• จิตเมตตาพาธรรมนำ
    ได้ดื่มด่ำกำลังธรรม
    จิตเมตตาพาบาปกรรม
    นำจิตแย่แพ้ภัยตน

    ปรารถนาพาดีงาม
    ทุกโมงยามตามดั้นด้น
    สัจธรรมนำหลุดพ้น
    ไม่สับสนหนทางธรรม

    ธรรมอารมณ์กลมกลืนจิต
    แนบสนิทคิดพูดทำ
    อนัตตาพาดื่มด่ำ
    เตือนตนย้ำธรรมความจริง

    จริงสมมุติผุดเวียนวน
    จิตสับสนจนยุ่งยิ่ง
    ยึดอัตตาพาสุงสิง
    มีทุกข์จริงยิ่งทวี

    ปรารถนาพาดีมา
    ธรรมนำพาอาศัยมี
    เชื้อกิเลสเหตุไม่ดี
    พาคลุกคลีมีแต่แย่

    มีกิเลสเหตุดั่งไฟ
    อัตตาใช้ได้เชื้อแน่
    เชื้อกับไฟไม่เหลียวแล
    มีแต่ไหม้ได้เดือดร้อน

    ดับกิเลสเหตุฟืนไฟ
    อย่าให้ไหม้ไร้ทางจร
    มีชนวนล้วนของร้อน
    จิตสั่นคลอนพรไม่ดี

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    จิตเมตตาพาธรรมนำ ได้ดื่มด่ำกำลังธรรม จิตเมตตาพาบาปกรรม นำจิตแย่แพ้ภัยตน ปรารถนาพาดีงาม ทุกโมงยามตามดั้นด้น สัจธรรมนำหลุดพ้น ไม่สับสนหนทางธรรม ธรรมอารมณ์กลมกลืนจิต แนบสนิทคิดพูดทำ อนัตตาพาดื่มด่ำ เตือนตนย้ำธรรมความจริง จริงสมมุติผุดเวียนวน จิตสับสนจนยุ่งยิ่ง ยึดอัตตาพาสุงสิง มีทุกข์จริงยิ่งทวี ปรารถนาพาดีมา ธรรมนำพาอาศัยมี เชื้อกิเลสเหตุไม่ดี พาคลุกคลีมีแต่แย่ มีกิเลสเหตุดั่งไฟ อัตตาใช้ได้เชื้อแน่ เชื้อกับไฟไม่เหลียวแล มีแต่ไหม้ได้เดือดร้อน ดับกิเลสเหตุฟืนไฟ อย่าให้ไหม้ไร้ทางจร มีชนวนล้วนของร้อน จิตสั่นคลอนพรไม่ดี ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 30 มุมมอง 0 รีวิว
  • กาย วาจา ใจ สำคัญต้องรักษาให้ดีมีศิลมีธรรม กายทำไม่ดีก็บาป วาจาไม่ดีบาป ใจคิดไม่ดีบาป
    กาย วาจา ใจ สำคัญต้องรักษาให้ดีมีศิลมีธรรม กายทำไม่ดีก็บาป วาจาไม่ดีบาป ใจคิดไม่ดีบาป
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขาดสต
    ิกิเลสพา
    จึงเป็นบ้า
    หาโรคกรรม
    ทำจนติด
    จิตสับสน
    จนไร้ธรรม
    วิบากกรรม
    ย้ำเอาไว้
    ้ไม่ห่างไกล

    หลงกระทำ
    อำเภอใจ
    ได้แต่บาป
    ดิ้นพะงาบ
    หาบทุกข์วน
    พ้นไม่ได้
    ก่อเวรกรรม
    อำเภอใจ
    ให้เลวร้าย
    อวดกิเลส
    เหตุไม่ดี
    มีแต่ร้าย

    สติด
    ูรู้เท่าทัน
    หมั่นฝึกฝน
    ศีลธรรมยล
    หนทางด
    ีมีอาศัย
    เจริญงาม
    ความจริงรู้
    สู่ทุกข์ได้
    ระวังกาย
    ใจระวัง
    ยั้งชั่งดู

    ขอให้พบธรรมคงามดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    ขาดสต ิกิเลสพา จึงเป็นบ้า หาโรคกรรม ทำจนติด จิตสับสน จนไร้ธรรม วิบากกรรม ย้ำเอาไว้ ้ไม่ห่างไกล หลงกระทำ อำเภอใจ ได้แต่บาป ดิ้นพะงาบ หาบทุกข์วน พ้นไม่ได้ ก่อเวรกรรม อำเภอใจ ให้เลวร้าย อวดกิเลส เหตุไม่ดี มีแต่ร้าย สติด ูรู้เท่าทัน หมั่นฝึกฝน ศีลธรรมยล หนทางด ีมีอาศัย เจริญงาม ความจริงรู้ สู่ทุกข์ได้ ระวังกาย ใจระวัง ยั้งชั่งดู ขอให้พบธรรมคงามดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 53 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไอ้สส.BRN มุดหัวยามคนไทยถูกลอบกัด ถนัดวางยา โยนบาป เค้ารู้ไส้กันหมดแล้วไอ่ฉัด
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #ไฟใต้
    ไอ้สส.BRN มุดหัวยามคนไทยถูกลอบกัด ถนัดวางยา โยนบาป เค้ารู้ไส้กันหมดแล้วไอ่ฉัด #คิงส์โพธิ์แดง #ไฟใต้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 54 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอประณามโจรใต้ก่อการร้าย
    เสมือนพวกเขาคือ มนุษย์ต่ำสัตว์ที่ไร้ศาสนาใจบาปอำมหิต ทำร้ายชีวิตคนดีๆผู้บริสุทธิ์ได้แบบเลือดเย็น แบบนี้เขาไม่เรียกว่า เรียกร้องสันติสุขใดๆครับ มันคือกลุ่มโจรกบฎที่อยากได้อำนาจเป็นของพวกตนเองล้วนๆ กลุ่มคนหรือ นกม.ที่สนับสนุนวิธีการแอบๆกับโจรเหล่านี้หรือให้พูดคุยสันติกับโจรทมิฬ ก็เสมือนแนวร่วมพวกโจรก่อการร้ายกบฎบ่อนทำลายชาติแบ่งแยกดินแดนไม่ต่างกันครับ ใครอยากได้โจรก่อการร้ายมามีอำนาจปกครองพื้นที่บ้านเมืองก็บ้าแล้วครับ ความสงบสุขคงไม่เกิดดอกครับ ความโหดเหี้ยมไม่มีทางชนะใจคน คนชั่วใจอำมหิตมักปกครองคนด้วยการทำให้คนกลัวและโง่ขลาดเขลา คนดีๆที่รักสันติสุขเขาไม่ทำเช่นนี้กับบ้านเมืองตนและผู้คนในชาติได้ลงดอก นอกเสียจากเขาไม่คิดว่าที่นี่คือบ้านเมืองเขา จึงไม่มีความรักเมตตาในประชาชนพื้นที่ เสียวาลาใจดีกับโจรใจมารเช่นนี้มานานเกินพอละครับทั่นๆทั้งหลาย

    ขอแสดงความเสียใจกับ จนท. ประชาชน ที่บาดเจ็บสูญเสียครับ
    เป็นกำลังใจ จนท.และประชาชนผู้บริสุทธิ์
    ขอให้ความสงบสุขเกิดขึ้นโดยเร็วด้วยความเด็ดขาดครับ
    ขอประณามโจรใต้ก่อการร้าย เสมือนพวกเขาคือ มนุษย์ต่ำสัตว์ที่ไร้ศาสนาใจบาปอำมหิต ทำร้ายชีวิตคนดีๆผู้บริสุทธิ์ได้แบบเลือดเย็น แบบนี้เขาไม่เรียกว่า เรียกร้องสันติสุขใดๆครับ มันคือกลุ่มโจรกบฎที่อยากได้อำนาจเป็นของพวกตนเองล้วนๆ กลุ่มคนหรือ นกม.ที่สนับสนุนวิธีการแอบๆกับโจรเหล่านี้หรือให้พูดคุยสันติกับโจรทมิฬ ก็เสมือนแนวร่วมพวกโจรก่อการร้ายกบฎบ่อนทำลายชาติแบ่งแยกดินแดนไม่ต่างกันครับ ใครอยากได้โจรก่อการร้ายมามีอำนาจปกครองพื้นที่บ้านเมืองก็บ้าแล้วครับ ความสงบสุขคงไม่เกิดดอกครับ ความโหดเหี้ยมไม่มีทางชนะใจคน คนชั่วใจอำมหิตมักปกครองคนด้วยการทำให้คนกลัวและโง่ขลาดเขลา คนดีๆที่รักสันติสุขเขาไม่ทำเช่นนี้กับบ้านเมืองตนและผู้คนในชาติได้ลงดอก นอกเสียจากเขาไม่คิดว่าที่นี่คือบ้านเมืองเขา จึงไม่มีความรักเมตตาในประชาชนพื้นที่ เสียวาลาใจดีกับโจรใจมารเช่นนี้มานานเกินพอละครับทั่นๆทั้งหลาย ขอแสดงความเสียใจกับ จนท. ประชาชน ที่บาดเจ็บสูญเสียครับ เป็นกำลังใจ จนท.และประชาชนผู้บริสุทธิ์ ขอให้ความสงบสุขเกิดขึ้นโดยเร็วด้วยความเด็ดขาดครับ
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 164 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ใน ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 979
    ชื่อบทธรรม :- ธรรม-อธรรม-อรรถ-อนรรถ ที่ควรทราบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรม(ความเป็นจริงแท้)​-อธรรม(ควา​มไม่จริงแท้)​
    --อรรถ(ความเป็นประโยชน์)​-อนรรถ(ความไม่เป็นประโยชน์)​ ที่ควรทราบ
    --ภิกษุ ท. !
    อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว
    บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ.
    --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ?
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=อธมฺโม+อนตฺโถ

    --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ?
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=ธมฺโม+อตฺโถ

    --ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า
    “ภิกษุ ท. !
    อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว
    บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ”
    ดังนี้.-

    (--
    ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ,
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ;
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และ
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย.

    --ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/273/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และ
    ทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ.

    --ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/281/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%92
    ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ
    แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ
    แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ
    และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ
    --).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/192/113.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/192/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๘/๑๑๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=979
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ใน ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ สัทธรรมลำดับที่ : 979 ชื่อบทธรรม :- ธรรม-อธรรม-อรรถ-อนรรถ ที่ควรทราบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรม(ความเป็นจริงแท้)​-อธรรม(ควา​มไม่จริงแท้)​ --อรรถ(ความเป็นประโยชน์)​-อนรรถ(ความไม่เป็นประโยชน์)​ ที่ควรทราบ --ภิกษุ ท. ! อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ. --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ? มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=อธมฺโม+อนตฺโถ --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ? สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=ธมฺโม+อตฺโถ --ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า “ภิกษุ ท. ! อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ” ดังนี้.- (-- ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔). http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ, ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ; ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และ ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย. --ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐) http://etipitaka.com/read/pali/24/273/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และ ทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ. --ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒) http://etipitaka.com/read/pali/24/281/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%92 ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ --). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/192/113. http://etipitaka.com/read/thai/24/192/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๘/๑๑๓. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=979 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ
    -ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ ภิกษุ ท. ! อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติตามที่เป็นธรรมตามที่เป็นอรรถ. ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ? มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ. ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ? สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ. ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า “ภิกษุ ท. ! อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติตามที่เป็นธรรมตามที่เป็นอรรถ” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 163 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣ ผู้ว่า สตง. โยนบาปตึกถล่มให้วิศวกร
    #7ดอกจิก
    #สตง
    #วิศวกรสตง
    ♣ ผู้ว่า สตง. โยนบาปตึกถล่มให้วิศวกร #7ดอกจิก #สตง #วิศวกรสตง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 112 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • ลากไส้ขบวนการโยนบาป ม.112
    ทำs้ายบ้านเกิด แลกกับการหลุดพ้นบ่วงกรรม 44 สส.ก้าวไกล
    #คิงส์โพธิ์แดง
    ลากไส้ขบวนการโยนบาป ม.112 ทำs้ายบ้านเกิด แลกกับการหลุดพ้นบ่วงกรรม 44 สส.ก้าวไกล #คิงส์โพธิ์แดง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 6 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีล
    สัทธรรมลำดับที่ : 978
    ชื่อบทธรรม :- เมื่อตีความคำบัญญัติผิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีลโดยอัตโนมัติ
    ...
    (อุคคาหมานปริพพาชก ได้กล่าวกะช่างไม้ชื่อปัญจกังคะว่า
    “--ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    ว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง
    เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้.
    สี่อย่างอย่างไรเล่า? สี่อย่างคือ บุคคลในกรณีนี้
    ๑.ย่อมไม่กระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกาย ๑
    ๒.ย่อมไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป ๑
    ๓.ย่อมไม่ดำริความดำริอันเป็นบาป ๑
    ๔.ย่อมไม่เลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาป ๑.”
    --ช่างไม้(ถปติ)ไม่ยินดีไม่คัดค้านถ้อยคำนั้น
    เข้าไปเฝ้าแล้วกราบทูลข้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าทุกประการ. ตรัสว่า :-
    )​
    --ถปติ ! ถ้าเป็นอย่างที่ปริพพาชกนั้นกล่าวแล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ
    ก็จะกลายเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง
    เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ไปเสีย.
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักว่า “กายๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักกระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกายได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากก็เพียงกลิ้งไปกลิ้งมาอยู่บนเบาะ.
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักว่า “วาจาๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักกล่าววาจาอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากก็เพียงส่งเสียงร้องไห้.
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักว่า “ดำริๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักดำริความดำริอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากก็เพียงแสดงอาการอึดอัด (ตามประสาเด็ก).
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักที่ว่า “อาชีพๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากทำได้ก็แต่เพียงกินนมแม่.
    --ถปติ ! เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ
    จักเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม
    อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ดังคำกล่าวของอุคคาหมานปริพพาชกนั้นได้อย่างไร.
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง

    http://etipitaka.com/read/pali/13/344/?keywords=ปริพฺพาชก
    (ตามที่อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวนั้น) ว่า
    ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลสมบูรณ์ ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลอย่างยิ่ง
    ยังไม่ใช่สมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดมอันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้
    อย่างมาก บุคคลนั้นเพียงแต่จะดีกว่าเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะบ้าง
    เท่านั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/264-266/358-360.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/264/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๔๓-๓๔๕/๓๕๘-๓๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/343/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=978
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีล สัทธรรมลำดับที่ : 978 ชื่อบทธรรม :- เมื่อตีความคำบัญญัติผิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978 เนื้อความทั้งหมด :- --เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีลโดยอัตโนมัติ ... (อุคคาหมานปริพพาชก ได้กล่าวกะช่างไม้ชื่อปัญจกังคะว่า “--ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้. สี่อย่างอย่างไรเล่า? สี่อย่างคือ บุคคลในกรณีนี้ ๑.ย่อมไม่กระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกาย ๑ ๒.ย่อมไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป ๑ ๓.ย่อมไม่ดำริความดำริอันเป็นบาป ๑ ๔.ย่อมไม่เลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาป ๑.” --ช่างไม้(ถปติ)ไม่ยินดีไม่คัดค้านถ้อยคำนั้น เข้าไปเฝ้าแล้วกราบทูลข้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าทุกประการ. ตรัสว่า :- )​ --ถปติ ! ถ้าเป็นอย่างที่ปริพพาชกนั้นกล่าวแล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ ก็จะกลายเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ไปเสีย. +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “กายๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักกระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกายได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงกลิ้งไปกลิ้งมาอยู่บนเบาะ. +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “วาจาๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักกล่าววาจาอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงส่งเสียงร้องไห้. +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “ดำริๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักดำริความดำริอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงแสดงอาการอึดอัด (ตามประสาเด็ก). +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักที่ว่า “อาชีพๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากทำได้ก็แต่เพียงกินนมแม่. --ถปติ ! เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ จักเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ดังคำกล่าวของอุคคาหมานปริพพาชกนั้นได้อย่างไร. --ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง http://etipitaka.com/read/pali/13/344/?keywords=ปริพฺพาชก (ตามที่อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวนั้น) ว่า ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลสมบูรณ์ ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลอย่างยิ่ง ยังไม่ใช่สมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดมอันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้ อย่างมาก บุคคลนั้นเพียงแต่จะดีกว่าเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะบ้าง เท่านั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/264-266/358-360. http://etipitaka.com/read/thai/13/264/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๔๓-๓๔๕/๓๕๘-๓๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/13/343/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=978 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เมื่อตีความคำบัญญัติผิด
    -เมื่อตีความคำบัญญัติผิด แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีลโดยอัตโนมัติ (อุคคาหมานปริพพาชก ได้กล่าวกะช่างไม้ชื่อปัญจกังคะว่า “ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้. สี่อย่างอย่างไรเล่า? สี่อย่างคือ บุคคลในกรณีนี้ ย่อมไม่กระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกาย ๑ ย่อมไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป ๑ ย่อมไม่ดำริ ความดำริอันเป็นบาป ๑ ย่อมไม่เลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาป ๑.” ช่างไม้ไม่ยินดีไม่คัดค้านถ้อยคำนั้น เข้าไปเฝ้าแล้วกราบทูลข้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าทุกประการ. ตรัสว่า :-) ถปติ ! ถ้าเป็นอย่างที่ปริพพาชกนั้นกล่าวแล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ ก็จะกลายเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ไปเสีย. ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “กายๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักกระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกายได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงกลิ้งไปกลิ้งมาอยู่บนเบาะ. ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “วาจาๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มี แล้ว จักกล่าววาจาอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงส่งเสียงร้องไห้. ถปติ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “ดำริๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มี. แล้ว จักดำริความดำริอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงแสดงอาการอึดอัด (ตามประสาเด็ก). ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักที่ว่า “อาชีพๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มี. แล้ว จักเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากทำได้ก็แต่เพียงกินนมแม่. ถปติ ! เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ จักเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ดังคำกล่าวของอุคคาหมานปริพพาชกนั้นได้อย่างไร. ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง (ตามที่อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวนั้น) ว่า ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลสมบูรณ์ ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลอย่างยิ่ง ยังไม่ใช่สมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดมอันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้ อย่างมาก บุคคลนั้นเพียงแต่จะดีกว่าเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะบ้างเท่านั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 178 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมบัติทางโลกจะหามาได้หรือโกงมามันก็ไม่ไปโลกหน้ากับเรานะ ..ที่ตะไปโลกหน้ากับเราคือ บาปและบุญ
    สมบัติทางโลกจะหามาได้หรือโกงมามันก็ไม่ไปโลกหน้ากับเรานะ ..ที่ตะไปโลกหน้ากับเราคือ บาปและบุญ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 60 มุมมอง 0 รีวิว
  • รู้จริงธรรมครอง
    ส่องสัตว์สันดาน
    บุญบาปการงาน
    ผ่านมาผ่านไป

    มีกรรมวิบาก
    ลากพามุ่งหมาย
    ก่อคุณโทษไว้
    ได้ผลกรรมตาม

    กรรมเหตุปัจจัย
    ได้ทุกข์หาบหาม
    ดับเหตุติดตาม
    ความจริงธรรมครอง

    กิเลสตัณหา
    พาคึกคะนอง
    สติบกพร่อง
    หมองจิตติดบ่วง

    เจริญศีลธรรม
    กรรมดีเข้าควง
    รู้จริงหมดห่วง
    หาติดบ่วงไม่

    ขอให้พบธรรมคงามดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง รวยทรัพย์ในนอก

    นิพานนะปัจจะโยโหตุ
    รู้จริงธรรมครอง ส่องสัตว์สันดาน บุญบาปการงาน ผ่านมาผ่านไป มีกรรมวิบาก ลากพามุ่งหมาย ก่อคุณโทษไว้ ได้ผลกรรมตาม กรรมเหตุปัจจัย ได้ทุกข์หาบหาม ดับเหตุติดตาม ความจริงธรรมครอง กิเลสตัณหา พาคึกคะนอง สติบกพร่อง หมองจิตติดบ่วง เจริญศีลธรรม กรรมดีเข้าควง รู้จริงหมดห่วง หาติดบ่วงไม่ ขอให้พบธรรมคงามดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง รวยทรัพย์ในนอก นิพานนะปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 82 มุมมอง 0 รีวิว
  • จิตธรรมเข้ากัน
    ปัญญามุ่งหมาย
    เชื่อมั่นขวนขวาย
    ให้มีสติ

    อุปสรรคทาง
    ขวางสมาธิ
    สะเทือนกวนจิต
    คิดพูดทำร้าย

    ปัญญานำมา
    พาธรรมแก้ไข
    เชื่อมั่นขวนขวาย
    ให้สติดี

    สมาธิดี
    มีจิตคลุกคลี
    ร่วมกายชีวี
    มีคุณมากมาย

    ตื่นรู้เบิกบาน
    การงานลื่นไหล
    ทำดีบุญได้
    ให้ร้ายบาปกรรม

    ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง รวยทรัพย์ในนอก

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    จิตธรรมเข้ากัน ปัญญามุ่งหมาย เชื่อมั่นขวนขวาย ให้มีสติ อุปสรรคทาง ขวางสมาธิ สะเทือนกวนจิต คิดพูดทำร้าย ปัญญานำมา พาธรรมแก้ไข เชื่อมั่นขวนขวาย ให้สติดี สมาธิดี มีจิตคลุกคลี ร่วมกายชีวี มีคุณมากมาย ตื่นรู้เบิกบาน การงานลื่นไหล ทำดีบุญได้ ให้ร้ายบาปกรรม ขอให้พบธรรมความดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง รวยทรัพย์ในนอก นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 101 มุมมอง 0 รีวิว
  • คนมีบุญตายต่างกับคนมีบาป
    คนมีบุญตายต่างกับคนมีบาป
    Like
    Wow
    3
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 105 มุมมอง 19 0 รีวิว
  • เรื่อง “การชอบคนอื่นที่ไม่ใช่แฟน” ซึ่งเป็นหัวข้อที่ก้ำกึ่งระหว่างความรู้สึกธรรมดาในใจคน กับการเสี่ยงต่อการก่อกรรมที่ร้ายแรงหากไม่รู้เท่าทัน

    ---

    1. คำถาม "ผิดไหม" อาจไม่ใช่คำถามที่ดีที่สุด

    > "การตั้งโจทย์ที่ถูกต้อง คือถามว่า ‘มันล่อแหลมต่อการผิดหรือเปล่า?’"

    เพราะบางอย่าง แม้ยังไม่ผิดตอนนี้ แต่ เปิดทางให้กิเลสโต และนำไปสู่การผิดศีลได้ในที่สุด

    ที่สำคัญมากคือ กิเลสโดยเฉพาะ ราคะ มีลักษณะไหลลึก ลื่นไถล และตบตาจิตใจให้ประมาทง่ายกว่ากิเลสอื่นๆ

    > ธรรมะสำคัญ:
    "อย่าใช้แค่กฎเกณฑ์ภายนอกตัดสิน ให้ดูแรงไหลของใจด้วย"

    ---

    2. รักหรือชอบที่ยังไม่ผิด แต่ "ล่อแหลม" คือภัยเงียบ

    ความชอบในใจแม้เป็นธรรมชาติของมนุษย์ แต่หากปล่อยให้ พูดบ่อย คุยบ่อย คิดบ่อย จิตจะตกลงไปในห้วงหลงโดยไม่รู้ตัว

    จุดที่หลายคนพลาดคือ การอนุโลมเล็กๆ ที่สะสมเป็นไฟเผาใจในที่สุด

    > ธรรมะสำคัญ:
    "ต้นทางที่คิดว่าไม่ผิด คือกับดักที่เปิดทางสู่ความผิดในอนาคต"

    ---

    3. วิธีปฏิบัติที่ชัดเจน: ห้ามกาย ห้ามวาจา แม้ใจยังไม่ห้ามได้

    > “แม้ห้ามใจไม่ได้ ก็ต้องห้ามกายกับปากให้ได้ก่อน”

    ทางกาย: ไม่แตะต้อง ไม่หาข้ออ้างไปพบปะ

    ทางวาจา: ไม่พูด หรือไม่สื่อสารด้วยถ้อยคำที่เหนี่ยวนำให้ผูกพัน

    การห้ามกายห้ามวาจาคือ การถือศีลเบื้องต้น ที่หยุดไม่ให้กิเลสระบาดออกนอก

    > ธรรมะสำคัญ:
    "ห้ามกายวาจาได้ คือป้องกันจิตจากการแตกพ่ายหนักขึ้น"

    ---

    4. วิธีทำให้จิตฉลาดขึ้น: หมั่นถามตัวเองด้วยคำถามสั้นๆ

    > “ความรู้สึกผิด เป็นสุขหรือเป็นทุกข์?”

    การถามตัวเองอย่างตรงไปตรงมา เช่น

    ความรู้สึกแบบนี้ทำให้ใจโปร่งเบา หรือหน่วงหนัก?

    ถ้าเดินต่อ จะได้บุญหรือได้บาป?

    จิตจะค่อยๆ คิดเป็นเองได้ และรู้ทันตัวเองเร็วขึ้น

    > ธรรมะสำคัญ:
    "ตั้งคำถามถูก จิตจะตอบตัวเองได้โดยไม่ต้องบังคับ"

    ---

    5. เคล็ดสำคัญ: ต้อง “หักดิบ” ตั้งแต่ต้นลม

    > “ศีลข้อ ๓ ต้องหักดิบตั้งแต่ยังไม่สาย”

    ถ้าปล่อยให้มีเยื่อใยแม้นิดเดียว จิตจะสร้างเรื่องขยายกิเลสให้ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ

    ผู้ที่รอดปลอดภัยจากกรรมหนัก คือผู้ที่ “ใจเด็ด” ไม่ปล่อยให้กิเลสมีโอกาสโตตั้งแต่ต้น

    > ธรรมะสำคัญ:
    "ปล่อยต้นลมไม่ได้ ถ้าไม่อยากตกเหวตอนปลายทาง"

    ---

    สรุปใจกลางธรรมะ

    อย่าแค่ถามว่า "ผิดไหม" แต่ถามว่า "ล่อแหลมหรือไม่?"

    ความชอบที่ไม่ดูแล จะกลายเป็นไฟเผาตัว

    แม้ห้ามใจไม่ได้ แต่ต้องห้ามกายกับวาจาให้ได้

    ฝึกจิตให้ฉลาดขึ้น ด้วยการถามหาความสุขแท้จริงในใจ

    การหักดิบตั้งแต่ต้น คือเกราะป้องกันกรรมหนักได้ดีที่สุด

    ---

    ธรรมะสั้นใช้ต่อยอดได้ทันที

    "รักเขาไม่ผิด แต่หลงเขาเกินขอบเขต คือทางสู่กรรม"

    "ต้นลมที่ไม่ห้าม คือพายุใหญ่ที่รออยู่ข้างหน้า"

    "ห้ามกาย วาจา คือป้องกันใจได้ในวันข้างหน้า"

    "ถามใจเสมอ: สิ่งนี้พาใจไปเบาหรือไปหนัก?"

    "หักดิบความล่อแหลมวันนี้ เพื่อไม่ต้องร้องไห้ในวันพรุ่งนี้"

    ---
    เรื่อง “การชอบคนอื่นที่ไม่ใช่แฟน” ซึ่งเป็นหัวข้อที่ก้ำกึ่งระหว่างความรู้สึกธรรมดาในใจคน กับการเสี่ยงต่อการก่อกรรมที่ร้ายแรงหากไม่รู้เท่าทัน --- 1. คำถาม "ผิดไหม" อาจไม่ใช่คำถามที่ดีที่สุด > "การตั้งโจทย์ที่ถูกต้อง คือถามว่า ‘มันล่อแหลมต่อการผิดหรือเปล่า?’" เพราะบางอย่าง แม้ยังไม่ผิดตอนนี้ แต่ เปิดทางให้กิเลสโต และนำไปสู่การผิดศีลได้ในที่สุด ที่สำคัญมากคือ กิเลสโดยเฉพาะ ราคะ มีลักษณะไหลลึก ลื่นไถล และตบตาจิตใจให้ประมาทง่ายกว่ากิเลสอื่นๆ > ธรรมะสำคัญ: "อย่าใช้แค่กฎเกณฑ์ภายนอกตัดสิน ให้ดูแรงไหลของใจด้วย" --- 2. รักหรือชอบที่ยังไม่ผิด แต่ "ล่อแหลม" คือภัยเงียบ ความชอบในใจแม้เป็นธรรมชาติของมนุษย์ แต่หากปล่อยให้ พูดบ่อย คุยบ่อย คิดบ่อย จิตจะตกลงไปในห้วงหลงโดยไม่รู้ตัว จุดที่หลายคนพลาดคือ การอนุโลมเล็กๆ ที่สะสมเป็นไฟเผาใจในที่สุด > ธรรมะสำคัญ: "ต้นทางที่คิดว่าไม่ผิด คือกับดักที่เปิดทางสู่ความผิดในอนาคต" --- 3. วิธีปฏิบัติที่ชัดเจน: ห้ามกาย ห้ามวาจา แม้ใจยังไม่ห้ามได้ > “แม้ห้ามใจไม่ได้ ก็ต้องห้ามกายกับปากให้ได้ก่อน” ทางกาย: ไม่แตะต้อง ไม่หาข้ออ้างไปพบปะ ทางวาจา: ไม่พูด หรือไม่สื่อสารด้วยถ้อยคำที่เหนี่ยวนำให้ผูกพัน การห้ามกายห้ามวาจาคือ การถือศีลเบื้องต้น ที่หยุดไม่ให้กิเลสระบาดออกนอก > ธรรมะสำคัญ: "ห้ามกายวาจาได้ คือป้องกันจิตจากการแตกพ่ายหนักขึ้น" --- 4. วิธีทำให้จิตฉลาดขึ้น: หมั่นถามตัวเองด้วยคำถามสั้นๆ > “ความรู้สึกผิด เป็นสุขหรือเป็นทุกข์?” การถามตัวเองอย่างตรงไปตรงมา เช่น ความรู้สึกแบบนี้ทำให้ใจโปร่งเบา หรือหน่วงหนัก? ถ้าเดินต่อ จะได้บุญหรือได้บาป? จิตจะค่อยๆ คิดเป็นเองได้ และรู้ทันตัวเองเร็วขึ้น > ธรรมะสำคัญ: "ตั้งคำถามถูก จิตจะตอบตัวเองได้โดยไม่ต้องบังคับ" --- 5. เคล็ดสำคัญ: ต้อง “หักดิบ” ตั้งแต่ต้นลม > “ศีลข้อ ๓ ต้องหักดิบตั้งแต่ยังไม่สาย” ถ้าปล่อยให้มีเยื่อใยแม้นิดเดียว จิตจะสร้างเรื่องขยายกิเลสให้ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ผู้ที่รอดปลอดภัยจากกรรมหนัก คือผู้ที่ “ใจเด็ด” ไม่ปล่อยให้กิเลสมีโอกาสโตตั้งแต่ต้น > ธรรมะสำคัญ: "ปล่อยต้นลมไม่ได้ ถ้าไม่อยากตกเหวตอนปลายทาง" --- สรุปใจกลางธรรมะ อย่าแค่ถามว่า "ผิดไหม" แต่ถามว่า "ล่อแหลมหรือไม่?" ความชอบที่ไม่ดูแล จะกลายเป็นไฟเผาตัว แม้ห้ามใจไม่ได้ แต่ต้องห้ามกายกับวาจาให้ได้ ฝึกจิตให้ฉลาดขึ้น ด้วยการถามหาความสุขแท้จริงในใจ การหักดิบตั้งแต่ต้น คือเกราะป้องกันกรรมหนักได้ดีที่สุด --- ธรรมะสั้นใช้ต่อยอดได้ทันที "รักเขาไม่ผิด แต่หลงเขาเกินขอบเขต คือทางสู่กรรม" "ต้นลมที่ไม่ห้าม คือพายุใหญ่ที่รออยู่ข้างหน้า" "ห้ามกาย วาจา คือป้องกันใจได้ในวันข้างหน้า" "ถามใจเสมอ: สิ่งนี้พาใจไปเบาหรือไปหนัก?" "หักดิบความล่อแหลมวันนี้ เพื่อไม่ต้องร้องไห้ในวันพรุ่งนี้" ---
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 167 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ความฝัน” ด้วยทัศนะทางพุทธศาสนาและกรรมวิบาก ผ่านมุมมองที่ผสมผสานทั้ง จิตวิทยา–กรรม–วิปัสสนา อย่างกลมกลืน

    ---

    1. ความฝันคือ "ภพจำลอง" ที่จิตสร้างขึ้นตามกรรม

    > “ฝัน คือ ภพจำลองขนาดเล็กที่เกิดขึ้นชั่วคราวตามแรงกรรมในใจ”

    ความฝันจึงไม่ใช่เรื่องเหลวไหล

    แต่มันเป็น “กระจกเงา” ที่สะท้อนความรู้สึก ความเชื่อ ความกลัว ความหวัง และ “เงาของกรรม” ที่ยังค้างในจิต

    ใจเป็นอย่างไรในยามตื่น

    > ฝันก็สะท้อน “คลื่นความถี่เดียวกัน” ในยามหลับ
    เช่น ถ้าใจสว่าง ฝันก็สดใส
    ถ้าใจฟุ้ง ฝันก็มึนมัว
    ถ้าใจสั่งสมบาปหรือทุกข์ใจ ฝันก็จะหลงทาง วิ่งหนี ขัดแย้ง วนเวียน

    ---

    2. ความฝันมี “เหตุ” เสมอ และมี “สาระ” ซ่อนอยู่เสมอ

    > “ความฝันคืออัตตาในเงามืด ที่รอให้เราเปิดไฟความเข้าใจไปหา”

    ตัวอย่างการตีความฝันเชิงธรรมะที่มีค่า:

    ฝันหลงทาง = ชีวิตจริงกำลังหลงทิศ

    ฝันทะเลาะคนรัก = มีบาปกรรมที่กำลังกระเพื่อม

    ฝันสอบไม่ทัน = ความรับผิดชอบในชีวิตมีจุดอ่อน

    ฝันผิดศีลบ่อย = จิตยังติดกรรมหรือกิเลสข้อนั้น

    > ฝันบอกจุดอ่อนของจิตได้ตรงกว่าเหตุผลในยามตื่น

    ---

    3. ความฝันกับวิปัสสนา: โอกาสในการรู้จัก “ตัวตน” ที่แท้จริง

    > “เมื่อสังเกตความฝันบ่อยๆ จะรู้ว่า... ตัวละครในฝันทั้งหมด คือตัวคุณเองในมุมที่ยังไม่รู้จัก”

    ฝันช่วยให้เรา “เห็น” สิ่งที่ยังไม่ยอมรับในตน เช่น:

    ความโกรธซ่อนลึก

    ความโลภแฝง

    ความเหงา ความว่างเปล่าที่ไม่กล้ายอมรับ

    และเมื่อฝันบ่อยๆ จะค่อยๆ เห็นความเปลี่ยนแปลงของตนเอง

    จนกระทั่งถึงจุดหนึ่ง...

    > คุณอาจเห็นความฝัน “ไม่ใช่ของใคร” ไม่ใช่ “ตัวคุณ”
    แต่เป็นเพียง “ภาพชั่วคราวของกรรมที่กำลังสุกงอม”
    แล้วจิตจะเริ่มรู้ว่า “ไม่มีตัวเราที่แท้จริงในฝันเลย”

    ---

    4. ฝึกใช้ความฝันเป็นเครื่องมือภาวนาและพัฒนาจิต

    > ท่าทีแบบพุทธ คือ “สังเกต สะท้อน และไม่ยึดมั่น”

    บางครั้งฝันมาเพื่อเตือนสติ

    บางครั้งฝันมาเพื่อชำระเศษกรรม

    บางครั้งฝันมาทดสอบจิตว่าพร้อมหรือยัง

    ฝันที่ “รู้แจ้งตน” มากที่สุด อาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภายในระดับลึกสุด

    ดังพระอุสภะที่ฝันแล้วละมานะจนบรรลุธรรม!

    ---

    5. ข้อคิดส่งท้ายจากบทความ

    คุณในฝัน คือ ตัวคุณในเวอร์ชันไม่มีกฎเกณฑ์ ไม่กรอง ไม่ปรุงแต่ง

    ฝันดีหรือฝันร้าย ไม่ใช่โชคชะตา
    แต่คือภาพจำลองของ “สภาพกรรมในใจ”

    ถ้าคุณกล้าดูฝันโดยไม่กลัว
    มันจะค่อยๆเปิดเผยว่า “ไม่มีอะไรน่ายึด”

    และนั่นคือ “ประตูสู่ความอิสระ” ในทางธรรม

    ---

    สรุปธรรมะสั้น ใช้ต่อยอดเป็นโพสต์หรือบทฝึกภาวนา

    ความฝันคือกระจกเงาของกรรม

    ฝันสะท้อนใจ ฝันเปิดเผยอัตตา

    ฝันบอกคุณว่าคุณกำลังเดินทางไปทางไหน

    ยิ่งฝันบ่อย ยิ่งรู้ว่า “ตัวเราก็แค่คลื่นในฝัน”

    ฝันที่เข้าใจได้ = ใจที่พร้อมปล่อยวาง
    “ความฝัน” ด้วยทัศนะทางพุทธศาสนาและกรรมวิบาก ผ่านมุมมองที่ผสมผสานทั้ง จิตวิทยา–กรรม–วิปัสสนา อย่างกลมกลืน --- 1. ความฝันคือ "ภพจำลอง" ที่จิตสร้างขึ้นตามกรรม > “ฝัน คือ ภพจำลองขนาดเล็กที่เกิดขึ้นชั่วคราวตามแรงกรรมในใจ” ความฝันจึงไม่ใช่เรื่องเหลวไหล แต่มันเป็น “กระจกเงา” ที่สะท้อนความรู้สึก ความเชื่อ ความกลัว ความหวัง และ “เงาของกรรม” ที่ยังค้างในจิต ใจเป็นอย่างไรในยามตื่น > ฝันก็สะท้อน “คลื่นความถี่เดียวกัน” ในยามหลับ เช่น ถ้าใจสว่าง ฝันก็สดใส ถ้าใจฟุ้ง ฝันก็มึนมัว ถ้าใจสั่งสมบาปหรือทุกข์ใจ ฝันก็จะหลงทาง วิ่งหนี ขัดแย้ง วนเวียน --- 2. ความฝันมี “เหตุ” เสมอ และมี “สาระ” ซ่อนอยู่เสมอ > “ความฝันคืออัตตาในเงามืด ที่รอให้เราเปิดไฟความเข้าใจไปหา” ตัวอย่างการตีความฝันเชิงธรรมะที่มีค่า: ฝันหลงทาง = ชีวิตจริงกำลังหลงทิศ ฝันทะเลาะคนรัก = มีบาปกรรมที่กำลังกระเพื่อม ฝันสอบไม่ทัน = ความรับผิดชอบในชีวิตมีจุดอ่อน ฝันผิดศีลบ่อย = จิตยังติดกรรมหรือกิเลสข้อนั้น > ฝันบอกจุดอ่อนของจิตได้ตรงกว่าเหตุผลในยามตื่น --- 3. ความฝันกับวิปัสสนา: โอกาสในการรู้จัก “ตัวตน” ที่แท้จริง > “เมื่อสังเกตความฝันบ่อยๆ จะรู้ว่า... ตัวละครในฝันทั้งหมด คือตัวคุณเองในมุมที่ยังไม่รู้จัก” ฝันช่วยให้เรา “เห็น” สิ่งที่ยังไม่ยอมรับในตน เช่น: ความโกรธซ่อนลึก ความโลภแฝง ความเหงา ความว่างเปล่าที่ไม่กล้ายอมรับ และเมื่อฝันบ่อยๆ จะค่อยๆ เห็นความเปลี่ยนแปลงของตนเอง จนกระทั่งถึงจุดหนึ่ง... > คุณอาจเห็นความฝัน “ไม่ใช่ของใคร” ไม่ใช่ “ตัวคุณ” แต่เป็นเพียง “ภาพชั่วคราวของกรรมที่กำลังสุกงอม” แล้วจิตจะเริ่มรู้ว่า “ไม่มีตัวเราที่แท้จริงในฝันเลย” --- 4. ฝึกใช้ความฝันเป็นเครื่องมือภาวนาและพัฒนาจิต > ท่าทีแบบพุทธ คือ “สังเกต สะท้อน และไม่ยึดมั่น” บางครั้งฝันมาเพื่อเตือนสติ บางครั้งฝันมาเพื่อชำระเศษกรรม บางครั้งฝันมาทดสอบจิตว่าพร้อมหรือยัง ฝันที่ “รู้แจ้งตน” มากที่สุด อาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภายในระดับลึกสุด ดังพระอุสภะที่ฝันแล้วละมานะจนบรรลุธรรม! --- 5. ข้อคิดส่งท้ายจากบทความ คุณในฝัน คือ ตัวคุณในเวอร์ชันไม่มีกฎเกณฑ์ ไม่กรอง ไม่ปรุงแต่ง ฝันดีหรือฝันร้าย ไม่ใช่โชคชะตา แต่คือภาพจำลองของ “สภาพกรรมในใจ” ถ้าคุณกล้าดูฝันโดยไม่กลัว มันจะค่อยๆเปิดเผยว่า “ไม่มีอะไรน่ายึด” และนั่นคือ “ประตูสู่ความอิสระ” ในทางธรรม --- สรุปธรรมะสั้น ใช้ต่อยอดเป็นโพสต์หรือบทฝึกภาวนา ความฝันคือกระจกเงาของกรรม ฝันสะท้อนใจ ฝันเปิดเผยอัตตา ฝันบอกคุณว่าคุณกำลังเดินทางไปทางไหน ยิ่งฝันบ่อย ยิ่งรู้ว่า “ตัวเราก็แค่คลื่นในฝัน” ฝันที่เข้าใจได้ = ใจที่พร้อมปล่อยวาง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 218 มุมมอง 0 รีวิว
  • บาปบุญ นรกสวรรค์ พรหมโลกนิพพานมีมาดั้งเดิม ใครจะไปลบล้างไม่ได้ เพราะเป็นหลักความจริง #หลวงตาบัวเทศน์
    บาปบุญ นรกสวรรค์ พรหมโลกนิพพานมีมาดั้งเดิม ใครจะไปลบล้างไม่ได้ เพราะเป็นหลักความจริง #หลวงตาบัวเทศน์
    Like
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 119 มุมมอง 11 0 รีวิว
  • ♣ จำหน้าเอาไว้ ทนายสุรศักดิ์ วีระกุล แถลงข่าวโยนบาปไทย โทษรัฐเล่นงาน ซิน เคอ หยวน อาจะทำให้ปิดกิจการ แถมทำให้ธุรกิจจีนในไทยแตกตื่น ไม่กล้ามาลงทุน
    #7ดอกจิก
    ♣ จำหน้าเอาไว้ ทนายสุรศักดิ์ วีระกุล แถลงข่าวโยนบาปไทย โทษรัฐเล่นงาน ซิน เคอ หยวน อาจะทำให้ปิดกิจการ แถมทำให้ธุรกิจจีนในไทยแตกตื่น ไม่กล้ามาลงทุน #7ดอกจิก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 109 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ความฝัน” ในทัศนะทางพุทธศาสนาและกรรมวิบาก ผ่านมุมมองที่ผสมผสานทั้ง จิตวิทยา–กรรม–วิปัสสนา

    ---

    1. ความฝันคือ "ภพจำลอง" ที่จิตสร้างขึ้นตามกรรม

    > “ฝัน คือ ภพจำลองขนาดเล็กที่เกิดขึ้นชั่วคราวตามแรงกรรมในใจ”

    ความฝันจึงไม่ใช่เรื่องเหลวไหล

    แต่มันเป็น “กระจกเงา” ที่สะท้อนความรู้สึก ความเชื่อ ความกลัว ความหวัง และ “เงาของกรรม” ที่ยังค้างในจิต

    ใจเป็นอย่างไรในยามตื่น

    > ฝันก็สะท้อน “คลื่นความถี่เดียวกัน” ในยามหลับ
    เช่น ถ้าใจสว่าง ฝันก็สดใส
    ถ้าใจฟุ้ง ฝันก็มึนมัว
    ถ้าใจสั่งสมบาปหรือทุกข์ใจ ฝันก็จะหลงทาง วิ่งหนี ขัดแย้ง วนเวียน

    ---

    2. ความฝันมี “เหตุ” เสมอ และมี “สาระ” ซ่อนอยู่เสมอ

    > “ความฝันคืออัตตาในเงามืด ที่รอให้เราเปิดไฟความเข้าใจไปหา”

    ตัวอย่างการตีความฝันเชิงธรรมะที่มีค่า:

    ฝันหลงทาง = ชีวิตจริงกำลังหลงทิศ

    ฝันทะเลาะคนรัก = มีบาปกรรมที่กำลังกระเพื่อม

    ฝันสอบไม่ทัน = ความรับผิดชอบในชีวิตมีจุดอ่อน

    ฝันผิดศีลบ่อย = จิตยังติดกรรมหรือกิเลสข้อนั้น

    > ฝันบอกจุดอ่อนของจิตได้ตรงกว่าเหตุผลในยามตื่น

    ---

    3. ความฝันกับวิปัสสนา: โอกาสในการรู้จัก “ตัวตน” ที่แท้จริง

    > “เมื่อสังเกตความฝันบ่อยๆ จะรู้ว่า... ตัวละครในฝันทั้งหมด คือตัวคุณเองในมุมที่ยังไม่รู้จัก”

    ฝันช่วยให้เรา “เห็น” สิ่งที่ยังไม่ยอมรับในตน เช่น:

    ความโกรธซ่อนลึก

    ความโลภแฝง

    ความเหงา ความว่างเปล่าที่ไม่กล้ายอมรับ

    และเมื่อฝันบ่อยๆ จะค่อยๆ เห็นความเปลี่ยนแปลงของตนเอง

    จนกระทั่งถึงจุดหนึ่ง...

    > คุณอาจเห็นความฝัน “ไม่ใช่ของใคร” ไม่ใช่ “ตัวคุณ”
    แต่เป็นเพียง “ภาพชั่วคราวของกรรมที่กำลังสุกงอม”
    แล้วจิตจะเริ่มรู้ว่า “ไม่มีตัวเราที่แท้จริงในฝันเลย”

    ---

    4. ฝึกใช้ความฝันเป็นเครื่องมือภาวนาและพัฒนาจิต

    > ท่าทีแบบพุทธ คือ “สังเกต สะท้อน และไม่ยึดมั่น”

    บางครั้งฝันมาเพื่อเตือนสติ

    บางครั้งฝันมาเพื่อชำระเศษกรรม

    บางครั้งฝันมาทดสอบจิตว่าพร้อมหรือยัง

    ฝันที่ “รู้แจ้งตน” มากที่สุด อาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภายในระดับลึกสุด

    ดังพระอุสภะที่ฝันแล้วละมานะจนบรรลุธรรม!

    ---

    5. ข้อคิดส่งท้ายจากบทความ

    คุณในฝัน คือ ตัวคุณในเวอร์ชันไม่มีกฎเกณฑ์ ไม่กรอง ไม่ปรุงแต่ง

    ฝันดีหรือฝันร้าย ไม่ใช่โชคชะตา
    แต่คือภาพจำลองของ “สภาพกรรมในใจ”

    ถ้าคุณกล้าดูฝันโดยไม่กลัว
    มันจะค่อยๆเปิดเผยว่า “ไม่มีอะไรน่ายึด”

    และนั่นคือ “ประตูสู่ความอิสระ” ในทางธรรม

    ---

    สรุปธรรมะสั้น ใช้ต่อยอดเป็นโพสต์หรือบทฝึกภาวนา

    ความฝันคือกระจกเงาของกรรม

    ฝันสะท้อนใจ ฝันเปิดเผยอัตตา

    ฝันบอกคุณว่าคุณกำลังเดินทางไปทางไหน

    ยิ่งฝันบ่อย ยิ่งรู้ว่า “ตัวเราก็แค่คลื่นในฝัน”

    ฝันที่เข้าใจได้ = ใจที่พร้อมปล่อยวาง
    “ความฝัน” ในทัศนะทางพุทธศาสนาและกรรมวิบาก ผ่านมุมมองที่ผสมผสานทั้ง จิตวิทยา–กรรม–วิปัสสนา --- 1. ความฝันคือ "ภพจำลอง" ที่จิตสร้างขึ้นตามกรรม > “ฝัน คือ ภพจำลองขนาดเล็กที่เกิดขึ้นชั่วคราวตามแรงกรรมในใจ” ความฝันจึงไม่ใช่เรื่องเหลวไหล แต่มันเป็น “กระจกเงา” ที่สะท้อนความรู้สึก ความเชื่อ ความกลัว ความหวัง และ “เงาของกรรม” ที่ยังค้างในจิต ใจเป็นอย่างไรในยามตื่น > ฝันก็สะท้อน “คลื่นความถี่เดียวกัน” ในยามหลับ เช่น ถ้าใจสว่าง ฝันก็สดใส ถ้าใจฟุ้ง ฝันก็มึนมัว ถ้าใจสั่งสมบาปหรือทุกข์ใจ ฝันก็จะหลงทาง วิ่งหนี ขัดแย้ง วนเวียน --- 2. ความฝันมี “เหตุ” เสมอ และมี “สาระ” ซ่อนอยู่เสมอ > “ความฝันคืออัตตาในเงามืด ที่รอให้เราเปิดไฟความเข้าใจไปหา” ตัวอย่างการตีความฝันเชิงธรรมะที่มีค่า: ฝันหลงทาง = ชีวิตจริงกำลังหลงทิศ ฝันทะเลาะคนรัก = มีบาปกรรมที่กำลังกระเพื่อม ฝันสอบไม่ทัน = ความรับผิดชอบในชีวิตมีจุดอ่อน ฝันผิดศีลบ่อย = จิตยังติดกรรมหรือกิเลสข้อนั้น > ฝันบอกจุดอ่อนของจิตได้ตรงกว่าเหตุผลในยามตื่น --- 3. ความฝันกับวิปัสสนา: โอกาสในการรู้จัก “ตัวตน” ที่แท้จริง > “เมื่อสังเกตความฝันบ่อยๆ จะรู้ว่า... ตัวละครในฝันทั้งหมด คือตัวคุณเองในมุมที่ยังไม่รู้จัก” ฝันช่วยให้เรา “เห็น” สิ่งที่ยังไม่ยอมรับในตน เช่น: ความโกรธซ่อนลึก ความโลภแฝง ความเหงา ความว่างเปล่าที่ไม่กล้ายอมรับ และเมื่อฝันบ่อยๆ จะค่อยๆ เห็นความเปลี่ยนแปลงของตนเอง จนกระทั่งถึงจุดหนึ่ง... > คุณอาจเห็นความฝัน “ไม่ใช่ของใคร” ไม่ใช่ “ตัวคุณ” แต่เป็นเพียง “ภาพชั่วคราวของกรรมที่กำลังสุกงอม” แล้วจิตจะเริ่มรู้ว่า “ไม่มีตัวเราที่แท้จริงในฝันเลย” --- 4. ฝึกใช้ความฝันเป็นเครื่องมือภาวนาและพัฒนาจิต > ท่าทีแบบพุทธ คือ “สังเกต สะท้อน และไม่ยึดมั่น” บางครั้งฝันมาเพื่อเตือนสติ บางครั้งฝันมาเพื่อชำระเศษกรรม บางครั้งฝันมาทดสอบจิตว่าพร้อมหรือยัง ฝันที่ “รู้แจ้งตน” มากที่สุด อาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภายในระดับลึกสุด ดังพระอุสภะที่ฝันแล้วละมานะจนบรรลุธรรม! --- 5. ข้อคิดส่งท้ายจากบทความ คุณในฝัน คือ ตัวคุณในเวอร์ชันไม่มีกฎเกณฑ์ ไม่กรอง ไม่ปรุงแต่ง ฝันดีหรือฝันร้าย ไม่ใช่โชคชะตา แต่คือภาพจำลองของ “สภาพกรรมในใจ” ถ้าคุณกล้าดูฝันโดยไม่กลัว มันจะค่อยๆเปิดเผยว่า “ไม่มีอะไรน่ายึด” และนั่นคือ “ประตูสู่ความอิสระ” ในทางธรรม --- สรุปธรรมะสั้น ใช้ต่อยอดเป็นโพสต์หรือบทฝึกภาวนา ความฝันคือกระจกเงาของกรรม ฝันสะท้อนใจ ฝันเปิดเผยอัตตา ฝันบอกคุณว่าคุณกำลังเดินทางไปทางไหน ยิ่งฝันบ่อย ยิ่งรู้ว่า “ตัวเราก็แค่คลื่นในฝัน” ฝันที่เข้าใจได้ = ใจที่พร้อมปล่อยวาง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 218 มุมมอง 0 รีวิว
  • หาความดีประดับจิตประดับกาย..ให้เชื่อบาปบุญคุณโทษ.
    หาความดีประดับจิตประดับกาย..ให้เชื่อบาปบุญคุณโทษ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 77 มุมมอง 0 รีวิว

  • บาปเป็นบาป บุญเป็นบุญ ไม่มีใครลบล้างได้
    บาปเป็นบาป บุญเป็นบุญ ไม่มีใครลบล้างได้
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 147 มุมมอง 6 0 รีวิว
  • นรก คือแดนดัดสันดานสัตว์โลกผู้ชอบทำบาป สวรรค์ คือแดนส่งเสริมสัตว์โลกผู้ชอบทำบุญ
    นรก คือแดนดัดสันดานสัตว์โลกผู้ชอบทำบาป สวรรค์ คือแดนส่งเสริมสัตว์โลกผู้ชอบทำบุญ
    Like
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 195 มุมมอง 10 0 รีวิว
  • #คนต้องการพระนิพพานจะมีความรู้สึกอย่างไร

    องค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้ากล่าวว่า

    "ต้องใช้อากิญจัญญายตนะฌาณเป็นประจำใจ"

    คำว่า #อากิญจัญญายตนะฌาณ ฟังแล้วหนักใจ แต่ความจริงถ้าคนฉลาดก็ไม่หนัก ถ้าคนโง่ก็หนัก
    เพราะอากิญจัญญายตนะฌาน เป็นอารมณ์ของคนฉลาด คือ
    มีความรู้สึกตามความเป็นจริงว่า
    โลกนี้ไม่มีอะไรเหลือ คนเกิดมากี่คนตายหมดเท่านั้น สัตว์เกิดมาเท่าไหร่ตายหมดเท่านั้น
    สภาพของวัตถุทั้งหลายไม่มีการทรงตัว เสื่อมไปแล้วพังหมดเท่านั้น วันนี้ไม่พังวันหน้ามันก็พัง
    คนวันนี้ไม่ตายวันหน้าก็ตาย สัตว์วันนี้ไม่ตายวันหน้าก็ตาย
    ฉะนั้นโลกทั้งหลายไม่เป็นที่น่าอยู่สำหรับเรา เราไม่ต้องการ

    ถ้าบุคคลทั้งหลาย ใช้อารมณ์
    ของอากิญจัญญายตนะฌาณเป็นปกติ
    บุคคลประเภทนี้จะเป็นคนที่มีจิตสบาย คือ
    จิตยอมรับความเป็นจริงว่า
    ร่างกายของเราสักวันหนึ่งมันต้องตาย
    กฏแน่นอนของมันก็คือเดินเข้าไปหาความตายทุกวัน
    เรื่องความตายนี่ไม่ต้องไปคำนึง
    ไม่ต้องคิดถึงว่ามันจะตายเมื่อไหร่ก็เชิญฉันพร้อมแล้ว
    คำว่า พร้อม ก็คือ ยึดเอาพระธรรม คำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระประทีปแก้วไปปฏิบัติ ได้แก่
    สักกายทิฏฐิ มีความรู้สึกว่าชีวิตนี่มันต้องตาย จะตายเมื่อไรก็เชิญฉันมีความดีพร้อม

    ความดีของเราคือ ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระอริยสงฆ์ และทรงกำลังใจไว้ไม่เสื่อมคลาย
    ยึดมั่นในศีล จะเป็นจะตายอย่างไรก็ตามไม่ยอมละเมิดศีล 5 สำหรับฆราวาสอารมณ์ของพระโสดาบัน
    ถ้าคนที่เขาทรงอารมณ์ของศีล 8 เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี พระเณรก็เช่นเดียวกัน ต้องรักษาศีลของตน
    นี่แหละบรรดาท่านพุทธศาสนิกชน การเดินเข้ามาหานิพพานเป็นของไม่ยาก

    หลังจากนั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้พิจารณาว่า โลกมันไม่ดี มนุษยโลกก็ไม่ดี เทวโลกก็ไม่ดี พรหมโลกก็ไม่ดี เทวโลกกับพรหมโลกนั้นดีเหมือนกัน แต่ดีชั่วคราว ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีก็ต้องหล่นมาใหม่ หล่นมาค้างที่บนไม่เป็นไร ส่วนใหญ่ลงมาจากเทวโลกและพรหมโลกก็พุ่งลงนรกไป เพราะบาปเก่ายังไม่ชำระหนี้เขา

    ถ้ามีกำลังใจทรงอารมณ์พระโสดาบันไว้มันก็ไม่ไป อย่างเลวที่สุดมันก็มาค้างที่มนุษย์ แต่ก็ไม่ดีกลับมาค้างในดินแดนที่เราต้องมีทุกข์จะดีอะไร เราก็เป็นคนโง่ถ้าจะเป็นเทวดาหรือพรหม นานเท่าไรมันก็เป็นไม่ได้ หมดบุญวาสนาต้องมา กำลังใจที่ดีที่สุดก็ตัดสินใจว่า

    "ถ้าชีวิตร่างกายมันพังเมื่อไหร่ ขึ้นชื่อว่าความเป็นคนก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี จะไม่มีสำหรับเรา เราต้องการจุดเดียว คือ นิพพาน"

    อันนี้พูดกันสำหรับคนที่เจริญทางด้านสุกขวิปัสสโก

    ===================
    จากธัมมวิโมกข์ ฉบับที่ ๑๗๓ เดือนสิงหาคม ๒๕๓๘ หน้า ๓๗-๓๘
    #คนต้องการพระนิพพานจะมีความรู้สึกอย่างไร องค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้ากล่าวว่า "ต้องใช้อากิญจัญญายตนะฌาณเป็นประจำใจ" คำว่า #อากิญจัญญายตนะฌาณ ฟังแล้วหนักใจ แต่ความจริงถ้าคนฉลาดก็ไม่หนัก ถ้าคนโง่ก็หนัก เพราะอากิญจัญญายตนะฌาน เป็นอารมณ์ของคนฉลาด คือ มีความรู้สึกตามความเป็นจริงว่า โลกนี้ไม่มีอะไรเหลือ คนเกิดมากี่คนตายหมดเท่านั้น สัตว์เกิดมาเท่าไหร่ตายหมดเท่านั้น สภาพของวัตถุทั้งหลายไม่มีการทรงตัว เสื่อมไปแล้วพังหมดเท่านั้น วันนี้ไม่พังวันหน้ามันก็พัง คนวันนี้ไม่ตายวันหน้าก็ตาย สัตว์วันนี้ไม่ตายวันหน้าก็ตาย ฉะนั้นโลกทั้งหลายไม่เป็นที่น่าอยู่สำหรับเรา เราไม่ต้องการ ถ้าบุคคลทั้งหลาย ใช้อารมณ์ ของอากิญจัญญายตนะฌาณเป็นปกติ บุคคลประเภทนี้จะเป็นคนที่มีจิตสบาย คือ จิตยอมรับความเป็นจริงว่า ร่างกายของเราสักวันหนึ่งมันต้องตาย กฏแน่นอนของมันก็คือเดินเข้าไปหาความตายทุกวัน เรื่องความตายนี่ไม่ต้องไปคำนึง ไม่ต้องคิดถึงว่ามันจะตายเมื่อไหร่ก็เชิญฉันพร้อมแล้ว คำว่า พร้อม ก็คือ ยึดเอาพระธรรม คำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระประทีปแก้วไปปฏิบัติ ได้แก่ สักกายทิฏฐิ มีความรู้สึกว่าชีวิตนี่มันต้องตาย จะตายเมื่อไรก็เชิญฉันมีความดีพร้อม ความดีของเราคือ ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระอริยสงฆ์ และทรงกำลังใจไว้ไม่เสื่อมคลาย ยึดมั่นในศีล จะเป็นจะตายอย่างไรก็ตามไม่ยอมละเมิดศีล 5 สำหรับฆราวาสอารมณ์ของพระโสดาบัน ถ้าคนที่เขาทรงอารมณ์ของศีล 8 เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี พระเณรก็เช่นเดียวกัน ต้องรักษาศีลของตน นี่แหละบรรดาท่านพุทธศาสนิกชน การเดินเข้ามาหานิพพานเป็นของไม่ยาก หลังจากนั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้พิจารณาว่า โลกมันไม่ดี มนุษยโลกก็ไม่ดี เทวโลกก็ไม่ดี พรหมโลกก็ไม่ดี เทวโลกกับพรหมโลกนั้นดีเหมือนกัน แต่ดีชั่วคราว ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีก็ต้องหล่นมาใหม่ หล่นมาค้างที่บนไม่เป็นไร ส่วนใหญ่ลงมาจากเทวโลกและพรหมโลกก็พุ่งลงนรกไป เพราะบาปเก่ายังไม่ชำระหนี้เขา ถ้ามีกำลังใจทรงอารมณ์พระโสดาบันไว้มันก็ไม่ไป อย่างเลวที่สุดมันก็มาค้างที่มนุษย์ แต่ก็ไม่ดีกลับมาค้างในดินแดนที่เราต้องมีทุกข์จะดีอะไร เราก็เป็นคนโง่ถ้าจะเป็นเทวดาหรือพรหม นานเท่าไรมันก็เป็นไม่ได้ หมดบุญวาสนาต้องมา กำลังใจที่ดีที่สุดก็ตัดสินใจว่า "ถ้าชีวิตร่างกายมันพังเมื่อไหร่ ขึ้นชื่อว่าความเป็นคนก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี จะไม่มีสำหรับเรา เราต้องการจุดเดียว คือ นิพพาน" อันนี้พูดกันสำหรับคนที่เจริญทางด้านสุกขวิปัสสโก =================== จากธัมมวิโมกข์ ฉบับที่ ๑๗๓ เดือนสิงหาคม ๒๕๓๘ หน้า ๓๗-๓๘
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 304 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปมร้อนข่าวลึก : ภายใต้ซากตึก สตง. ผู้บริหารแถ ลอยตัว จับตาหาแพะรับบาป
    .
    ชั่วโมงนี้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. เป็นหน่วยงานที่กำลังเผชิญกับวิกฤติศรัทธาและความเชื่อมั่นของประชาชนอย่างรุนแรง ภายหลังเกิดเหตุการณ์อาคารสำนักงานแห่งใหม่ที่อยู่ในระหว่างการก่อสร้างถล่มเมื่อวันที่28 มีนาคมที่ผ่านมา

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000036112

    #News1live #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ปมร้อนข่าวลึก : ภายใต้ซากตึก สตง. ผู้บริหารแถ ลอยตัว จับตาหาแพะรับบาป . ชั่วโมงนี้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. เป็นหน่วยงานที่กำลังเผชิญกับวิกฤติศรัทธาและความเชื่อมั่นของประชาชนอย่างรุนแรง ภายหลังเกิดเหตุการณ์อาคารสำนักงานแห่งใหม่ที่อยู่ในระหว่างการก่อสร้างถล่มเมื่อวันที่28 มีนาคมที่ผ่านมา อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000036112 #News1live #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Haha
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 695 มุมมอง 0 รีวิว
  • "อยู่ข้างตัวเอง: ชนะโชคร้ายด้วยสติและกรรมใหม่"

    1. จุดเปลี่ยนสำคัญในชีวิต

    ไม่ได้มาจาก “แรงเฉื่อยของโชคดี”

    แต่มักเกิดจาก “แรงกดดันของโชคร้าย”

    โชคร้ายบีบให้เราต้อง “คิดต่าง” หรือ “เติบโต” ถ้าใช้สติให้ถูก

    ---

    2. โชคร้ายไม่ใช่เรื่องบังเอิญ

    ทุกโชคร้ายคือผลของกรรมเก่าที่เราเคยทำไว้

    คนที่เข้ามาในชีวิตเราทำให้เราทุกข์หรือสุข ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ
    แต่สะท้อน “สิ่งที่เราเคยทำกับคนอื่น”

    ถ้าเข้าใจเรื่องกรรมอย่างลึกซึ้ง
    จะเลิกโทษคนอื่น และหันมา “ขอบคุณตัวเอง”
    ทั้งยามดีและร้าย

    ---

    3. เจริญสติคือกุญแจ

    เจริญสติจะช่วยให้เห็นว่า:

    กายคือทางรับกรรม

    ใจคือผู้เลือกกรรม

    เมื่อรู้ชัดว่าทุกสิ่งมีเหตุและผล
    จะไม่อยากผูกเวร ไม่อยากเบียดเบียนใคร
    แต่อยากให้อภัยและให้ทุกคนเป็นสุข

    ---

    4. รู้ทันกิเลสคือทางชนะ

    ถ้าตัดสินใจ อยู่ข้างแรงต้านกิเลส (ศีล มโนธรรม เหตุผล)
    → ได้แต้มบุญเพิ่ม

    ถ้าตามแรงกิเลส (ความโกรธ ความโลภ)
    → ตกแต้มบาปทันที

    ---

    5. สุดท้าย…คุณเลือกได้

    "ความเป็นมนุษย์ของคุณ คือพลังต่อต้านแรงบีบคั้น
    คุณแค่เลือกว่าจะอยู่ข้างตัวเอง หรือเลือกเข้าข้างกิเลสเท่านั้น"
    "อยู่ข้างตัวเอง: ชนะโชคร้ายด้วยสติและกรรมใหม่" 1. จุดเปลี่ยนสำคัญในชีวิต ไม่ได้มาจาก “แรงเฉื่อยของโชคดี” แต่มักเกิดจาก “แรงกดดันของโชคร้าย” โชคร้ายบีบให้เราต้อง “คิดต่าง” หรือ “เติบโต” ถ้าใช้สติให้ถูก --- 2. โชคร้ายไม่ใช่เรื่องบังเอิญ ทุกโชคร้ายคือผลของกรรมเก่าที่เราเคยทำไว้ คนที่เข้ามาในชีวิตเราทำให้เราทุกข์หรือสุข ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แต่สะท้อน “สิ่งที่เราเคยทำกับคนอื่น” ถ้าเข้าใจเรื่องกรรมอย่างลึกซึ้ง จะเลิกโทษคนอื่น และหันมา “ขอบคุณตัวเอง” ทั้งยามดีและร้าย --- 3. เจริญสติคือกุญแจ เจริญสติจะช่วยให้เห็นว่า: กายคือทางรับกรรม ใจคือผู้เลือกกรรม เมื่อรู้ชัดว่าทุกสิ่งมีเหตุและผล จะไม่อยากผูกเวร ไม่อยากเบียดเบียนใคร แต่อยากให้อภัยและให้ทุกคนเป็นสุข --- 4. รู้ทันกิเลสคือทางชนะ ถ้าตัดสินใจ อยู่ข้างแรงต้านกิเลส (ศีล มโนธรรม เหตุผล) → ได้แต้มบุญเพิ่ม ถ้าตามแรงกิเลส (ความโกรธ ความโลภ) → ตกแต้มบาปทันที --- 5. สุดท้าย…คุณเลือกได้ "ความเป็นมนุษย์ของคุณ คือพลังต่อต้านแรงบีบคั้น คุณแค่เลือกว่าจะอยู่ข้างตัวเอง หรือเลือกเข้าข้างกิเลสเท่านั้น"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 167 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตัวะพาบาปกรรมไม่ได้อยู่ไกลเรานะ หนึ่งจิต สองตา สามหู สี่ปาก ไวนะพวกนี้
    ตัวะพาบาปกรรมไม่ได้อยู่ไกลเรานะ หนึ่งจิต สองตา สามหู สี่ปาก ไวนะพวกนี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 79 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts