเปลี่ยนชื่อให้จากกำนันจัน มาเป็นพระยาศรีสิทธิสงคราม ประจำกองทัพหลวง (ด้วง- นายจันหนวดเขี้ยว- พระยาศรีสิทธิสงคราม -เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก-และ #สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ✴️ #วาระที่12 มาเกิดเป็น รัชกาลที่ 5 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ ✴️ #วาระที่13 ชาติสุดท้ายเกิดมาเป็น หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง 🖋️📚หนังสือเรื่องจริงอิงนิทานพิเศษ ⚜️พระราชพรหมยานเถระ (หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง)​⚜️ 🖋️📚คัดลอกแบ่งปันเป็นธรรมทานโดย 🧘จิตหนึ่งประภัสสร สุดยอดคือพระนิพพาน
    0 Comments 0 Shares 215 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเห็นแก่เหยื่อจึงติดเบ็ด
    สัทธรรมลำดับที่ : 307
    ชื่อบทธรรม :- เห็นแก่เหยื่อจึงติดเบ็ด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=307
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เห็นแก่เหยื่อจึงติดเบ็ด
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนพรานเบ็ด ซัดเบ็ดที่เกี่ยวเหยื่อลงไปในห้วงน้ำลึก.
    ปลาที่เห็นแก่เหยื่อตัวใดตัวหนึ่ง จะพึงกลืนเบ็ดนั้นเข้าไป.
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการนี้แหละ ปลาที่กลืนเบ็ดตัวนั้น
    ถึงแล้วซึ่งความพินาศถึงแล้วซึ่งความฉิบหาย
    เพราะพรานเบ็ด แล้วแต่พรานเบ็ดนั้นใคร่จะทำตามอำเภอใจอย่างใด.
    --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น, เบ็ดหกตัวเหล่านี้ มีอยู่ในโลก
    เพื่อความฉิบหายของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อฆ่าสัตว์ทั้งหลาย.
    เบ็ดหกตัวนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เบ็ดหกตัวนั้น คือ
    ๑.รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี,
    ๒.เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี,
    ๓.กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี,
    ๔.รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี,
    ๕.โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และ
    ๖.ธรรมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี,
    มีอยู่ ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ.
    ถ้าภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ(อภินนฺท)​ เมาหมกอยู่ซึ่งอารมณ์ มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=อภินนฺท
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้ เราเรียกว่า #ผู้กลืนเบ็ดของมาร ถึงแล้วซึ่งความพินาศ
    ถึงแล้วซึ่งความฉิบหาย แล้วแต่มารผู้มีบาปใคร่จะทำประการใด แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/197/289.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๗/๒๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=307
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=307
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเห็นแก่เหยื่อจึงติดเบ็ด สัทธรรมลำดับที่ : 307 ชื่อบทธรรม :- เห็นแก่เหยื่อจึงติดเบ็ด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=307 เนื้อความทั้งหมด :- --เห็นแก่เหยื่อจึงติดเบ็ด --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนพรานเบ็ด ซัดเบ็ดที่เกี่ยวเหยื่อลงไปในห้วงน้ำลึก. ปลาที่เห็นแก่เหยื่อตัวใดตัวหนึ่ง จะพึงกลืนเบ็ดนั้นเข้าไป. --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการนี้แหละ ปลาที่กลืนเบ็ดตัวนั้น ถึงแล้วซึ่งความพินาศถึงแล้วซึ่งความฉิบหาย เพราะพรานเบ็ด แล้วแต่พรานเบ็ดนั้นใคร่จะทำตามอำเภอใจอย่างใด. --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น, เบ็ดหกตัวเหล่านี้ มีอยู่ในโลก เพื่อความฉิบหายของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อฆ่าสัตว์ทั้งหลาย. เบ็ดหกตัวนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เบ็ดหกตัวนั้น คือ ๑.รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี, ๒.เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี, ๓.กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี, ๔.รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, ๕.โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และ ๖.ธรรมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี, มีอยู่ ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ. ถ้าภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ(อภินนฺท)​ เมาหมกอยู่ซึ่งอารมณ์ มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ; http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=อภินนฺท --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้ เราเรียกว่า #ผู้กลืนเบ็ดของมาร ถึงแล้วซึ่งความพินาศ ถึงแล้วซึ่งความฉิบหาย แล้วแต่มารผู้มีบาปใคร่จะทำประการใด แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/197/289. http://etipitaka.com/read/thai/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๗/๒๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/197/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=307 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=307 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เห็นแก่เหยื่อจึงติดเบ็ด
    -เห็นแก่เหยื่อจึงติดเบ็ด ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนพรานเบ็ด ซัดเบ็ดที่เกี่ยวเหยื่อลงไปในห้วงน้ำลึก. ปลาที่เห็นแก่เหยื่อตัวใดตัวหนึ่ง จะพึงกลืนเบ็ดนั้นเข้าไป. ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการนี้แหละ ปลาที่กลืนเบ็ดตัวนั้น ถึงแล้วซึ่งความพินาศถึงแล้วซึ่งความฉิบหาย เพราะพรานเบ็ด แล้วแต่พรานเบ็ดนั้นใคร่จะทำตามอำเภอใจอย่างใด. ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น, เบ็ดหกตัวเหล่านี้ มีอยู่ในโลก เพื่อความ ฉิบหายของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อฆ่าสัตว์ทั้งหลาย. เบ็ดหกตัวนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เบ็ดหกตัวนั้น คือ รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี, เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี, กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี, รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะ ที่สัมผัสด้วยกายก็ดี, และธรรมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี, มีอยู่ ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ และเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ. ถ้าภิกษุเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ซึ่งอารมณ์ มีรูปเป็นต้นนั้นไซร้ ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้ เราเรียกว่า ผู้กลืนเบ็ดของมาร ถึงแล้วซึ่งความพินาศ ถึงแล้วซึ่งความฉิบหาย แล้วแต่มารผู้มีบาปใคร่จะทำประการใด แล.
    0 Comments 0 Shares 133 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 675
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง,
    องค์แปดคือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ,
    วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ,
    ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความรู้ ในทุกข์
    ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์
    ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความดำริในการออกจากกาม
    ความดำริในการ ไม่พยาบาท
    ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการ พูดเท็จ
    การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน
    การเว้นจากการ พูดหยาบ
    การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการฆ่าสัตว์
    การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ.
    [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป.
    แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา
    เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต.
    (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ]​
    --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น
    ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ.
    --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท.,
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.
    เพราะวิตกวิจารรำงับลง,
    เธอเข้าถึง ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่.
    เพราะปิติจางหายไป,
    เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า
    “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่.
    เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่
    อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 675 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 เนื้อความทั้งหมด :- --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ, วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ, ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการ พูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ; http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ]​ --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะวิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299. http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ๑ , นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อม ๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์ ก็มี ; เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). ประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุ ท. ! ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะ วิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 209 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 305
    ชื่อบทธรรม : - อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305
    เนื้อความทั้งหมด : -
    --อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้
    เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง.
    ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู
    และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น)
    ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน.
    ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู
    แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ;
    --ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด
    มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย,
    มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย,
    คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย,
    การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้
    เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้.
    --ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น
    ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก
    ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=มาตา+นว+วา+ทส+วา

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน,
    มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ;
    ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง.
    --ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า
    คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึง น้ำนมของมารดา.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/488/?keywords=โลหิเตน

    --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก
    เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง
    เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ(เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้)​
    เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้
    เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ.
    --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว
    เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่
    : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส,
    และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ,
    +--ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ
    และ #เป็นที่ตั้งแห่งความรัก.
    ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว
    ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก,
    ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ;
    ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล
    ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ
    อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย.
    กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว,
    เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม,
    เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ.
    เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น,
    +--#ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=นนฺทิ

    ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่,
    ความเพลินอันนั้น เป็นอุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ;
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ;
    เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส
    และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม.
    #ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=ทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา+สมฺภวนฺติ
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/342-343/452-453
    http://etipitaka.com/read/thai/12/342/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๔๘๙/๔๕๒-๔๕๓
    http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=305
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 305 ชื่อบทธรรม : - อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305 เนื้อความทั้งหมด : - --อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้ เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น) ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ; --ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย, มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย, คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้ เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้. --ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง. http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=มาตา+นว+วา+ทส+วา --ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน, มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ; ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง. --ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึง น้ำนมของมารดา. http://etipitaka.com/read/pali/12/488/?keywords=โลหิเตน --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ(เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้)​ เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้ เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ. --ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่ : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส, และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ, +--ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ และ #เป็นที่ตั้งแห่งความรัก. ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก, ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย. กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว, เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม, เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ. เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น, +--#ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่, ความเพลินอันนั้น เป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. #ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้นย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้ http://etipitaka.com/read/pali/12/489/?keywords=ทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา+สมฺภวนฺติ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/342-343/452-453 http://etipitaka.com/read/thai/12/342/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๔๘๙/๔๕๒-๔๕๓ http://etipitaka.com/read/pali/12/487/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=305 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=305 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ตามพระบาลีนี้ อาสวะทำหน้าที่อย่างเดียวกับตัณหา คือสร้างภพใหม่ หรือเป็นเหตุให้เกิดทุกข์)
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ตามพระบาลีนี้ อาสวะทำหน้าที่อย่างเดียวกับตัณหา คือสร้างภพใหม่ หรือเป็นเหตุให้เกิดทุกข์) อาการที่สัตว์เกิดตัณหาและเกิดทุกข์ ภิกษุ ท. ! การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมมีได้ เพราะการประชุมพร้อมของสิ่ง ๓ อย่าง. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน แต่มารดายังไม่ผ่านการมีระดู และคันธัพพะ (สัตว์ที่จะเข้าไปปฏิสนธิในครรภ์นั้น) ก็ยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ก็ยังมีขึ้นไม่ได้ก่อน. ในสัตว์โลกนี้ แม้มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกัน และมารดาก็ผ่านการมีระดู แต่คันธัพพะยังไม่เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะ, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ก็ยังมีขึ้นไม่ได้นั่นเอง ; ภิกษุ ท. ! แต่เมื่อใด มารดาและบิดาเป็นผู้อยู่ร่วมกันด้วย, มารดาก็ผ่านการมีระดูด้วย คันธัพพะก็เข้าไปตั้งอยู่โดยเฉพาะด้วย, การปฏิสนธิของสัตว์ในครรภ์ ย่อมสำเร็จได้ เพราะการประชุมพร้อมกัน ของสิ่ง ๓ อย่าง ด้วยอาการอย่างนี้. ภิกษุ ท. ! มารดา ย่อมบริหารสัตว์ที่เกิดในครรภ์นั้น ด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ตลอดเวลาเก้าเดือนบ้าง สิบเดือนบ้าง. ภิกษุ ท. ! เมื่อล่วงไปเก้าเดือนหรือสิบเดือน, มารดา ย่อมคลอดบุตรนั้นด้วยความเป็นห่วงอย่างใหญ่หลวง เป็นภาระหนัก ; ได้เลี้ยงซึ่งบุตรอันเกิดแล้วนั้น ด้วยโลหิตของตนเอง. ภิกษุ ท. ! ในวินัยของพระอริยเจ้า คำว่า “โลหิต” นี้ หมายถึงน้ำนมของมารดา. ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น เจริญวัยขึ้น มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้วเล่นของเล่นสำหรับเด็ก เช่น เล่นไถน้อย ๆ เล่นหม้อข้าวหม้อแกง เล่นของเล่นชื่อโมกขจิกะ๑ เล่นกังหันลมน้อย ๆ เล่นตวงของด้วยเครื่องตวงที่ทำด้วยใบไม้ เล่นรถน้อย ๆ เล่นธนูน้อย ๆ. ภิกษุ ท. ! ทารกนั้น ครั้นเจริญวัยขึ้นแล้ว มีอินทรีย์อันเจริญเต็มที่แล้ว เป็นผู้เอิบอิ่มเพียบพร้อมด้วยกามคุณห้า ให้เขาบำเรออยู่ : ทางตาด้วยรูป, ทางหูด้วยเสียง, ทางจมูกด้วยกลิ่น, ทางลิ้นด้วยรส, และทางกายด้วยโผฏฐัพพะ, ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ และเป็นที่ตั้งแห่งความรัก. ทารกนั้น ครั้นเห็นรูปด้วยจักษุ เป็นต้นแล้ว ย่อมกำหนัดยินดี ในรูป เป็นต้น ที่ยั่วยวนให้เกิดความรัก, ย่อมขัดใจในรูป เป็นต้น ที่ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ไม่เป็นผู้ตั้งไว้ซึ่งสติอันเป็น ๑. โมกขจิกะ เป็นของเล่นสำหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่ตอนบนหมุนได้. ไปในกาย มีใจเป็นอกุศล ไม่รู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันเป็นที่ดับไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย. กุมารน้อยนั้น เมื่อประกอบด้วย ความยินดีและความยินร้ายอยู่เช่นนี้แล้ว, เสวยเฉพาะซึ่งเวทนาใด ๆ เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม, เขาย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งเวทนานั้น ๆ. เมื่อเป็นอยู่เช่นนั้น, ความเพลิน (นันทิ) ย่อมบังเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในเวทนาทั้งหลาย มีอยู่, ความเพลินอันนั้นเป็นอุปาทาน. เพราะอุปาทานของเขานั้นเป็นปัจจัย จึงเกิดมีภพ ; เพราะภพเป็นปัจจัย จึงเกิดมีชาติ ; เพราะชาติเป็นปัจจัย, ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะ โทมนัส และอุปายาส จึงเกิดมีพร้อม. ความก่อขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 212 Views 0 Reviews
  • บาปทุกชนิดเป็นของไม่ดี ผู้ที่ถือศิลจะไม่ทำบาปใดๆ จะเล็กน้อยก็ตามเพราะบาปทำแล้วจะติดตัวไปตลอด
    บาปทุกชนิดเป็นของไม่ดี ผู้ที่ถือศิลจะไม่ทำบาปใดๆ จะเล็กน้อยก็ตามเพราะบาปทำแล้วจะติดตัวไปตลอด
    0 Comments 0 Shares 24 Views 0 Reviews
  • “ลิซ่า ภคมน” สส.พรรคประชาชน เป็นอีกหนึ่งนักการเมืองฝ่ายค้าน ที่ออกมาซัดแรงคนด่าพรรคประชาชนไม่ทำหน้าที่ฝ่ายค้าน

    ถามกลับไม่เคยสำนึกบาปกันเหรอที่ประเทศมาถึงจุดนี้ "เพราะใคร!!!"

    “ตอนขี้ก็ขี้เอง ตอนเหม็นเรียกร้องคนอื่นให้เก็บ ตลกค่ะ”
    “ลิซ่า ภคมน” สส.พรรคประชาชน เป็นอีกหนึ่งนักการเมืองฝ่ายค้าน ที่ออกมาซัดแรงคนด่าพรรคประชาชนไม่ทำหน้าที่ฝ่ายค้าน ถามกลับไม่เคยสำนึกบาปกันเหรอที่ประเทศมาถึงจุดนี้ "เพราะใคร!!!" “ตอนขี้ก็ขี้เอง ตอนเหม็นเรียกร้องคนอื่นให้เก็บ ตลกค่ะ”
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 180 Views 0 Reviews
  • "กลัวความคิดไม่ดี...คือการให้อาหารมันอยู่ทุกวัน"

    หลายคนกังวลใจ
    กลัวว่าตัวเอง คิดไม่ดีบ่อยเกินไป
    ควบคุมไม่ได้ หยุดไม่ได้
    กลัวว่าถ้าตายไปตอนที่ใจยังคิดไม่ดี...
    จะตกนรก!

    แต่ความจริงคือ...
    ❝ ความกลัว ❞
    คืออาหารชั้นดี
    ของความคิดฟุ้งซ่านและอกุศลทั้งหลาย

    คุณยิ่งกลัว…
    มันยิ่งเกาะแน่น
    เพราะคุณกำลัง "ต่อสู้"
    แต่การต่อสู้ในใจ ไม่เคยทำให้สงบ
    มันแค่เติมเชื้อเพลิงให้อารมณ์ร้ายแรงขึ้นเท่านั้น

    สิ่งสำคัญที่ต้องถามคือ...คุณ "เจตนา" หรือไม่?

    ไม่ได้เจตนาเข้าข้างความชั่ว
    แต่แค่ความคิดมันผุดขึ้นมาเอง
    โดยที่คุณไม่ได้รู้เห็นเป็นใจ
    นั่นไม่ใช่กรรมของคุณ!

    มันเป็นเพียง เงาแห่งความทรงจำ
    แค่เศษเสี้ยวของอดีตที่โผล่มาในรูปของความคิด
    ถ้าคุณไม่ร่วมวงด้วย ไม่คล้อยตามมัน
    มันก็แค่ “เสียงลม” ที่มา แล้วก็ไป...

    แล้วจะทำยังไง ให้จิตคิดดีมากขึ้น?

    หัดสวดมนต์ด้วยหัวใจถวาย ไม่ใช่เพื่อขอ
    โดยเฉพาะบท อิติปิโส
    เพราะเป็นบทที่สรรเสริญคุณพระศรีรัตนตรัย
    ไม่มีคำขอ ไม่มีเงื่อนไข
    มีแต่การแผ่ใจออกไปอย่างบริสุทธิ์

    และเมื่อจิตแผ่ออกด้วยศรัทธาบริสุทธิ์
    จิตจะ กลายเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้เอง
    ไม่ใช่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายนอก
    แต่เป็นความสว่างจากภายในที่ “แผ่ไล่ความมืด” ได้

    ❝ จิตไม่ใช่บุคคล แต่เป็นสิ่งปรุงแต่ง
    เมื่อจิตน้อมบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด
    จิตย่อมแปรเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นเสียเอง ❞

    หยุดกลัวความคิดไม่ดี
    แล้วเริ่มน้อมจิตให้สูง
    ไม่ต้องไล่มัน แค่เปลี่ยนใจเราทั้งดวง
    ให้กลายเป็น “ของดี” ที่อัปมงคลแทรกไม่ได้

    #คิดไม่ดีไม่ใช่บาปถ้าไม่เจตนา
    #ธรรมะแบบเข้าใจหัวใจคนเจอของจริง
    #อิติปิโส
    #สวดมนต์ให้จิตสว่าง
    #พลังพุทธคุณคือพลังพ้นทุกข์
    🌪️ "กลัวความคิดไม่ดี...คือการให้อาหารมันอยู่ทุกวัน" หลายคนกังวลใจ กลัวว่าตัวเอง คิดไม่ดีบ่อยเกินไป ควบคุมไม่ได้ หยุดไม่ได้ กลัวว่าถ้าตายไปตอนที่ใจยังคิดไม่ดี... จะตกนรก! แต่ความจริงคือ... ❝ ความกลัว ❞ คืออาหารชั้นดี ของความคิดฟุ้งซ่านและอกุศลทั้งหลาย คุณยิ่งกลัว… มันยิ่งเกาะแน่น เพราะคุณกำลัง "ต่อสู้" แต่การต่อสู้ในใจ ไม่เคยทำให้สงบ มันแค่เติมเชื้อเพลิงให้อารมณ์ร้ายแรงขึ้นเท่านั้น 🌱 สิ่งสำคัญที่ต้องถามคือ...คุณ "เจตนา" หรือไม่? ไม่ได้เจตนาเข้าข้างความชั่ว แต่แค่ความคิดมันผุดขึ้นมาเอง โดยที่คุณไม่ได้รู้เห็นเป็นใจ นั่นไม่ใช่กรรมของคุณ! มันเป็นเพียง เงาแห่งความทรงจำ แค่เศษเสี้ยวของอดีตที่โผล่มาในรูปของความคิด ถ้าคุณไม่ร่วมวงด้วย ไม่คล้อยตามมัน มันก็แค่ “เสียงลม” ที่มา แล้วก็ไป... 🕯️ แล้วจะทำยังไง ให้จิตคิดดีมากขึ้น? หัดสวดมนต์ด้วยหัวใจถวาย ไม่ใช่เพื่อขอ โดยเฉพาะบท อิติปิโส เพราะเป็นบทที่สรรเสริญคุณพระศรีรัตนตรัย ไม่มีคำขอ ไม่มีเงื่อนไข มีแต่การแผ่ใจออกไปอย่างบริสุทธิ์ และเมื่อจิตแผ่ออกด้วยศรัทธาบริสุทธิ์ จิตจะ กลายเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้เอง ไม่ใช่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายนอก แต่เป็นความสว่างจากภายในที่ “แผ่ไล่ความมืด” ได้ ✨ ❝ จิตไม่ใช่บุคคล แต่เป็นสิ่งปรุงแต่ง เมื่อจิตน้อมบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด จิตย่อมแปรเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นเสียเอง ❞ หยุดกลัวความคิดไม่ดี แล้วเริ่มน้อมจิตให้สูง ไม่ต้องไล่มัน แค่เปลี่ยนใจเราทั้งดวง ให้กลายเป็น “ของดี” ที่อัปมงคลแทรกไม่ได้ #คิดไม่ดีไม่ใช่บาปถ้าไม่เจตนา #ธรรมะแบบเข้าใจหัวใจคนเจอของจริง #อิติปิโส #สวดมนต์ให้จิตสว่าง #พลังพุทธคุณคือพลังพ้นทุกข์
    0 Comments 0 Shares 193 Views 0 Reviews
  • อย่าทำบาปกับพ่อแม่ แล้วหวังให้ชีวิตเป็นบุญ

    หลายคนเผลอคิดว่า
    ‘แค่ไม่ทำร้ายใครก็ไม่เป็นไร’
    แต่กลับลืมไปว่า
    จงใจทำให้คนที่รักเรามากที่สุดเสียใจ
    คือ อกุศลจิตระดับลึก
    ที่เปิดทางให้ชีวิตชักนำอัปมงคลทั้งหลายเข้ามาไม่หยุด

    รู้ว่าท่านเป็นห่วง
    ก็ยิ่งทำให้เขาห่วงให้สะใจ
    พาเพื่อนแย่ๆ มาให้ดู
    กินเหล้าเมาก่อนขับรถให้ท่านเห็น
    พอท่านเตือน ก็แทงใจดำกลับ
    อ้างว่า “ไม่อยากเกิดมาในบ้านโกโรโกโส”
    นี่แหละ…จิตที่เห็นผิดเป็นชอบ
    และดึงดูดเวรกรรมให้ตามติดไปทุกทาง

    เพราะพ่อแม่คือ รากของชีวิต
    ถ้าแกล้งทำร้ายราก
    อย่าหวังว่าลำต้นจะมั่นคง
    ผลไม้แห่งชีวิตจะหวานชื่นได้เลย

    ในทางตรงข้าม
    ถ้าจงใจทำให้ท่านเป็นสุขด้วยสติ
    แม้จะไม่ตามใจในทางผิด
    แต่หาทางที่ละมุนละม่อม
    พยายามพูดดีๆ ให้เลิกของมึนเมา
    เลือกทางที่ไม่เบียดเบียนตัวเอง
    แม้โดนด่า โดนเหน็บ ก็ให้ระลึกไว้เสมอว่า...

    "เจตนากุศลของเราคือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สุด"
    เพราะนี่คือการทำดีโดยไม่ปรุงหวังให้ใครพอใจ
    แต่ปรารถนาให้ท่านพ้นทุกข์จริงๆ

    หากจะขัดใจพ่อแม่เพื่อเลือกทางธรรม
    เพื่อคนรักที่ดี
    เพื่ออนาคตที่ไม่ผิดศีลธรรม
    แล้วท่านไม่พอใจ
    จงแยกให้ออกว่า
    เราผิดเพราะขัดใจท่านในทางผิด
    หรือ
    ท่านผิดเพราะอยากให้เราตามใจในทางผิด

    ดูให้ดีๆ ว่า
    วาจาเราเคยแทงใจดำท่านด้วยอารมณ์หรือไม่?
    ถ้าไม่…
    แต่ท่านยังทุกข์เพราะเราไม่ตามใจ
    ให้รู้ว่าเป็น กรรมของท่านที่ยึด
    ไม่ใช่กรรมของเราที่ชั่ว

    พระพุทธเจ้าตรัสว่า
    การตอบแทนคุณพ่อแม่ คือบุญสูงสุด
    ไม่ใช่ตามใจไปในทางเสื่อม
    แต่คือการช่วยท่าน พลิกจากมิจฉาทิฏฐิเป็นสัมมาทิฏฐิ
    ให้ท่านตื่นจากโมหะ แล้วเห็นว่าชีวิตมีทางดีให้เลือกได้

    จงจำไว้ว่า…
    ใครที่ทำพ่อแม่ทุกข์ด้วยความสะใจ
    ชีวิตเขาจะมีแต่เรื่องมืดๆ ดึงให้เขว ให้หลง
    แต่ใครที่ทำพ่อแม่สุขด้วยสติ
    แม้เดินทางลำบาก ก็จะไม่หลงผิด
    แม้พลาด ก็มีแรงกลับขึ้นเสมอ

    #ธรรมะครอบครัว
    #กตัญญูคือรากแห่งบุญ
    #ทำบุญกับพ่อแม่ให้ถูกทาง
    #ไม่ใช่แค่ตามใจ แต่คือดึงขึ้นจากความหลง
    🌿 อย่าทำบาปกับพ่อแม่ แล้วหวังให้ชีวิตเป็นบุญ หลายคนเผลอคิดว่า ‘แค่ไม่ทำร้ายใครก็ไม่เป็นไร’ แต่กลับลืมไปว่า จงใจทำให้คนที่รักเรามากที่สุดเสียใจ คือ อกุศลจิตระดับลึก ที่เปิดทางให้ชีวิตชักนำอัปมงคลทั้งหลายเข้ามาไม่หยุด 🔻 รู้ว่าท่านเป็นห่วง ก็ยิ่งทำให้เขาห่วงให้สะใจ พาเพื่อนแย่ๆ มาให้ดู กินเหล้าเมาก่อนขับรถให้ท่านเห็น พอท่านเตือน ก็แทงใจดำกลับ อ้างว่า “ไม่อยากเกิดมาในบ้านโกโรโกโส” นี่แหละ…จิตที่เห็นผิดเป็นชอบ และดึงดูดเวรกรรมให้ตามติดไปทุกทาง 👣 เพราะพ่อแม่คือ รากของชีวิต ถ้าแกล้งทำร้ายราก อย่าหวังว่าลำต้นจะมั่นคง ผลไม้แห่งชีวิตจะหวานชื่นได้เลย ✨ ในทางตรงข้าม ถ้าจงใจทำให้ท่านเป็นสุขด้วยสติ แม้จะไม่ตามใจในทางผิด แต่หาทางที่ละมุนละม่อม พยายามพูดดีๆ ให้เลิกของมึนเมา เลือกทางที่ไม่เบียดเบียนตัวเอง แม้โดนด่า โดนเหน็บ ก็ให้ระลึกไว้เสมอว่า... "เจตนากุศลของเราคือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สุด" เพราะนี่คือการทำดีโดยไม่ปรุงหวังให้ใครพอใจ แต่ปรารถนาให้ท่านพ้นทุกข์จริงๆ 🧘‍♂️ หากจะขัดใจพ่อแม่เพื่อเลือกทางธรรม เพื่อคนรักที่ดี เพื่ออนาคตที่ไม่ผิดศีลธรรม แล้วท่านไม่พอใจ จงแยกให้ออกว่า เราผิดเพราะขัดใจท่านในทางผิด หรือ ท่านผิดเพราะอยากให้เราตามใจในทางผิด 🔍 ดูให้ดีๆ ว่า วาจาเราเคยแทงใจดำท่านด้วยอารมณ์หรือไม่? ถ้าไม่… แต่ท่านยังทุกข์เพราะเราไม่ตามใจ ให้รู้ว่าเป็น กรรมของท่านที่ยึด ไม่ใช่กรรมของเราที่ชั่ว 🙏 พระพุทธเจ้าตรัสว่า การตอบแทนคุณพ่อแม่ คือบุญสูงสุด ไม่ใช่ตามใจไปในทางเสื่อม แต่คือการช่วยท่าน พลิกจากมิจฉาทิฏฐิเป็นสัมมาทิฏฐิ ให้ท่านตื่นจากโมหะ แล้วเห็นว่าชีวิตมีทางดีให้เลือกได้ 🕯️ จงจำไว้ว่า… ใครที่ทำพ่อแม่ทุกข์ด้วยความสะใจ ชีวิตเขาจะมีแต่เรื่องมืดๆ ดึงให้เขว ให้หลง แต่ใครที่ทำพ่อแม่สุขด้วยสติ แม้เดินทางลำบาก ก็จะไม่หลงผิด แม้พลาด ก็มีแรงกลับขึ้นเสมอ #ธรรมะครอบครัว #กตัญญูคือรากแห่งบุญ #ทำบุญกับพ่อแม่ให้ถูกทาง #ไม่ใช่แค่ตามใจ แต่คือดึงขึ้นจากความหลง
    0 Comments 0 Shares 222 Views 0 Reviews
  • แค่เห็นหน้าก็รัก...แต่รู้ว่ารักไม่ได้

    หลายคนไม่สบายใจกับการ “แอบรักใครบางคน”
    ทั้งที่ตัวเองไม่ได้พูด ไม่ได้ทำอะไรให้เขาเดือดร้อน
    แค่ใจมันรู้สึก…ก็รู้สึกผิดแล้ว
    กลัวว่า “รักแบบนี้” จะเป็นบาป
    กลัวว่า “คิดแบบนี้” จะทำลายศีล
    กลัวว่า “รู้สึกแบบนี้” จะทำให้เป็นคนไม่ดี

    แต่ในทางธรรม…
    พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนให้ปฏิเสธความรู้สึก
    ท่านสอนให้ รู้เท่าทันมัน

    ราคะไม่ได้ผิดโดยตัวมันเอง
    ความรู้สึกอยากได้ อยากครอบครอง อยากใกล้ชิด
    เป็นเพียงกระแสธรรมชาติของใจมนุษย์
    เราไม่ต้องไปเกลียดมัน ไม่ต้องไปรีบตัดทิ้ง
    แค่ให้ “รู้ว่าเกิด” “รู้ว่ามี” “รู้ว่าเป็นไป”

    เหมือนลมผ่าน
    ไม่ต้องจับ ไม่ต้องผลัก
    ไม่ต้องเอา ไม่ต้องต้าน
    รู้เฉยๆ ว่ามันพัดผ่าน

    เมื่อ “ราคะเกิดขึ้น” ก็แค่รู้ว่าราคะเกิด
    เมื่อ “ราคะหายไป” ก็รู้ว่าราคะหาย
    เมื่อเห็นบ่อยๆ ว่ามันมาแล้วก็ไป
    ใจจะเริ่มเบาลง
    ไม่ใช่เพราะเรา บังคับตัวเองให้ตัดใจได้
    แต่เพราะเรา ไม่ยึด กับมันอีกต่อไป

    เจริญสติในจิตตานุปัสสนา
    คือการเฝ้าดู “ความรู้สึก” ที่เกิดในใจ
    อย่างไม่ตัดสิน ไม่สรุปว่าเลวหรือดี
    ไม่ต้องรู้สึกผิดที่รักใคร
    ไม่ต้องรู้สึกดีที่รักใคร
    ให้รู้ทัน...แล้ววางลง

    แต่ถ้าใจเรายังอยากตัดใจ
    ยังอยากเลิกรู้สึก
    ยังคิดว่า “รักเขาไม่ได้ ต้องเลิกรักให้ได้”
    นั่นแหละ...คือการยึดรูปแบบใหม่
    ยึดในฐานะของ “คนผิด”
    ยึดในฐานะของ “ความรู้สึกไม่เหมาะสม”
    เป็นการลงโทษตัวเองซ้ำๆ
    แทนที่จะ “รู้แล้ววาง”

    แต่ถ้าใจเราเป็นกลางได้เมื่อไหร่
    ใจจะคลายได้เอง
    ไม่จำเป็นต้องตัด
    ไม่จำเป็นต้องบังคับ
    แค่รู้ว่าราคะมา ก็รู้
    ราคะหาย ก็รู้
    ในที่สุดใจจะ ไม่แคร์ว่ามันจะมาอีกไหม

    นี่คือการฝึกปล่อยวางอย่างแท้จริง
    ไม่ต้องฝืน ไม่ต้องอาลัย
    ไม่ต้องรู้สึกผิดกับสิ่งที่ใจรู้สึก

    เพราะเมื่อสติสว่าง
    ใจจะเห็นเองว่า
    ความรักแบบนี้...ก็แค่ผ่านมา และจะผ่านไป
    เหมือนทุกสิ่งในโลกนี้

    #รักได้แต่ไม่ต้องทุกข์
    #ธรรมะเยียวยาหัวใจ
    #เจริญสติอย่างไม่ตัดสิน
    #ความรักกับการปล่อยวาง
    #เห็นราคะเป็นธรรมดา
    #DhammaHealing
    🌱 แค่เห็นหน้าก็รัก...แต่รู้ว่ารักไม่ได้ หลายคนไม่สบายใจกับการ “แอบรักใครบางคน” ทั้งที่ตัวเองไม่ได้พูด ไม่ได้ทำอะไรให้เขาเดือดร้อน แค่ใจมันรู้สึก…ก็รู้สึกผิดแล้ว กลัวว่า “รักแบบนี้” จะเป็นบาป กลัวว่า “คิดแบบนี้” จะทำลายศีล กลัวว่า “รู้สึกแบบนี้” จะทำให้เป็นคนไม่ดี แต่ในทางธรรม… พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนให้ปฏิเสธความรู้สึก ท่านสอนให้ รู้เท่าทันมัน 💔 ราคะไม่ได้ผิดโดยตัวมันเอง ความรู้สึกอยากได้ อยากครอบครอง อยากใกล้ชิด เป็นเพียงกระแสธรรมชาติของใจมนุษย์ เราไม่ต้องไปเกลียดมัน ไม่ต้องไปรีบตัดทิ้ง แค่ให้ “รู้ว่าเกิด” “รู้ว่ามี” “รู้ว่าเป็นไป” 🌬️ เหมือนลมผ่าน ไม่ต้องจับ ไม่ต้องผลัก ไม่ต้องเอา ไม่ต้องต้าน รู้เฉยๆ ว่ามันพัดผ่าน เมื่อ “ราคะเกิดขึ้น” ก็แค่รู้ว่าราคะเกิด เมื่อ “ราคะหายไป” ก็รู้ว่าราคะหาย เมื่อเห็นบ่อยๆ ว่ามันมาแล้วก็ไป ใจจะเริ่มเบาลง ไม่ใช่เพราะเรา บังคับตัวเองให้ตัดใจได้ แต่เพราะเรา ไม่ยึด กับมันอีกต่อไป ☸️ เจริญสติในจิตตานุปัสสนา คือการเฝ้าดู “ความรู้สึก” ที่เกิดในใจ อย่างไม่ตัดสิน ไม่สรุปว่าเลวหรือดี ไม่ต้องรู้สึกผิดที่รักใคร ไม่ต้องรู้สึกดีที่รักใคร ให้รู้ทัน...แล้ววางลง 🔥 แต่ถ้าใจเรายังอยากตัดใจ ยังอยากเลิกรู้สึก ยังคิดว่า “รักเขาไม่ได้ ต้องเลิกรักให้ได้” นั่นแหละ...คือการยึดรูปแบบใหม่ ยึดในฐานะของ “คนผิด” ยึดในฐานะของ “ความรู้สึกไม่เหมาะสม” เป็นการลงโทษตัวเองซ้ำๆ แทนที่จะ “รู้แล้ววาง” 🍃 แต่ถ้าใจเราเป็นกลางได้เมื่อไหร่ ใจจะคลายได้เอง ไม่จำเป็นต้องตัด ไม่จำเป็นต้องบังคับ แค่รู้ว่าราคะมา ก็รู้ ราคะหาย ก็รู้ ในที่สุดใจจะ ไม่แคร์ว่ามันจะมาอีกไหม 💡 นี่คือการฝึกปล่อยวางอย่างแท้จริง ไม่ต้องฝืน ไม่ต้องอาลัย ไม่ต้องรู้สึกผิดกับสิ่งที่ใจรู้สึก เพราะเมื่อสติสว่าง ใจจะเห็นเองว่า ความรักแบบนี้...ก็แค่ผ่านมา และจะผ่านไป เหมือนทุกสิ่งในโลกนี้ #รักได้แต่ไม่ต้องทุกข์ #ธรรมะเยียวยาหัวใจ #เจริญสติอย่างไม่ตัดสิน #ความรักกับการปล่อยวาง #เห็นราคะเป็นธรรมดา #DhammaHealing
    0 Comments 0 Shares 239 Views 0 Reviews
  • การล้างแค้นที่ดีที่สุด…คือการทำให้ความเกลียดจางหายจากใจ

    • เป็นไปไม่ได้
    ที่จะให้อภัยศัตรู
    ขณะใจยังถือ “ความเกลียด” ไว้เป็นมิตร

    แต่เป็นไปได้
    ที่จะให้อภัยมิตร
    ขณะใจถือ “ความเกลียด” ไว้เป็นศัตรู
    เพียงแต่ต้องรู้เท่าทัน ว่าความเกลียดนั้น…ไม่ใช่เรา

    ที่สุดของการล้างแค้น
    ไม่ใช่ทำให้เขาตาย
    แต่คือ การชนะ “ตัวตนที่มืด” ในใจตนเอง
    ทั้งก่อนและหลังการจองเวร
    สิ่งที่ตกค้างอยู่ในใจเรามากที่สุด…คือ “ความเกลียด”

    และเมื่อความเกลียดตั้งอยู่ในใจ
    ไม่ว่าศัตรูภายนอกจะหายไปกี่คน
    “ศัตรูภายใน” จะยังคอยตามรังควานคุณไม่เลิก

    ความแค้น เป็นเหมือนหนี้อารมณ์ที่สะสมดอกเบี้ยทุกคืนวัน
    ไถ่คืนด้วยการโกรธบ้าง สาปแช่งบ้าง ด่าลับหลังบ้าง
    สุดท้าย…มันไถ่ไม่หมดหรอก
    เพราะยิ่งจ่าย ยิ่งติดลึกเข้าไปอีก

    ทางออกคือ — “ให้อภัย”
    เพราะการให้อภัย
    ไม่ต้องเสียอะไรเพิ่มเลย
    แต่การจองเวร ต้องเสียใจ เสียเวลา เสียความสงบ
    เสียทุกอย่างที่มี…แบบไม่คุ้ม

    พระพุทธเจ้าสอนว่า
    กรรมทำหน้าที่ของมันเองอยู่แล้ว
    คนทำชั่วย่อมเดินไปตามเส้นทางของเขาเอง
    ไม่มีใครหนีพ้นผลกรรม

    แต่ถ้าเรา…ผูกใจเจ็บ
    เราก็เท่ากับกระโจนไปร่วมรับบาปกับเขาด้วยโดยไม่รู้ตัว

    การผูกใจเจ็บ ไม่ใช่เรื่องในใจคนเดียว
    แต่มันเป็นการสร้าง สายใยเวรกรรมระหว่างดวงจิตสองดวง
    แม้ไม่รู้จักกัน ไม่เคยเห็นหน้า
    เมื่อผูกแล้ว…มันจะหาทางกลับมาเสมอ
    ในรูปของการกลับมาทวงหนี้กรรมระหว่างกัน
    วนไปไม่รู้จบ

    ถ้าคุณมองว่า
    คนที่ทำให้คุณเจ็บช้ำน้ำใจในวันนี้
    คือเจ้าหนี้กรรม…ที่กำลังมาทวง
    คุณจะยอมจ่ายอย่างเต็มใจ
    และจะรู้สึกเบาหัวอกขึ้นทันที
    เพราะ "หนี้กรรม" กำลังถูกชำระเรียบร้อย

    อาจจะต้องผ่อนหลายงวด
    หรืออาจรวบยอดจบในครั้งเดียว
    แต่เมื่อคุณไม่จองเวร…หนี้นี้ก็จะไม่ย้อนกลับมาอีก

    สรุปคือ
    เมื่อถูกทำให้แค้น…แล้ว “ไม่คิดแก้แค้น”
    นั่นแหละ…คือ การใช้หนี้อย่างแท้จริง

    #ธรรมะล้างแค้น
    #พุทธะในวันที่โกรธ
    #อโหสิกรรม
    #ชนะศัตรูในใจ
    #กรรมทำหน้าที่ของมันเอง
    #สายใยเวรกรรม
    #ธรรมะเชิงบำบัด
    🖤 การล้างแค้นที่ดีที่สุด…คือการทำให้ความเกลียดจางหายจากใจ • เป็นไปไม่ได้ ที่จะให้อภัยศัตรู ขณะใจยังถือ “ความเกลียด” ไว้เป็นมิตร แต่เป็นไปได้ ที่จะให้อภัยมิตร ขณะใจถือ “ความเกลียด” ไว้เป็นศัตรู เพียงแต่ต้องรู้เท่าทัน ว่าความเกลียดนั้น…ไม่ใช่เรา 🔥 ที่สุดของการล้างแค้น ไม่ใช่ทำให้เขาตาย แต่คือ การชนะ “ตัวตนที่มืด” ในใจตนเอง ทั้งก่อนและหลังการจองเวร สิ่งที่ตกค้างอยู่ในใจเรามากที่สุด…คือ “ความเกลียด” และเมื่อความเกลียดตั้งอยู่ในใจ ไม่ว่าศัตรูภายนอกจะหายไปกี่คน “ศัตรูภายใน” จะยังคอยตามรังควานคุณไม่เลิก 😡 ความแค้น เป็นเหมือนหนี้อารมณ์ที่สะสมดอกเบี้ยทุกคืนวัน ไถ่คืนด้วยการโกรธบ้าง สาปแช่งบ้าง ด่าลับหลังบ้าง สุดท้าย…มันไถ่ไม่หมดหรอก เพราะยิ่งจ่าย ยิ่งติดลึกเข้าไปอีก ✨ ทางออกคือ — “ให้อภัย” เพราะการให้อภัย ไม่ต้องเสียอะไรเพิ่มเลย แต่การจองเวร ต้องเสียใจ เสียเวลา เสียความสงบ เสียทุกอย่างที่มี…แบบไม่คุ้ม 📿 พระพุทธเจ้าสอนว่า กรรมทำหน้าที่ของมันเองอยู่แล้ว คนทำชั่วย่อมเดินไปตามเส้นทางของเขาเอง ไม่มีใครหนีพ้นผลกรรม แต่ถ้าเรา…ผูกใจเจ็บ เราก็เท่ากับกระโจนไปร่วมรับบาปกับเขาด้วยโดยไม่รู้ตัว 🔗 การผูกใจเจ็บ ไม่ใช่เรื่องในใจคนเดียว แต่มันเป็นการสร้าง สายใยเวรกรรมระหว่างดวงจิตสองดวง แม้ไม่รู้จักกัน ไม่เคยเห็นหน้า เมื่อผูกแล้ว…มันจะหาทางกลับมาเสมอ ในรูปของการกลับมาทวงหนี้กรรมระหว่างกัน วนไปไม่รู้จบ 💡 ถ้าคุณมองว่า คนที่ทำให้คุณเจ็บช้ำน้ำใจในวันนี้ คือเจ้าหนี้กรรม…ที่กำลังมาทวง คุณจะยอมจ่ายอย่างเต็มใจ และจะรู้สึกเบาหัวอกขึ้นทันที เพราะ "หนี้กรรม" กำลังถูกชำระเรียบร้อย อาจจะต้องผ่อนหลายงวด หรืออาจรวบยอดจบในครั้งเดียว แต่เมื่อคุณไม่จองเวร…หนี้นี้ก็จะไม่ย้อนกลับมาอีก ✅ สรุปคือ เมื่อถูกทำให้แค้น…แล้ว “ไม่คิดแก้แค้น” นั่นแหละ…คือ การใช้หนี้อย่างแท้จริง #ธรรมะล้างแค้น #พุทธะในวันที่โกรธ #อโหสิกรรม #ชนะศัตรูในใจ #กรรมทำหน้าที่ของมันเอง #สายใยเวรกรรม #ธรรมะเชิงบำบัด
    0 Comments 0 Shares 272 Views 0 Reviews
  • คนพาล…อันตรายที่สุด ไม่ใช่ตอนเป็นศัตรู แต่ตอนเป็นเพื่อน

    เพื่อน คือคนที่คุณเปิดใจฟัง
    ศัตรู คือคนที่คุณปิดใจไม่รับฟัง

    ลองตัดคำว่า "เพื่อน" ทิ้งดูสิ
    ถ้าใจคุณยังเปิดอ้า รับฟังเหตุผลดีๆ อยู่
    แม้จะเป็นคนที่พูดเรื่องน่าเกลียด น่าชัง
    คุณยังอาจพอแยกแยะได้
    ว่าสิ่งใดน่าเชื่อ สิ่งใดเบียดเบียน

    แต่ถ้าคุณเชื่อหมดใจ
    เพียงเพราะ “เขาเป็นเพื่อน”
    เพราะ “เขาอยู่ฝ่ายเดียวกับเรา”
    คุณอาจถูกครอบงำอย่างแนบเนียน
    ให้เกลียด ให้เบียดเบียน
    แม้แต่ไม่รู้ตัวว่านั่นคือบาปกรรม

    กลุ่มผู้ก่อการร้ายบางกลุ่ม
    ไม่ได้เริ่มจากศัตรู
    แต่เริ่มจาก “เพื่อน” ที่พูดจาน่ารัก
    พูดน่าสงสาร พูดให้คล้อยตาม
    จนคนดีๆ ยอมตายเพื่อความเกลียดชัง

    ในทางกลับกัน
    ลองตัดคำว่า "ศัตรู" ทิ้งดูบ้าง
    หากใจคุณเปิดกว้าง รับฟังด้วยเมตตา
    อาจพบว่า…ในคำพูดของเขา
    มีเมล็ดพันธุ์ของความดีงาม
    ที่คุณเองก็ศรัทธาได้

    บางทีคนดี อาจไม่ได้อยู่ข้างเดียวกับคุณ
    และคนที่อยู่ข้างเดียวกับคุณ…ก็อาจไม่ใช่คนดี

    ทางออกไม่ใช่การเลือกฝ่าย
    แต่คือการ เลือกใช้สติ และความไม่เบียดเบียนเป็นหลัก

    หากคุณตัด “อคติ” ออกไป

    จะได้ข้อคิดดีๆ จากคนที่เคยไม่ชอบ

    จะลดอัตตาได้ จากการถกเถียงกับคนดี

    จะได้จุดยืนที่มั่นคงขึ้น จากบทสนทนากับคนร้าย
    โดยไม่ต้องหลงผิดไปตามเขาเลย

    เพราะจิตเดิมแท้ของมนุษย์พร้อมจะยกระดับอยู่แล้ว
    เหมือนอย่างชาวพุทธที่เข้าถึงเมตตา
    ด้วยคำสอนของ “กัลยาณมิตร” อย่างพระพุทธเจ้า

    เพราะฉะนั้น...
    อย่าประมาทกับคำพูดของเพื่อน
    และ
    อย่าปิดใจเพียงเพราะอีกฝ่ายคือศัตรู

    #ธรรมะร่วมสมัย
    #ธรรมะเชิงจิตวิญญาณ
    #สตินำทาง
    #คนพาลที่คบเป็นเพื่อน
    #เมตตาไม่ใช่ความอ่อนแอ
    #ธรรมะเชิงเตือนสติ
    #ตื่นรู้ไม่หลงผิด
    🕊️ คนพาล…อันตรายที่สุด ไม่ใช่ตอนเป็นศัตรู แต่ตอนเป็นเพื่อน เพื่อน คือคนที่คุณเปิดใจฟัง ศัตรู คือคนที่คุณปิดใจไม่รับฟัง ลองตัดคำว่า "เพื่อน" ทิ้งดูสิ ถ้าใจคุณยังเปิดอ้า รับฟังเหตุผลดีๆ อยู่ แม้จะเป็นคนที่พูดเรื่องน่าเกลียด น่าชัง คุณยังอาจพอแยกแยะได้ ว่าสิ่งใดน่าเชื่อ สิ่งใดเบียดเบียน แต่ถ้าคุณเชื่อหมดใจ เพียงเพราะ “เขาเป็นเพื่อน” เพราะ “เขาอยู่ฝ่ายเดียวกับเรา” คุณอาจถูกครอบงำอย่างแนบเนียน ให้เกลียด ให้เบียดเบียน แม้แต่ไม่รู้ตัวว่านั่นคือบาปกรรม 👿 กลุ่มผู้ก่อการร้ายบางกลุ่ม ไม่ได้เริ่มจากศัตรู แต่เริ่มจาก “เพื่อน” ที่พูดจาน่ารัก พูดน่าสงสาร พูดให้คล้อยตาม จนคนดีๆ ยอมตายเพื่อความเกลียดชัง ในทางกลับกัน ลองตัดคำว่า "ศัตรู" ทิ้งดูบ้าง หากใจคุณเปิดกว้าง รับฟังด้วยเมตตา อาจพบว่า…ในคำพูดของเขา มีเมล็ดพันธุ์ของความดีงาม ที่คุณเองก็ศรัทธาได้ 💡 บางทีคนดี อาจไม่ได้อยู่ข้างเดียวกับคุณ และคนที่อยู่ข้างเดียวกับคุณ…ก็อาจไม่ใช่คนดี ทางออกไม่ใช่การเลือกฝ่าย แต่คือการ เลือกใช้สติ และความไม่เบียดเบียนเป็นหลัก 🧘 หากคุณตัด “อคติ” ออกไป จะได้ข้อคิดดีๆ จากคนที่เคยไม่ชอบ จะลดอัตตาได้ จากการถกเถียงกับคนดี จะได้จุดยืนที่มั่นคงขึ้น จากบทสนทนากับคนร้าย โดยไม่ต้องหลงผิดไปตามเขาเลย 🌱 เพราะจิตเดิมแท้ของมนุษย์พร้อมจะยกระดับอยู่แล้ว เหมือนอย่างชาวพุทธที่เข้าถึงเมตตา ด้วยคำสอนของ “กัลยาณมิตร” อย่างพระพุทธเจ้า เพราะฉะนั้น... อย่าประมาทกับคำพูดของเพื่อน และ อย่าปิดใจเพียงเพราะอีกฝ่ายคือศัตรู #ธรรมะร่วมสมัย #ธรรมะเชิงจิตวิญญาณ #สตินำทาง #คนพาลที่คบเป็นเพื่อน #เมตตาไม่ใช่ความอ่อนแอ #ธรรมะเชิงเตือนสติ #ตื่นรู้ไม่หลงผิด
    0 Comments 0 Shares 247 Views 0 Reviews
  • กิเลสพาแย่
    แท้จริงปองร้าย
    เป็นโจรจัญไร
    ไร้คุณศีลธรรม

    เล่ห์กลกิเลส
    ก่อเหตุบาปกรรม
    วิธีระยำ
    ทำได้ทุกอย่าง

    ความโลภโกรธหลง
    วงจรหนทาง
    กรรมชั่วไม่ห่าง
    สร้างทุกข์เวียนว่าย

    เกิดพยาบาท
    อาฆาตมาดร้าย
    สาปแช่งติดใจ
    เวียนไปเวียนมา

    หนึ่งธรรมความจริง
    นิ่งให้ปัญญา
    แก่นใจดวงตา
    พาชำระมาร

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    กิเลสพาแย่ แท้จริงปองร้าย เป็นโจรจัญไร ไร้คุณศีลธรรม เล่ห์กลกิเลส ก่อเหตุบาปกรรม วิธีระยำ ทำได้ทุกอย่าง ความโลภโกรธหลง วงจรหนทาง กรรมชั่วไม่ห่าง สร้างทุกข์เวียนว่าย เกิดพยาบาท อาฆาตมาดร้าย สาปแช่งติดใจ เวียนไปเวียนมา หนึ่งธรรมความจริง นิ่งให้ปัญญา แก่นใจดวงตา พาชำระมาร ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 136 Views 0 Reviews
  • ชีวิตคนเราสะสมอะไรทุกวัน?

    พระพุทธเจ้าสอนให้ "อย่าประมาทในบุญและบาป"

    อย่าคิดว่าแค่บุญเล็กๆ จะไม่มีผล
    อย่ามองว่าแค่บาปนิดเดียว จะไม่สะเทือนใจ

    ท่านไม่ได้ให้เรานับจำนวน
    แต่ให้เรามอง “เส้นทาง” ว่า
    ชีวิตแต่ละวัน…กำลังเดินไปทางไหน?
    ทางที่สั่งสม “ความสบายใจ”
    หรือทางที่สั่งสม “ความกระวนกระวาย”?

    ตรวจใจง่ายๆ ไม่ต้องถามใครเลย

    ทุกวันนี้…ใจเราสบาย หรืออึดอัด?

    เมื่อเจอเรื่องลำบาก…ยังมีปีติเล็กๆ ซ่อนอยู่ไหม?

    เมื่อทุกอย่างดูราบรื่น…ทำไมยังรู้สึกแน่นๆในอก?

    เพราะจริงๆ แล้ว…

    ชีวิตลำบากเท่ากัน
    ใครสั่งสมบุญมากกว่า…ก็ทุกข์น้อยกว่า

    ชีวิตสบายเท่ากัน
    ใครสั่งสมบาปมากกว่า…ก็ทุกข์มากกว่า

    บุญที่แท้ เริ่มจากจิตที่ดี
    ไม่ใช่แค่ "ทำดี" แบบกลัวผิด
    แต่ทำด้วย “ใจเต็มใจ” ที่เมตตา

    ใจที่ให้อภัยแทนการโต้กลับ

    ใจที่รักษาศีลแม้ถูกยั่วยุ

    ใจที่คิดให้ มากกว่าคิดเอา

    เหมือนเราหยอด "สุขละเอียด" ลงกระปุก
    ทีละหยด ทีละหยด
    จนวันหนึ่ง…สุขนั้นไหลล้น
    แม้โลกจะลำบากแค่ไหน ใจก็ไม่ทุกข์ไปด้วย

    แต่ในทางกลับกัน…

    สั่งสมบาปโดยไม่รู้ตัว

    ยอมตามใจตัวแบบไม่ยั้งคิด

    ได้ความสะใจชั่วครู่ แต่ใจคับแคบขึ้นทุกวัน

    หยอดความพลุ่งพล่าน ใส่กระปุกแห่งกรรม

    สุดท้าย…แม้ทุกอย่างรอบตัวจะดูดี
    แต่ใจกลับแน่น อึดอัด ไม่มีความสุขจริง

    เราอาจควบคุมโลกภายนอกไม่ได้
    แต่เราคุม “ทิศทางของจิต” ได้ทุกวัน

    เดินบนทางที่ใจโปร่ง โล่ง สงบ
    ไม่ใช่เพราะทุกอย่างราบรื่น
    แต่เพราะใจเรารู้จัก
    “สะสมบุญด้วยความละเอียดอ่อน”

    #ธรรมะกระตุกใจ
    #อย่าประมาทในบุญและบาป
    #สุขจริงอยู่ที่ใจไม่ใช่ภายนอก
    #ชีวิตคือการสะสม
    #สายกลางไม่หลงทาง
    🌿 ชีวิตคนเราสะสมอะไรทุกวัน? พระพุทธเจ้าสอนให้ "อย่าประมาทในบุญและบาป" อย่าคิดว่าแค่บุญเล็กๆ จะไม่มีผล อย่ามองว่าแค่บาปนิดเดียว จะไม่สะเทือนใจ ท่านไม่ได้ให้เรานับจำนวน แต่ให้เรามอง “เส้นทาง” ว่า ชีวิตแต่ละวัน…กำลังเดินไปทางไหน? ทางที่สั่งสม “ความสบายใจ” หรือทางที่สั่งสม “ความกระวนกระวาย”? 🔍 ตรวจใจง่ายๆ ไม่ต้องถามใครเลย ทุกวันนี้…ใจเราสบาย หรืออึดอัด? เมื่อเจอเรื่องลำบาก…ยังมีปีติเล็กๆ ซ่อนอยู่ไหม? เมื่อทุกอย่างดูราบรื่น…ทำไมยังรู้สึกแน่นๆในอก? เพราะจริงๆ แล้ว… 💠 ชีวิตลำบากเท่ากัน ใครสั่งสมบุญมากกว่า…ก็ทุกข์น้อยกว่า 💠 ชีวิตสบายเท่ากัน ใครสั่งสมบาปมากกว่า…ก็ทุกข์มากกว่า ☘️ บุญที่แท้ เริ่มจากจิตที่ดี ไม่ใช่แค่ "ทำดี" แบบกลัวผิด แต่ทำด้วย “ใจเต็มใจ” ที่เมตตา ใจที่ให้อภัยแทนการโต้กลับ ใจที่รักษาศีลแม้ถูกยั่วยุ ใจที่คิดให้ มากกว่าคิดเอา เหมือนเราหยอด "สุขละเอียด" ลงกระปุก ทีละหยด ทีละหยด จนวันหนึ่ง…สุขนั้นไหลล้น แม้โลกจะลำบากแค่ไหน ใจก็ไม่ทุกข์ไปด้วย 🔥 แต่ในทางกลับกัน… สั่งสมบาปโดยไม่รู้ตัว ยอมตามใจตัวแบบไม่ยั้งคิด ได้ความสะใจชั่วครู่ แต่ใจคับแคบขึ้นทุกวัน หยอดความพลุ่งพล่าน ใส่กระปุกแห่งกรรม สุดท้าย…แม้ทุกอย่างรอบตัวจะดูดี แต่ใจกลับแน่น อึดอัด ไม่มีความสุขจริง 🌌 เราอาจควบคุมโลกภายนอกไม่ได้ แต่เราคุม “ทิศทางของจิต” ได้ทุกวัน เดินบนทางที่ใจโปร่ง โล่ง สงบ ไม่ใช่เพราะทุกอย่างราบรื่น แต่เพราะใจเรารู้จัก “สะสมบุญด้วยความละเอียดอ่อน” #ธรรมะกระตุกใจ #อย่าประมาทในบุญและบาป #สุขจริงอยู่ที่ใจไม่ใช่ภายนอก #ชีวิตคือการสะสม #สายกลางไม่หลงทาง
    0 Comments 0 Shares 238 Views 0 Reviews
  • บาปไม่มีเมืองพอ บุญไม่มีเมืองพอ
    บาปยิ่งทำก็ยิ่งได้บาปกรรมที่ทำ บุญยิ่งทำก็ยิ่งไม่ได้ไม่ทีาสิ้นสุด
    บาปไม่มีเมืองพอ บุญไม่มีเมืองพอ บาปยิ่งทำก็ยิ่งได้บาปกรรมที่ทำ บุญยิ่งทำก็ยิ่งไม่ได้ไม่ทีาสิ้นสุด
    0 Comments 0 Shares 39 Views 0 Reviews
More Results