• วันนี้คงต้องแอคทีฟและเข้มงวดมากขึ้น ไหนๆมาถึงจุดที่ท้าทายที่สุดและดุดันไม่เกรงใจใครมากที่สุด ทำตัวดุดันไม่เกรงใจใครไม่ต้องอยู่ใต้อำนาจใคร มีตัวเป็นของตัวเอง เมคและพัฒนาให้มันออกมาดีที่สุด ทำในสิ่งที่อบ รักและใช่สำหรับตัวเอง ผมยึดหลักการนี้มาตลอดจนผมอยู่รอดมาจนถึงทุกวันนี้ แต่ส่วนตัวผมเสพพอดแคสต์และบทสัมภาษณ์กับน้าเน็กกับคนที่โทรปรึกษาน้าเขาครับ ฮีลใจไปเยอะเลย ส่วนตัวผมไม่เคยโทรหาน้าเน็ก แต่ไม่ติดต่และทำตัวเองให้ดีกว่าเดิมก็พอ แต่ผมยังคิดได้ ไม่ได้คิดสั้นขนาดนั้น เพราะต้องอยู่มีชีวิตต่อเพื่อรับความรู้วิทยาการนวัตกรรมใหม่ๆ และไม่ตามการเมืองมากเกินไป สื่อหลักบ้านเราก็ตามน้ำตะวันตกสุดๆละ ส่วนสื่อดีๆอย่าง News1 ต้องอยู่ยงคงกระพัน เป็นเสาหลักในการชนกับมหาอำนาจตะวันตก อเมริกาและอิสราเอลแบบดุดันไม่เกรงใจใคร อีกสื่อนึงที่ทำให้ผมใจฟูมากขึ้นไม่ต่างจากท็อปนิวส์
    วันนี้คงต้องแอคทีฟและเข้มงวดมากขึ้น ไหนๆมาถึงจุดที่ท้าทายที่สุดและดุดันไม่เกรงใจใครมากที่สุด ทำตัวดุดันไม่เกรงใจใครไม่ต้องอยู่ใต้อำนาจใคร มีตัวเป็นของตัวเอง เมคและพัฒนาให้มันออกมาดีที่สุด ทำในสิ่งที่อบ รักและใช่สำหรับตัวเอง ผมยึดหลักการนี้มาตลอดจนผมอยู่รอดมาจนถึงทุกวันนี้ แต่ส่วนตัวผมเสพพอดแคสต์และบทสัมภาษณ์กับน้าเน็กกับคนที่โทรปรึกษาน้าเขาครับ ฮีลใจไปเยอะเลย ส่วนตัวผมไม่เคยโทรหาน้าเน็ก แต่ไม่ติดต่และทำตัวเองให้ดีกว่าเดิมก็พอ แต่ผมยังคิดได้ ไม่ได้คิดสั้นขนาดนั้น เพราะต้องอยู่มีชีวิตต่อเพื่อรับความรู้วิทยาการนวัตกรรมใหม่ๆ และไม่ตามการเมืองมากเกินไป สื่อหลักบ้านเราก็ตามน้ำตะวันตกสุดๆละ ส่วนสื่อดีๆอย่าง News1 ต้องอยู่ยงคงกระพัน เป็นเสาหลักในการชนกับมหาอำนาจตะวันตก อเมริกาและอิสราเอลแบบดุดันไม่เกรงใจใคร อีกสื่อนึงที่ทำให้ผมใจฟูมากขึ้นไม่ต่างจากท็อปนิวส์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 134 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล
    ภาพรวมการส่งออกของไทยในปัจจุบัน อยู่ในสภาวะ
    อ่อนแอลงไปเรื่อยๆ หากไม่ทำอะไรเลย

    นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้งในปี 2540 การส่งออก
    เป็นเครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยมายาวนาน
    คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 60-65% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
    ภายในประเทศ (จีดีพี) การส่งออกมีบทบาทสำคัญ
    ในการสร้างรายได้จากต่างประเทศ การจ้างงาน และเพิ่ม
    ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

    อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยได้สูญเสียบทบาท
    และความสามารถในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเช่นที่เคยเป็นมา

    SCB EIC มองว่า เครื่องยนต์ส่งออกของไทยกำลังอ่อนแรงลงมาก
    จากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งมีส่วนทำให้การส่งออกไทย
    ไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก
    ได้เหมือนในอดีต และไม่สามารถปรับตัวตามกระแสโลก
    ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ทัน

    ปัจจัยภายในประเทศ :

    1) สินค้าส่งออกไทยไม่ค่อยสอดคล้องกับความต้องการของโลก :
    ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดการผลิตสินค้านวัตกรรมใหม่ ๆ
    ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกที่เปลี่ยนไป
    เช่น สมาร์ตโฟน แผงวงจรไฟฟ้า หรือสินค้าที่ผลิตจากพลังงานสะอาด
    ขณะที่สินค้าหมวดเครื่องจักรและเครื่องใช้เครื่องกลที่ไทยผลิต
    กลับเป็นสินค้าที่โลกต้องการซื้อน้อยลงเช่น Hard Disk Drives (HDD)
    ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย แต่เมื่อเทคโนโลยี
    เปลี่ยนไปสู่ Solid State Drives (SSD) ความต้องการ HDD
    ก็ลดลงอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับสินค้าหมวดยานพาหนะ ส่วนประกอบ
    และอุปกรณ์เสริม ที่ไทยเคยส่งออกดีมาก จากการส่งออกยานยนต์
    และเครื่องยนต์สันดาป แต่ปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทาย
    จากการเปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ของผู้ซื้อ ซึ่งรวมมูลค่า
    การส่งออก 2 หมวดใหญ่นี้คิดเป็น 27% ของมูลค่าการส่งออก
    ไทยทั้งหมดในปี 2566

    2) โครงสร้างการผลิตเพื่อส่งออกไทยเปลี่ยนแปลงช้า :
    ภาคการผลิตของไทยยังผูกโยงกับห่วงโซ่อุปทานเก่าอยู่มาก
    ส่งผลให้โครงสร้างการส่งออกเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า
    ขณะที่โครงสร้างการผลิตของประเทศคู่แข่งหลายราย
    ที่เคยผลิตสินค้าล้าสมัยกว่าไทยในอดีต กลับสามารถ
    ปรับตามกระแสความต้องการในตลาดโลกที่เปลี่ยนไปได้
    อย่างรวดเร็วจากการหาห่วงโซ่อุปทานใหม่ สะท้อนจาก
    ส่วนแบ่งยอดขายสินค้าไทยในตลาดโลก ที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
    จาก 10 ปีก่อนมากนัก เช่น รถยนต์ EV แผงวงจรไฟฟ้า/เซมิคอนดักเตอร์
    สมาร์ตโฟน แผงโซลาร์เซลล์ (เป็นกลุ่มสินค้าส่งออกที่มีสัดส่วนสูงขึ้นในตลาดโลก)

    ทั้งนี้ถึงแม้การส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ของไทยจะมีสัดส่วนต่อมูลค่าการส่งออก
    ทั้งหมดสูงขึ้น แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 17% ในปี 2556-2560 เป็น 23%
    ในปี 2561-2565 ซึ่งแตกต่างจากเวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย
    ที่มีสัดส่วนการส่งออกกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นมาก จาก 16% เป็น 32%, 38%
    เป็น 44% และ 40% เป็น 48% ตามลำดับ โดยสาเหตุเป็นเพราะว่า
    ประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ผลิตสินค้ากลุ่มนี้ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง
    มีขั้นตอนการผลิตซับซ้อนกว่า และสร้างมูลค่าเพิ่มสูงกว่าได้
    ในขณะที่ไทยส่วนใหญ่แล้วยังคงผลิตสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลาง
    และมีความซับซ้อนน้อยกว่า สะท้อนขีดความสามารถในการแข่งขันที่ต่ำกว่า
    แสดงให้เห็นว่าไทยอาจไม่ได้รับอานิสงส์จากวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขาขึ้น
    ในปัจจุบันได้มากเท่าประเทศเพื่อนบ้าน

    3) ความสามารถในการกระจายตลาดใหม่ไม่ค่อยสูง :
    การส่งออกของไทยกว่า 75% ยังคงกระจุกตัวในบางตลาดหลัก เช่น จีน สหรัฐฯ
    ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอาเซียน เช่นในอดีต ซึ่งหากเกิดปัญหาเศรษฐกิจขึ้น
    ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ก็อาจสร้างความเสี่ยงสูงต่อไทยตามมา เช่น เศรษฐกิจจีน
    ชะลอตัว ในช่วงที่ผ่านมา จะกระทบการส่งออกไทยไปตลาดจีนตามไปด้วย
    สะท้อนความจำเป็นในการขยายตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยง
    และเพิ่มยอดส่งออกของไทยได้

    จากการวิเคราะห์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักของการส่งออกไทยมาจาก
    ปัญหาเชิงโครงสร้างของภาคการผลิตในประเทศที่ไม่ค่อยตอบโจทย์
    สินค้าใหม่ ๆ คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นสาเหตุทำให้ปัญหาเชิงโครงสร้าง
    ภาคการผลิตของไทยมาถึงจุดนี้?

    SCB EIC มองว่าสาเหตุหลักมาจากทักษะแรงงานไทยและการลงทุน
    จากต่างชาติที่ลดลง :

    1) แรงงานสูงวัยและทักษะต่ำ : ประเทศไทยกำลังเผชิญสังคมผู้สูงอายุ
    22.7% จากประชากรทั้งหมดในปี 2566 (อายุ 60 ปีขึ้นไป) และมีแนวโน้ม
    เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงปัญหาแรงงานขาดทักษะ
    ที่จำเป็น โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งมีความสำคัญต่อการผลิตสินค้า
    และการแข่งขันในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

    ปัญหานี้ทำให้การผลิตสินค้าเทคโนโลยีของไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ
    เทคโนโลยีขั้นกลาง และการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงจึงเกิดขึ้นค่อนข้างช้า
    เนื่องจากเพิ่มศักยภาพแรงงานไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

    2) สัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ลดลง :
    FDI เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยได้รับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และทันสมัย
    เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและการส่งออก
    รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
    การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในไทยลดลงมาก จากที่เคยเป็นหนึ่ง
    ในจุดหมายปลายทางหลักในอาเซียน ไทยกลับตกอันดับมาเรื่อย ๆ
    อยู่อันดับ 7 ในปี 2566 แย่กว่าในปี 2543 2553 และ 2562 ที่อันดับ 3, 3,
    และ 6 ตามลำดับ เสียอีก (ข้อมูลจาก World Bank)

    สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก

    (1) ทักษะแรงงานไทยไม่สูงและสัดส่วนแรงงานสูงวัย
    ยังมีมากที่สุดในอาเซียน

    (2) ไทยขาดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA)
    กับประเทศสำคัญ ๆ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ประเทศคู่แข่ง
    เช่น เวียดนาม ได้เปรียบจากการมีข้อตกลง FTA กับสหภาพยุโรป
    และการเข้าร่วม CPTPP ทำให้เข้าถึงตลาดสำคัญในโลกได้ง่ายขึ้น

    (3) การเมืองไทยมีความไม่แน่นอนสูง

    (4) นโยบายเศรษฐกิจระยะยาวขาดความชัดเจนและความต่อเนื่อง
    นักลงทุนไทยและต่างประเทศขาดความมั่นใจที่จะลงทุน
    วิจัยและพัฒนา (R&D) ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เนื่องจากเป็นการลงทุนสูง
    และใช้เวลากว่าจะเห็นผล และ

    (5) กฎระเบียบภาครัฐซับซ้อน ซึ่งเป็นปัจจัยหลัก ๆ ที่ทำให้นักลงทุน
    ต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง
    และนโยบายและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลงทุนดีกว่า

    ปัจจัยภายนอก :

    การส่งออกของไทยยังเผชิญแรงกดดันจากปัจจัยภายนอกหลายประการ

    ได้แก่ 1) China over-capacity ที่อาจซ้ำเติมปัญหาความสามารถ
    ในการแข่งขันของไทย โดยเฉพาะความสามารถในการแข่งขันด้านราคา
    กับสินค้าจีน

    2) ผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ อาจสร้างความไม่แน่นอนของนโยบายภาษี
    สินค้านำเข้าทุกประเภทจากทุกประเทศเพิ่มเติม

    3) ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์จากสงครามยืดเยื้อ การแบ่งขั้ว
    ทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น หรือมาตรการกีดกันการค้าที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบ
    ต่อการค้าโลก

    4) การผันผวนของค่าเงินบาท จากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลาง
    สำคัญทั่วโลก

    (5) ค่าระวางเรือและค่าขนส่งที่อาจจะกลับมาสูงขึ้น จากสงครามที่เกิดขึ้นบ่อย
    และรุนแรงขึ้น รวมถึงปัญหาการขาดแคลนเรือขนส่งและตู้คอนเทนเนอร์


    ปัจจัยภายในและนอกประเทศเหล่านี้กดดันให้เครื่องยนต์ส่งออกของไทย
    อ่อนแอลง และเป็นสัญญาณที่น่ากังวล เนื่องจากการบริโภคและการลงทุน
    ในประเทศก็กำลังอ่อนแรงเช่นกัน โดยการบริโภคถูกจำกัดจากภาระหนี้
    ครัวเรือนสูง และการลงทุนได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ในประเทศ
    ที่เปราะบาง

    อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยยังไม่ไร้ความหวังเสียทีเดียว
    หากรัฐบาลสามารถจัดการ 3 ปัจจัยหลักได้ ได้แก่ แรงงาน การลงทุน
    โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) และยุทธศาสตร์นโยบายอุปทานที่ชัดเจน
    ประเทศไทยจะสามารถปรับโครงสร้างการผลิตให้แข็งแกร่งขึ้น
    และช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้บนข้อได้เปรียบที่ไทยมีอยู่แล้ว
    เช่น โครงสร้างพื้นฐานที่ดี ทังนี้ปัจจัยกดดันจากภายนอกเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ
    ควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่าหากโครงสร้างการผลิตของไทย
    แข็งแกร่ง จะช่วยลดผลกระทบจากปัจจัยเหล่านี้ได้ และอาจทำให้ไทย
    ได้รับประโยชน์จากบางปัจจัย เช่น ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจนำมาซึ่ง
    การย้ายฐานการผลิตและการลงทุนใหม่ ๆ

    การส่งออกไทยในปัจจุบันเปรียบเหมือนรถที่กำลังวิ่งอย่างเชื่องช้า
    ที่ต้องเลือกว่าจะเริ่มซ่อมแซมและปรับปรุงโครงสร้างเครื่องยนต์
    ให้ทันสมัยจุดไหนบ้าง เพื่อให้รถคันนี้กลับมาวิ่งเร็วได้อีกครั้ง
    แต่หากไม่เริ่มทำอะไรวันนี้ เครื่องยนต์เก่านี้อาจพังในไม่ช้า
    ทำให้รถเราค่อยๆ หยุดวิ่ง และปล่อยให้รถคันอื่นแซงหน้า
    ไปคันแล้วคันเล่า

    ที่มา : SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #การส่งออกไทย #thaitimes
    💥💥ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล ภาพรวมการส่งออกของไทยในปัจจุบัน อยู่ในสภาวะ อ่อนแอลงไปเรื่อยๆ หากไม่ทำอะไรเลย นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้งในปี 2540 การส่งออก เป็นเครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยมายาวนาน คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 60-65% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (จีดีพี) การส่งออกมีบทบาทสำคัญ ในการสร้างรายได้จากต่างประเทศ การจ้างงาน และเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยได้สูญเสียบทบาท และความสามารถในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเช่นที่เคยเป็นมา SCB EIC มองว่า เครื่องยนต์ส่งออกของไทยกำลังอ่อนแรงลงมาก จากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งมีส่วนทำให้การส่งออกไทย ไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก ได้เหมือนในอดีต และไม่สามารถปรับตัวตามกระแสโลก ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ทัน ปัจจัยภายในประเทศ : 1) สินค้าส่งออกไทยไม่ค่อยสอดคล้องกับความต้องการของโลก : ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดการผลิตสินค้านวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกที่เปลี่ยนไป เช่น สมาร์ตโฟน แผงวงจรไฟฟ้า หรือสินค้าที่ผลิตจากพลังงานสะอาด ขณะที่สินค้าหมวดเครื่องจักรและเครื่องใช้เครื่องกลที่ไทยผลิต กลับเป็นสินค้าที่โลกต้องการซื้อน้อยลงเช่น Hard Disk Drives (HDD) ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย แต่เมื่อเทคโนโลยี เปลี่ยนไปสู่ Solid State Drives (SSD) ความต้องการ HDD ก็ลดลงอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับสินค้าหมวดยานพาหนะ ส่วนประกอบ และอุปกรณ์เสริม ที่ไทยเคยส่งออกดีมาก จากการส่งออกยานยนต์ และเครื่องยนต์สันดาป แต่ปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทาย จากการเปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ของผู้ซื้อ ซึ่งรวมมูลค่า การส่งออก 2 หมวดใหญ่นี้คิดเป็น 27% ของมูลค่าการส่งออก ไทยทั้งหมดในปี 2566 2) โครงสร้างการผลิตเพื่อส่งออกไทยเปลี่ยนแปลงช้า : ภาคการผลิตของไทยยังผูกโยงกับห่วงโซ่อุปทานเก่าอยู่มาก ส่งผลให้โครงสร้างการส่งออกเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า ขณะที่โครงสร้างการผลิตของประเทศคู่แข่งหลายราย ที่เคยผลิตสินค้าล้าสมัยกว่าไทยในอดีต กลับสามารถ ปรับตามกระแสความต้องการในตลาดโลกที่เปลี่ยนไปได้ อย่างรวดเร็วจากการหาห่วงโซ่อุปทานใหม่ สะท้อนจาก ส่วนแบ่งยอดขายสินค้าไทยในตลาดโลก ที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง จาก 10 ปีก่อนมากนัก เช่น รถยนต์ EV แผงวงจรไฟฟ้า/เซมิคอนดักเตอร์ สมาร์ตโฟน แผงโซลาร์เซลล์ (เป็นกลุ่มสินค้าส่งออกที่มีสัดส่วนสูงขึ้นในตลาดโลก) ทั้งนี้ถึงแม้การส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ของไทยจะมีสัดส่วนต่อมูลค่าการส่งออก ทั้งหมดสูงขึ้น แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 17% ในปี 2556-2560 เป็น 23% ในปี 2561-2565 ซึ่งแตกต่างจากเวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ที่มีสัดส่วนการส่งออกกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นมาก จาก 16% เป็น 32%, 38% เป็น 44% และ 40% เป็น 48% ตามลำดับ โดยสาเหตุเป็นเพราะว่า ประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ผลิตสินค้ากลุ่มนี้ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง มีขั้นตอนการผลิตซับซ้อนกว่า และสร้างมูลค่าเพิ่มสูงกว่าได้ ในขณะที่ไทยส่วนใหญ่แล้วยังคงผลิตสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลาง และมีความซับซ้อนน้อยกว่า สะท้อนขีดความสามารถในการแข่งขันที่ต่ำกว่า แสดงให้เห็นว่าไทยอาจไม่ได้รับอานิสงส์จากวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขาขึ้น ในปัจจุบันได้มากเท่าประเทศเพื่อนบ้าน 3) ความสามารถในการกระจายตลาดใหม่ไม่ค่อยสูง : การส่งออกของไทยกว่า 75% ยังคงกระจุกตัวในบางตลาดหลัก เช่น จีน สหรัฐฯ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอาเซียน เช่นในอดีต ซึ่งหากเกิดปัญหาเศรษฐกิจขึ้น ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ก็อาจสร้างความเสี่ยงสูงต่อไทยตามมา เช่น เศรษฐกิจจีน ชะลอตัว ในช่วงที่ผ่านมา จะกระทบการส่งออกไทยไปตลาดจีนตามไปด้วย สะท้อนความจำเป็นในการขยายตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยง และเพิ่มยอดส่งออกของไทยได้ จากการวิเคราะห์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักของการส่งออกไทยมาจาก ปัญหาเชิงโครงสร้างของภาคการผลิตในประเทศที่ไม่ค่อยตอบโจทย์ สินค้าใหม่ ๆ คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นสาเหตุทำให้ปัญหาเชิงโครงสร้าง ภาคการผลิตของไทยมาถึงจุดนี้? SCB EIC มองว่าสาเหตุหลักมาจากทักษะแรงงานไทยและการลงทุน จากต่างชาติที่ลดลง : 1) แรงงานสูงวัยและทักษะต่ำ : ประเทศไทยกำลังเผชิญสังคมผู้สูงอายุ 22.7% จากประชากรทั้งหมดในปี 2566 (อายุ 60 ปีขึ้นไป) และมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงปัญหาแรงงานขาดทักษะ ที่จำเป็น โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งมีความสำคัญต่อการผลิตสินค้า และการแข่งขันในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ปัญหานี้ทำให้การผลิตสินค้าเทคโนโลยีของไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ เทคโนโลยีขั้นกลาง และการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงจึงเกิดขึ้นค่อนข้างช้า เนื่องจากเพิ่มศักยภาพแรงงานไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 2) สัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ลดลง : FDI เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยได้รับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และทันสมัย เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและการส่งออก รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในไทยลดลงมาก จากที่เคยเป็นหนึ่ง ในจุดหมายปลายทางหลักในอาเซียน ไทยกลับตกอันดับมาเรื่อย ๆ อยู่อันดับ 7 ในปี 2566 แย่กว่าในปี 2543 2553 และ 2562 ที่อันดับ 3, 3, และ 6 ตามลำดับ เสียอีก (ข้อมูลจาก World Bank) สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก (1) ทักษะแรงงานไทยไม่สูงและสัดส่วนแรงงานสูงวัย ยังมีมากที่สุดในอาเซียน (2) ไทยขาดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) กับประเทศสำคัญ ๆ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ประเทศคู่แข่ง เช่น เวียดนาม ได้เปรียบจากการมีข้อตกลง FTA กับสหภาพยุโรป และการเข้าร่วม CPTPP ทำให้เข้าถึงตลาดสำคัญในโลกได้ง่ายขึ้น (3) การเมืองไทยมีความไม่แน่นอนสูง (4) นโยบายเศรษฐกิจระยะยาวขาดความชัดเจนและความต่อเนื่อง นักลงทุนไทยและต่างประเทศขาดความมั่นใจที่จะลงทุน วิจัยและพัฒนา (R&D) ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เนื่องจากเป็นการลงทุนสูง และใช้เวลากว่าจะเห็นผล และ (5) กฎระเบียบภาครัฐซับซ้อน ซึ่งเป็นปัจจัยหลัก ๆ ที่ทำให้นักลงทุน ต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง และนโยบายและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลงทุนดีกว่า ปัจจัยภายนอก : การส่งออกของไทยยังเผชิญแรงกดดันจากปัจจัยภายนอกหลายประการ ได้แก่ 1) China over-capacity ที่อาจซ้ำเติมปัญหาความสามารถ ในการแข่งขันของไทย โดยเฉพาะความสามารถในการแข่งขันด้านราคา กับสินค้าจีน 2) ผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ อาจสร้างความไม่แน่นอนของนโยบายภาษี สินค้านำเข้าทุกประเภทจากทุกประเทศเพิ่มเติม 3) ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์จากสงครามยืดเยื้อ การแบ่งขั้ว ทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น หรือมาตรการกีดกันการค้าที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบ ต่อการค้าโลก 4) การผันผวนของค่าเงินบาท จากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลาง สำคัญทั่วโลก (5) ค่าระวางเรือและค่าขนส่งที่อาจจะกลับมาสูงขึ้น จากสงครามที่เกิดขึ้นบ่อย และรุนแรงขึ้น รวมถึงปัญหาการขาดแคลนเรือขนส่งและตู้คอนเทนเนอร์ ปัจจัยภายในและนอกประเทศเหล่านี้กดดันให้เครื่องยนต์ส่งออกของไทย อ่อนแอลง และเป็นสัญญาณที่น่ากังวล เนื่องจากการบริโภคและการลงทุน ในประเทศก็กำลังอ่อนแรงเช่นกัน โดยการบริโภคถูกจำกัดจากภาระหนี้ ครัวเรือนสูง และการลงทุนได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ในประเทศ ที่เปราะบาง อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยยังไม่ไร้ความหวังเสียทีเดียว หากรัฐบาลสามารถจัดการ 3 ปัจจัยหลักได้ ได้แก่ แรงงาน การลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) และยุทธศาสตร์นโยบายอุปทานที่ชัดเจน ประเทศไทยจะสามารถปรับโครงสร้างการผลิตให้แข็งแกร่งขึ้น และช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้บนข้อได้เปรียบที่ไทยมีอยู่แล้ว เช่น โครงสร้างพื้นฐานที่ดี ทังนี้ปัจจัยกดดันจากภายนอกเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่าหากโครงสร้างการผลิตของไทย แข็งแกร่ง จะช่วยลดผลกระทบจากปัจจัยเหล่านี้ได้ และอาจทำให้ไทย ได้รับประโยชน์จากบางปัจจัย เช่น ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจนำมาซึ่ง การย้ายฐานการผลิตและการลงทุนใหม่ ๆ การส่งออกไทยในปัจจุบันเปรียบเหมือนรถที่กำลังวิ่งอย่างเชื่องช้า ที่ต้องเลือกว่าจะเริ่มซ่อมแซมและปรับปรุงโครงสร้างเครื่องยนต์ ให้ทันสมัยจุดไหนบ้าง เพื่อให้รถคันนี้กลับมาวิ่งเร็วได้อีกครั้ง แต่หากไม่เริ่มทำอะไรวันนี้ เครื่องยนต์เก่านี้อาจพังในไม่ช้า ทำให้รถเราค่อยๆ หยุดวิ่ง และปล่อยให้รถคันอื่นแซงหน้า ไปคันแล้วคันเล่า ที่มา : SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #การส่งออกไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • นวัตกรรมใหม่ เมื่อแม่ใช้ลูกชายให้ซักผ้า แต่สิ่งที่ลูกทำ แม่ถึงกับอึ้งไม่รู้จะโกรธหรือดีใจดี

    #News1 #Newsstory #นวัตกรรมใหม่ #เมื่อแม่ใช้ลูกซักผ้า
    นวัตกรรมใหม่ เมื่อแม่ใช้ลูกชายให้ซักผ้า แต่สิ่งที่ลูกทำ แม่ถึงกับอึ้งไม่รู้จะโกรธหรือดีใจดี #News1 #Newsstory #นวัตกรรมใหม่ #เมื่อแม่ใช้ลูกซักผ้า
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 501 มุมมอง 167 0 รีวิว
  • เมื่อแม่ใช้ลูกซักผ้า : [News story]

    นวัตกรรมใหม่ เมื่อแม่ใช้ลูกชายให้ซักผ้า แต่สิ่งที่ลูกทำ แม่ถึงกับอึ้งไม่รู้จะโกรธหรือดีใจดี
    เมื่อแม่ใช้ลูกซักผ้า : [News story] นวัตกรรมใหม่ เมื่อแม่ใช้ลูกชายให้ซักผ้า แต่สิ่งที่ลูกทำ แม่ถึงกับอึ้งไม่รู้จะโกรธหรือดีใจดี
    Like
    Love
    8
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1275 มุมมอง 269 0 รีวิว
  • UGG
    CHESTER CAPRA SLIPPER
    Size. US 11 /UK 10 /EUR 44 /29 cm

    🔥 Price : 690฿

    UGG แบรนด์แฟชั่นจากรองเท้าชาวเลมาสู่แฟชั่นระดับโลก มีที่มาจากรองเท้าขนแกะของชาวเลในออสเตรเลีย แต่ปัจจุบันเป็นของบริษัท Deckers Outdoor ซึ่งเป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน และได้รับความนิยมไปทั่วโลก เนื่องจากความสบายและความอบอุ่นของรองเท้า

    👉 รายละเอียด :-
    UGG : CHESTER CAPRA SLIPPER คือนวัตกรรมใหม่ที่ใช้บนท้องถนนในรูปทรงที่เรียบง่ายผสมผสานความสบายของรองเท้าแตะและการใช้งานของรองเท้าลำลองเข้าด้วยกัน หนังแกะนุ่มๆและพื้นรองเท้าด้านนอกยางวัลคาไนซ์ เป็นสิ่งยืนยันถึงประโยชน์ใช้สอยในชีวิตประจำวันของ Chester Capra Slipper
    🔹ส่วนบนทำจากหนังแกะที่หนานุ่ม
    🔹ตะเข็บตกแต่งให้ดูโดดเด่น
    🔹เชือกผูกหนังแบบตายตัว
    🔹ซับในทำจากหนังแกะ
    🔹พื้นรองเท้าชั้นกลางทำจาก EVA Foam
    🔹พื้นรองเท้าด้านนอกทำจาก Vulcanized Rubber แบบฉีดขึ้นรูป
    🔹โลโก้ UGG® ประทับด้วยความร้อนบนพื้นรองเท้า

    👉 เรื่องราว :-
    แบรนด์ UGG โดยบริษัท Deckers Outdoor ซึ่งเป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน มีรากฐานมาจากรองเท้าที่ทำจากขนแกะของชาวเลในออสเตรเลียสู่แฟชั่นระดับโลก ซึ่งสวมใส่เพื่อความอบอุ่นในสภาพอากาศหนาวเย็น

    แบรนด์ UGG ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในกลุ่มนักเล่นเซิร์ฟและนักสกี เนื่องจากความนุ่มสบายและความอบอุ่นของรองเท้า จนประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากในสหรัฐอเมริกา และก็ขยายตลาดไปทั่วโลก กลายเป็นแฟชั่นไอเท็มที่ได้รับความนิยมจากคนทุกเพศทุกวัย
    UGG CHESTER CAPRA SLIPPER Size. US 11 /UK 10 /EUR 44 /29 cm 🔥 Price : 690฿ UGG แบรนด์แฟชั่นจากรองเท้าชาวเลมาสู่แฟชั่นระดับโลก มีที่มาจากรองเท้าขนแกะของชาวเลในออสเตรเลีย แต่ปัจจุบันเป็นของบริษัท Deckers Outdoor ซึ่งเป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน และได้รับความนิยมไปทั่วโลก เนื่องจากความสบายและความอบอุ่นของรองเท้า 👉 รายละเอียด :- UGG : CHESTER CAPRA SLIPPER คือนวัตกรรมใหม่ที่ใช้บนท้องถนนในรูปทรงที่เรียบง่ายผสมผสานความสบายของรองเท้าแตะและการใช้งานของรองเท้าลำลองเข้าด้วยกัน หนังแกะนุ่มๆและพื้นรองเท้าด้านนอกยางวัลคาไนซ์ เป็นสิ่งยืนยันถึงประโยชน์ใช้สอยในชีวิตประจำวันของ Chester Capra Slipper 🔹ส่วนบนทำจากหนังแกะที่หนานุ่ม 🔹ตะเข็บตกแต่งให้ดูโดดเด่น 🔹เชือกผูกหนังแบบตายตัว 🔹ซับในทำจากหนังแกะ 🔹พื้นรองเท้าชั้นกลางทำจาก EVA Foam 🔹พื้นรองเท้าด้านนอกทำจาก Vulcanized Rubber แบบฉีดขึ้นรูป 🔹โลโก้ UGG® ประทับด้วยความร้อนบนพื้นรองเท้า 👉 เรื่องราว :- แบรนด์ UGG โดยบริษัท Deckers Outdoor ซึ่งเป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน มีรากฐานมาจากรองเท้าที่ทำจากขนแกะของชาวเลในออสเตรเลียสู่แฟชั่นระดับโลก ซึ่งสวมใส่เพื่อความอบอุ่นในสภาพอากาศหนาวเย็น แบรนด์ UGG ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในกลุ่มนักเล่นเซิร์ฟและนักสกี เนื่องจากความนุ่มสบายและความอบอุ่นของรองเท้า จนประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากในสหรัฐอเมริกา และก็ขยายตลาดไปทั่วโลก กลายเป็นแฟชั่นไอเท็มที่ได้รับความนิยมจากคนทุกเพศทุกวัย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไข่เจียว(มังสวิรัติ) สูตร 2 ..ไข่เจียวผัก

    สูตรนี้.. ไม่ได้ใช้ไข่ไก่ แต่..ใช้ ไข่สำเร็จรูปบรรจุขวด JUST Egg เป็นไข่เหลว ที่ เป็นนวัตกรรมใหม่ผลิตจากโปรตีนถั่วเขียว มีจำหน่ายตามซุปเปอร์มาร์เก็ต(ชั้นนำ)ในเมืองไทยแล้ว
    .........................................................................

    1. ตั้งกระทะ ใส่น้ำมันมะพร้าว(สกัดเย็น) ใช้ไฟปานกลาง ผัดบร๊อคโคลี่(สับ) และ ผักโขม ให้นิ่ม ปรุงรสด้วยซ๊อสปรุงรสเห็ดหอม พริกไทย ตามชอบ พักไว้
    2. ชามผสม ริน Just Egg +ซ๊อสปรุงรสเห็ดหอม ตีให้เข้ากัน
    3. ใส่น้ำมันมะพร้าว 1 ช้อนชาในกระทะ จากนั้นเทส่วนผสม "ไข่" ลงไป เอียงและรินกระทะ เพื่อให้ไข่กระจายเป็นวงกลมเท่าๆ กัน
    4. ปิดกระทะและปล่อยให้สุกประมาณ 2-3 นาที จนเกือบสุกและไม่มีของเหลวอยู่ด้านบนอีกต่อไป ตรวจสอบให้แน่ใจว่ากระทะไม่ร้อนเกินไป มิฉะนั้นจะไม่สุกดีและก้นกระทะจะไหม้ หากใช้เวลานานกว่านี้เล็กน้อยก็ไม่เป็นไร
    5. ใส่ผักผัด ลงไปด้านหนึ่งของไข่เจียว พับด้านหนึ่งทับเพื่อคลุมไส้ ปิดฝาแล้วปล่อยให้สุกอีกสองสามนาที

    เสิร์ฟทันที..พร้อมเหยาะ ซอสพริกศรีราชา พริกไทยดำ โรยด้วย ต้นหอมซอย และ อะโวคาโด 2-3 ชิ้น
    .
    .
    พัชรี ว่องไววิทย์
    September27, 2024
    San Francisco, CA94108
    ไข่เจียว(มังสวิรัติ) สูตร 2 ..ไข่เจียวผัก สูตรนี้.. ไม่ได้ใช้ไข่ไก่ แต่..ใช้ ไข่สำเร็จรูปบรรจุขวด JUST Egg เป็นไข่เหลว ที่ เป็นนวัตกรรมใหม่ผลิตจากโปรตีนถั่วเขียว มีจำหน่ายตามซุปเปอร์มาร์เก็ต(ชั้นนำ)ในเมืองไทยแล้ว ......................................................................... 1. ตั้งกระทะ ใส่น้ำมันมะพร้าว(สกัดเย็น) ใช้ไฟปานกลาง ผัดบร๊อคโคลี่(สับ) และ ผักโขม ให้นิ่ม ปรุงรสด้วยซ๊อสปรุงรสเห็ดหอม พริกไทย ตามชอบ พักไว้ 2. ชามผสม ริน Just Egg +ซ๊อสปรุงรสเห็ดหอม ตีให้เข้ากัน 3. ใส่น้ำมันมะพร้าว 1 ช้อนชาในกระทะ จากนั้นเทส่วนผสม "ไข่" ลงไป เอียงและรินกระทะ เพื่อให้ไข่กระจายเป็นวงกลมเท่าๆ กัน 4. ปิดกระทะและปล่อยให้สุกประมาณ 2-3 นาที จนเกือบสุกและไม่มีของเหลวอยู่ด้านบนอีกต่อไป ตรวจสอบให้แน่ใจว่ากระทะไม่ร้อนเกินไป มิฉะนั้นจะไม่สุกดีและก้นกระทะจะไหม้ หากใช้เวลานานกว่านี้เล็กน้อยก็ไม่เป็นไร 5. ใส่ผักผัด ลงไปด้านหนึ่งของไข่เจียว พับด้านหนึ่งทับเพื่อคลุมไส้ ปิดฝาแล้วปล่อยให้สุกอีกสองสามนาที เสิร์ฟทันที..พร้อมเหยาะ ซอสพริกศรีราชา พริกไทยดำ โรยด้วย ต้นหอมซอย และ อะโวคาโด 2-3 ชิ้น . . พัชรี ว่องไววิทย์ September27, 2024 San Francisco, CA94108
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
  • Clarks
    (121113292)
    Clarks Originals Wallabee Suede Loafers Shoes
    Size. UK 7G /26 cm
    ⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️ Excellent Condition (95%+)

    🔥 Price : 1,390฿

    👉 เรื่องราว :-
    Clarks เป็นแบรนด์รองเท้าที่มีต้นกำเนิดจากประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นในปี 1825 โดยพี่น้องตระกูล Clark ที่มีความชำนาญในการทำรองเท้าหนังแกะ

    ✅ จุดเด่นของ Clarks :-
    🔹ประสบการณ์ยาวนาน : ด้วยประวัติอันยาวนานกว่า 190 ปี Clarks จึงสั่งสมประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการผลิต รองเท้าที่มีคุณภาพและดีไซน์ที่โดดเด่น
    🔹นวัตกรรม : Clarks ไม่หยุดนิ่งในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อให้รองเท้ามีความสบายและตอบสนองต่อความต้องการของผู้สวมใส่ได้มากยิ่งขึ้น
    🔹ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ : Clarks ผลิตรองเท้าหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่รองเท้าลำลองไปจนถึงรองเท้าทางการ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคทุกกลุ่ม
    🔹คุณภาพ : Clarks ให้ความสำคัญกับคุณภาพของวัสดุและกระบวนการผลิต เพื่อให้ได้รองเท้าที่มีความทนทานและใช้งานได้ยาวนาน
    🔹ความคลาสสิก : ดีไซน์ของรองเท้า Clarks มักมีความคลาสสิกและไม่ตกยุค ทำให้สามารถสวมใส่ได้ในทุกโอกาส
    🔹ความสบาย : รองเท้า Clarks เน้นเรื่องความสบายในการสวมใส่ ทำให้รู้สึกสบายเท้าตลอดทั้งวัน

    🔥รองเท้ารุ่นที่โด่งดัง :-
    🔹Desert Boot : รองเท้าบูทหนังกลับทรงคลาสสิกที่ได้รับแรงบันดาลใจจากรองเท้าของทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
    🔹Wallabee : รองเท้าหนังกลับทรงโมคาซินที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้วยดีไซน์ที่เรียบง่ายแต่สวยงาม
    Clarks (121113292) Clarks Originals Wallabee Suede Loafers Shoes Size. UK 7G /26 cm ⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️ Excellent Condition (95%+) 🔥 Price : 1,390฿ 👉 เรื่องราว :- Clarks เป็นแบรนด์รองเท้าที่มีต้นกำเนิดจากประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นในปี 1825 โดยพี่น้องตระกูล Clark ที่มีความชำนาญในการทำรองเท้าหนังแกะ ✅ จุดเด่นของ Clarks :- 🔹ประสบการณ์ยาวนาน : ด้วยประวัติอันยาวนานกว่า 190 ปี Clarks จึงสั่งสมประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการผลิต รองเท้าที่มีคุณภาพและดีไซน์ที่โดดเด่น 🔹นวัตกรรม : Clarks ไม่หยุดนิ่งในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อให้รองเท้ามีความสบายและตอบสนองต่อความต้องการของผู้สวมใส่ได้มากยิ่งขึ้น 🔹ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ : Clarks ผลิตรองเท้าหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่รองเท้าลำลองไปจนถึงรองเท้าทางการ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคทุกกลุ่ม 🔹คุณภาพ : Clarks ให้ความสำคัญกับคุณภาพของวัสดุและกระบวนการผลิต เพื่อให้ได้รองเท้าที่มีความทนทานและใช้งานได้ยาวนาน 🔹ความคลาสสิก : ดีไซน์ของรองเท้า Clarks มักมีความคลาสสิกและไม่ตกยุค ทำให้สามารถสวมใส่ได้ในทุกโอกาส 🔹ความสบาย : รองเท้า Clarks เน้นเรื่องความสบายในการสวมใส่ ทำให้รู้สึกสบายเท้าตลอดทั้งวัน 🔥รองเท้ารุ่นที่โด่งดัง :- 🔹Desert Boot : รองเท้าบูทหนังกลับทรงคลาสสิกที่ได้รับแรงบันดาลใจจากรองเท้าของทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 🔹Wallabee : รองเท้าหนังกลับทรงโมคาซินที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้วยดีไซน์ที่เรียบง่ายแต่สวยงาม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว