• กองเงินกองทอง ทำสวนมาก็ได้ปันผลประมาณนี้ จ่ายทุกหน้าแล้ง ส่วนที่เป็นต้นทุนลงเป็นก้อนโตขึ้นทุกวัน ถอนออกมาใช้ยังไม่ได้เพราะติดดอย😆 ยังดีที่มีเก็บส่วนต่างได้บ้างตามรอบ คือสุขภาพและใจเบิกบาน ... แอะไงเนี่ย! ไม่ใช่รายงานพอร์ทหุ้นแต่เป็นภาพรวมการเกษตรแบบอินดี้ค่ะ🤣🤣🤣
    #จ๊อดอินดี้
    กองเงินกองทอง ทำสวนมาก็ได้ปันผลประมาณนี้ จ่ายทุกหน้าแล้ง ส่วนที่เป็นต้นทุนลงเป็นก้อนโตขึ้นทุกวัน ถอนออกมาใช้ยังไม่ได้เพราะติดดอย😆 ยังดีที่มีเก็บส่วนต่างได้บ้างตามรอบ คือสุขภาพและใจเบิกบาน ... แอะไงเนี่ย! ไม่ใช่รายงานพอร์ทหุ้นแต่เป็นภาพรวมการเกษตรแบบอินดี้ค่ะ🤣🤣🤣 #จ๊อดอินดี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 130 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชณ์ ได้คาดการณ์
    ภาวะเศรษฐกิจไทย ในปีหน้า 2568 ดังนี้

    1.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของไทย (GDP ประเทศไทย)

    SCB EIC ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจไทยปี 2568 เหลือ 2.4%
    จากเดิมที่คาดไว้ 2.6% เนื่องจากผลกระทบของนโยบาย
    "Trump 2.0" ที่อาจเพิ่มความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์
    และการกีดกันทางการค้าอย่างรุนแรง ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจไทย
    ผ่านช่องทางการค้า การผลิต และการลงทุนเป็นหลัก

    สำหรับเศรษฐกิจไทยปี 2567 SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์
    การขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็น 2.7% จากเดิม 2.5%
    โดยเหตุผลหลักมาจากมาตรการแจกเงิน 10,000 บาท
    เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางที่เริ่มตั้งแต่ปลายไตรมาส 3
    การใช้จ่ายของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งเบิกงบประมาณ
    รวมถึงการส่งออกสินค้าที่กลับมาฟื้นตัว

    นอกจากนี้ ยังมีการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
    ในช่วงสองเดือนสุดท้ายของปี ซึ่งช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม

    1.2 อัตราเงินเฟ้อของไทย
    SCB EIC ประเมินว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไทยในปี 2567
    จะอยู่ที่ 0.5% สำหรับปีหน้า (2568) จะอยู่ที่ 1%
    (ประเมิน ณ เดือน พ.ย. 2567)

    1.3 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย
    SCB EIC คาดการณ์ว่า ในการประชุมเดือน ธ.ค. นี้ กนง.
    จะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้เช่นเดิม ตามแนวทางที่ กนง.
    สื่อสารไว้เกี่ยวกับการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงิน
    (Policy space) เพื่อรับมือกับความไม่แน่นอนในระบบเศรษฐกิ
    จและการเงินของไทยในอนาคต

    อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่า กนง. อาจตัดสินใจลดดอกเบี้ย
    นโยบายลงอีก 0.25% ในการประชุมเดือน ก.พ. 2568
    เพื่อช่วยผ่อนคลายสภาพคล่องทางการเงินเพิ่มเติม
    และเศรษฐกิจไทยจะมีความเสี่ยงด้านลบเพิ่มขึ้นจากนโยบาย
    Trump 2.0

    ที่มา : SCBEIC

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ภาวะเศรษฐกิจไทย2568
    #SCBEIC #thaitimes
    💥💥SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชณ์ ได้คาดการณ์ ภาวะเศรษฐกิจไทย ในปีหน้า 2568 ดังนี้ 1.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของไทย (GDP ประเทศไทย) SCB EIC ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจไทยปี 2568 เหลือ 2.4% จากเดิมที่คาดไว้ 2.6% เนื่องจากผลกระทบของนโยบาย "Trump 2.0" ที่อาจเพิ่มความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ และการกีดกันทางการค้าอย่างรุนแรง ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจไทย ผ่านช่องทางการค้า การผลิต และการลงทุนเป็นหลัก สำหรับเศรษฐกิจไทยปี 2567 SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์ การขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็น 2.7% จากเดิม 2.5% โดยเหตุผลหลักมาจากมาตรการแจกเงิน 10,000 บาท เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางที่เริ่มตั้งแต่ปลายไตรมาส 3 การใช้จ่ายของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งเบิกงบประมาณ รวมถึงการส่งออกสินค้าที่กลับมาฟื้นตัว นอกจากนี้ ยังมีการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในช่วงสองเดือนสุดท้ายของปี ซึ่งช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม 1.2 อัตราเงินเฟ้อของไทย SCB EIC ประเมินว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไทยในปี 2567 จะอยู่ที่ 0.5% สำหรับปีหน้า (2568) จะอยู่ที่ 1% (ประเมิน ณ เดือน พ.ย. 2567) 1.3 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย SCB EIC คาดการณ์ว่า ในการประชุมเดือน ธ.ค. นี้ กนง. จะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้เช่นเดิม ตามแนวทางที่ กนง. สื่อสารไว้เกี่ยวกับการรักษาขีดความสามารถของนโยบายการเงิน (Policy space) เพื่อรับมือกับความไม่แน่นอนในระบบเศรษฐกิ จและการเงินของไทยในอนาคต อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่า กนง. อาจตัดสินใจลดดอกเบี้ย นโยบายลงอีก 0.25% ในการประชุมเดือน ก.พ. 2568 เพื่อช่วยผ่อนคลายสภาพคล่องทางการเงินเพิ่มเติม และเศรษฐกิจไทยจะมีความเสี่ยงด้านลบเพิ่มขึ้นจากนโยบาย Trump 2.0 ที่มา : SCBEIC #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ภาวะเศรษฐกิจไทย2568 #SCBEIC #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 667 มุมมอง 0 รีวิว
  • 01/12/67 แอดมิน นั่งทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 2 ตัว ที่มีราคาเหมาะสม และจังหวะในการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    01/12/67 แอดมิน นั่งทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 2 ตัว ที่มีราคาเหมาะสม และจังหวะในการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 469 มุมมอง 0 รีวิว
  • 29/11/2567 สิ่งที่น่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน และโบรก คือ คนซื้อหลักของวันนี้ ส่วนนักลงทุนต่างประเทศ และ นักลงทุนในประเทศ คือ คนขายหลักในวันนี้ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #Thaitimes
    29/11/2567 สิ่งที่น่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน และโบรก คือ คนซื้อหลักของวันนี้ ส่วนนักลงทุนต่างประเทศ และ นักลงทุนในประเทศ คือ คนขายหลักในวันนี้ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 443 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥แอดมิน นั่งทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 2 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    💥แอดมิน นั่งทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 2 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 650 มุมมอง 0 รีวิว
  • 21/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้
    สิ่งที่น่่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน
    และ นักลงทุนในประเทศ คือ คนซื้อหุ้นไทย
    หลักๆ ในวันนี้

    ส่วนนักลงทุนต่างประเทศ และ โบรก
    คือ คนขายหุ้นไทยในวันนี้

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    21/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้ สิ่งที่น่่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน และ นักลงทุนในประเทศ คือ คนซื้อหุ้นไทย หลักๆ ในวันนี้ ส่วนนักลงทุนต่างประเทศ และ โบรก คือ คนขายหุ้นไทยในวันนี้ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 602 มุมมอง 0 รีวิว
  • 20/11/2567 วันนี้ตลาดหุ้นไทย
    สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนต่างประเทศ,
    กองทุน หรือ สถาบัน และ โบรก
    คือ ผู้ขายหลักในวันนี้

    ส่วนนักลงทุนในประเทศ คือ ผู้ซื้อหลัก

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    20/11/2567 วันนี้ตลาดหุ้นไทย สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนต่างประเทศ, กองทุน หรือ สถาบัน และ โบรก คือ ผู้ขายหลักในวันนี้ ส่วนนักลงทุนในประเทศ คือ ผู้ซื้อหลัก #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 522 มุมมอง 0 รีวิว
  • แอดมิน นั่งทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100
    สัปดาห์นี้พบหุ้น ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะ
    การซื้อที่ดีจำนวน ศูนย์ ตัว 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitime
    แอดมิน นั่งทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100 สัปดาห์นี้พบหุ้น ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะ การซื้อที่ดีจำนวน ศูนย์ ตัว 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitime
    Wow
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 552 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥11/11/2567 ตลาดหุ้นไทย
    สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ, โบรก
    และ สถาบัน หรือ กองทุน คือ คนขายหุ้นไทยหลัก

    ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยในวันนี้คือ นักลงทุนในประเทศ

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    💥11/11/2567 ตลาดหุ้นไทย สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ, โบรก และ สถาบัน หรือ กองทุน คือ คนขายหุ้นไทยหลัก ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยในวันนี้คือ นักลงทุนในประเทศ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 595 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥แอดมิน นั่งทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และ จังหวะการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    💥แอดมิน นั่งทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และ จังหวะการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 699 มุมมอง 0 รีวิว
  • 06/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้ สิ่งที่น่าสนใจคือ
    นักลงทุนในประเทศ และสถาบันหรือกองทุน
    คือผู้ซื้อหุ้นไทยในวันนี้ ส่วนคนขายหุ้นไทยหลักๆ
    คือ นักลงทุนต่างประเทศ และ โบรก
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    06/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้ สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนในประเทศ และสถาบันหรือกองทุน คือผู้ซื้อหุ้นไทยในวันนี้ ส่วนคนขายหุ้นไทยหลักๆ คือ นักลงทุนต่างประเทศ และ โบรก #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 476 มุมมอง 0 รีวิว
  • 05/11/2567 วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ
    สถาบัน หรือ กองทุน และ นักลงทุนต่างประเทศ
    คือ คนซื้อหุ้นไทยหลักๆ

    ส่วนนักลงทุนในประเทศ และ โบรก คือ คนขายหุ้นไทยในวันนี้
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    05/11/2567 วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน และ นักลงทุนต่างประเทศ คือ คนซื้อหุ้นไทยหลักๆ ส่วนนักลงทุนในประเทศ และ โบรก คือ คนขายหุ้นไทยในวันนี้ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 604 มุมมอง 0 รีวิว
  • แอดมิน ทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    แอดมิน ทำการบ้านหุ้น SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 706 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..นี้หากมองว่าสายมโน ก็สามารถพูดไม่ผิดได้,แต่แบงค์ไทยจะว่าไปจริงๆก็ปิดปรับปรุงบ่อยมากๆผิดปกติ นี้8พ.ยบวกลบ2-3วันปรับปรุงก็จะทำกันอีกแล้ว.บางคนก็ว่า CBDCสายมืดของฝ่ายมืด,QFSสายฝ่ายแสงฝ่ายดีพะนะ,บางคนก็บอกว่าเหี้ยพวกเดียวกันหมดนั้นล่ะ เล่นหลอกชาวโลกคนละบริบทเฉยพะนะ,ตรองกันเองเน้อ.(ช่วงนี้มีหุ้นขายหุ้นขายกองทุนทิ้งเน้อ จะติดดอย,มีตังฝากในแบงค์มากๆก็คงเหลือไว้สัก100บาทในแต่ละบัญชีก็พอ เขาคุ้มครองแค่ล้านเดียวเนาะ,ไฟดับ หน่วยความจำระบบเหี้ยทั้งแบงค์ถูกแฮ็กลบเป็นว่างเปล่า ตังเป็นศูนย์บาทจะหนาว,ใครทำเองใครทำให้ก็ได้หมดนะ,จงเชื่อแค่ตัวท่านเองเถอะ)

    ..ได้รับการยืนยันแล้ว! การเปิดตัว QFS กำลังบังคับให้ธนาคารกระจายความมั่งคั่งทันที—ภายในการประชุมลับของชนชั้นสูงธนาคาร!

    ระบบการเงินควอนตัม (QFS) เป็นเครื่องมือปลดปล่อยที่ทรงพลังที่สุดเท่าที่เคยมีมา และกำลังเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเงินระดับโลกอย่างเป็นความลับ การเปิดตัว QFS นี้เป็นปฏิบัติการลับเพื่อรื้อถอนระบบการเงินที่ทุจริตซึ่งกดขี่ประชาชนมานานหลายทศวรรษ QFS คืออนาคต—ดำเนินการอย่างแม่นยำและเป็นความลับโดยกลุ่มหมวกขาวและพันธมิตรของพวกเขา

    การโอนความมั่งคั่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์มาถึงแล้ว ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บท QFS ภายใต้ GESARA นี่ไม่ใช่แค่การเชื่อมโยงธนาคารเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการยึดทรัพย์สมบัติที่ขโมยมาของชนชั้นสูงแล้วส่งคืนให้กับประชาชนอีกด้วย เงินหลายล้านล้านที่ขโมยมาจากการโกหกและการจัดการกำลังจะถูกดึงออกมาจากผู้ทุจริตและส่งคืนให้กับประชาชน

    QFS ซึ่งสอดคล้องกับ GESARA กำลังพลิกโฉมระบบการเงิน เป็นเวลาหลายศตวรรษแล้วที่กลุ่มคนชั้นสูงได้กักตุนความมั่งคั่งและอำนาจไว้ แต่ตอนนี้สถานการณ์กลับตาลปัตร ในที่สุดมวลชนก็ได้รับอำนาจ และการผูกขาดของกลุ่มคนระดับโลกกำลังจะสิ้นสุดลง

    ธนาคารทั่วโลกกำลังถูกดึงเข้าสู่ระบบ QFS ด้วยความเร็วที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน นี่ไม่ใช่การอัปเกรดแบบเลือกได้ แต่เป็นความต้องการที่กำลังสั่นคลอนโลกการเงินแบบดั้งเดิม ธนาคารทั้งขนาดใหญ่และเล็กกำลังถูกบูรณาการ ตรวจสอบ และทดสอบ QFS ไม่สนใจสถานะหรือประวัติ แต่จะบังคับใช้การปฏิบัติตามและความซื่อสัตย์อย่างสมบูรณ์

    หลังประตูที่ปิดสนิท เจ้าหน้าที่ธนาคารกำลังตื่นตระหนก ซีอีโอและหัวหน้าฝ่ายการเงินเข้าร่วมการบรรยายสรุปแบบลับ โดยถูกบอกว่าพวกเขาต้องปฏิบัติตามมาตรฐาน QFS มิฉะนั้นจะถูกตัดขาดจากเศรษฐกิจใหม่ ยุคของการทุจริตระบบ ปกปิดธุรกรรม และโอนเงินเข้าบัญชีลับได้สิ้นสุดลงแล้ว QFS มองเห็นทุกสิ่ง—กำลังบังคับให้มีการตรวจสอบในทุกธุรกรรม
    มีผู้รักชาติและผู้แจ้งเบาะแสที่ได้รับสิทธิ์ในการเข้าถึงบัญชี QFS ก่อนกำหนดเป็นรางวัลสำหรับการเปิดโปงระบบเก่า ผู้บุกเบิกเหล่านี้ซึ่งติดอาวุธด้วยสิทธิ์ในการเข้าถึง QFS กำลังเป็นผู้นำในการก้าวเข้าสู่ยุคแห่งอิสรภาพทางการเงิน

    QFS เป็นมากกว่าเทคโนโลยี แต่เป็นการปฏิวัติเพื่อถ่ายโอนอำนาจกลับคืนสู่ประชาชน ระบบเก่าถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ประชาชนเป็นหนี้และพึ่งพาผู้อื่น แต่ QFS กำลังเขียนสคริปต์นั้นใหม่ เงินของคุณเป็นของคุณเพียงผู้เดียวแล้ว—ได้รับการคุ้มครองจากธนาคาร รัฐบาล และใครก็ตามที่เคยอ้างสิทธิ์เงินนั้น

    แม้ในขณะที่เรากำลังพูดอยู่นี้ ทีมงานลับทำงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยเพื่อนำธนาคารเข้ามาอยู่ใน QFS โดยไม่สนใจสื่อเพราะกลุ่มคนชั้นนำไม่ต้องการให้สาธารณชนตระหนักว่าการควบคุมของพวกเขาลดลงอย่างรวดเร็วเพียงใด การเปลี่ยนแปลงทุกอย่างที่คุณเห็น ไม่ว่าจะเป็นธนาคารที่ผลักดันการอัปเดตทางดิจิทัล การหยุดให้บริการโดยไม่ทราบสาเหตุ ล้วนเป็นส่วนหนึ่งของการบูรณาการ QFS

    ความปลอดภัยของ QFS นั้นไม่มีใครเทียบได้: การเข้ารหัสควอนตัม การเชื่อมโยงบัญชีกับบุคคลโดยใช้ลายเซ็นควอนตัมโดยเฉพาะ ช่วยให้มั่นใจได้ถึงการป้องกันอย่างสมบูรณ์ ไม่มีแฮกเกอร์ รัฐนอกกฎหมาย หรืออาชญากรใดที่จะเจาะระบบได้ ด้วย QFS การควบคุมทางการเงินจะอยู่ที่คุณและคุณเท่านั้น

    อำนาจเก่ากำลังต่อสู้กลับ QFS พร้อมแล้ว สถาบันที่ไม่ปฏิบัติตามกฎจะถูกอายัดทรัพย์สิน และถูกตัดขาดโดยสิ้นเชิง ผู้พิทักษ์เก่ากำลังถูกกำจัดออกไปอย่างเป็นระบบ เหลือเพียงผู้ที่พร้อมจะยอมรับวิสัยทัศน์ของ QFS เกี่ยวกับความรับผิดชอบและความโปร่งใส

    QFS คือแสงนำทางในยุคการเงินยุคใหม่นี้ ที่ซึ่งสกุลเงินทุกหน่วยมีมูลค่าที่แท้จริง นี่คือรุ่งอรุณของระบบที่รับใช้ประชาชน โลกที่เรารู้จักกำลังเปลี่ยนแปลง และอนาคตก็ชัดเจน: QFS อยู่ที่นี่เพื่ออยู่ต่อ

    เข้าร่วมและแชร์ช่องของฉันทันที:
    ⬇️⬇️⬇️⬇️

    เจ้าหญิงไดอาน่า
    ..นี้หากมองว่าสายมโน ก็สามารถพูดไม่ผิดได้,แต่แบงค์ไทยจะว่าไปจริงๆก็ปิดปรับปรุงบ่อยมากๆผิดปกติ นี้8พ.ยบวกลบ2-3วันปรับปรุงก็จะทำกันอีกแล้ว.บางคนก็ว่า CBDCสายมืดของฝ่ายมืด,QFSสายฝ่ายแสงฝ่ายดีพะนะ,บางคนก็บอกว่าเหี้ยพวกเดียวกันหมดนั้นล่ะ เล่นหลอกชาวโลกคนละบริบทเฉยพะนะ,ตรองกันเองเน้อ.(ช่วงนี้มีหุ้นขายหุ้นขายกองทุนทิ้งเน้อ จะติดดอย,มีตังฝากในแบงค์มากๆก็คงเหลือไว้สัก100บาทในแต่ละบัญชีก็พอ เขาคุ้มครองแค่ล้านเดียวเนาะ,ไฟดับ หน่วยความจำระบบเหี้ยทั้งแบงค์ถูกแฮ็กลบเป็นว่างเปล่า ตังเป็นศูนย์บาทจะหนาว,ใครทำเองใครทำให้ก็ได้หมดนะ,จงเชื่อแค่ตัวท่านเองเถอะ) ..ได้รับการยืนยันแล้ว! การเปิดตัว QFS กำลังบังคับให้ธนาคารกระจายความมั่งคั่งทันที—ภายในการประชุมลับของชนชั้นสูงธนาคาร! ระบบการเงินควอนตัม (QFS) เป็นเครื่องมือปลดปล่อยที่ทรงพลังที่สุดเท่าที่เคยมีมา และกำลังเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเงินระดับโลกอย่างเป็นความลับ การเปิดตัว QFS นี้เป็นปฏิบัติการลับเพื่อรื้อถอนระบบการเงินที่ทุจริตซึ่งกดขี่ประชาชนมานานหลายทศวรรษ QFS คืออนาคต—ดำเนินการอย่างแม่นยำและเป็นความลับโดยกลุ่มหมวกขาวและพันธมิตรของพวกเขา การโอนความมั่งคั่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์มาถึงแล้ว ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บท QFS ภายใต้ GESARA นี่ไม่ใช่แค่การเชื่อมโยงธนาคารเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการยึดทรัพย์สมบัติที่ขโมยมาของชนชั้นสูงแล้วส่งคืนให้กับประชาชนอีกด้วย เงินหลายล้านล้านที่ขโมยมาจากการโกหกและการจัดการกำลังจะถูกดึงออกมาจากผู้ทุจริตและส่งคืนให้กับประชาชน QFS ซึ่งสอดคล้องกับ GESARA กำลังพลิกโฉมระบบการเงิน เป็นเวลาหลายศตวรรษแล้วที่กลุ่มคนชั้นสูงได้กักตุนความมั่งคั่งและอำนาจไว้ แต่ตอนนี้สถานการณ์กลับตาลปัตร ในที่สุดมวลชนก็ได้รับอำนาจ และการผูกขาดของกลุ่มคนระดับโลกกำลังจะสิ้นสุดลง ธนาคารทั่วโลกกำลังถูกดึงเข้าสู่ระบบ QFS ด้วยความเร็วที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน นี่ไม่ใช่การอัปเกรดแบบเลือกได้ แต่เป็นความต้องการที่กำลังสั่นคลอนโลกการเงินแบบดั้งเดิม ธนาคารทั้งขนาดใหญ่และเล็กกำลังถูกบูรณาการ ตรวจสอบ และทดสอบ QFS ไม่สนใจสถานะหรือประวัติ แต่จะบังคับใช้การปฏิบัติตามและความซื่อสัตย์อย่างสมบูรณ์ หลังประตูที่ปิดสนิท เจ้าหน้าที่ธนาคารกำลังตื่นตระหนก ซีอีโอและหัวหน้าฝ่ายการเงินเข้าร่วมการบรรยายสรุปแบบลับ โดยถูกบอกว่าพวกเขาต้องปฏิบัติตามมาตรฐาน QFS มิฉะนั้นจะถูกตัดขาดจากเศรษฐกิจใหม่ ยุคของการทุจริตระบบ ปกปิดธุรกรรม และโอนเงินเข้าบัญชีลับได้สิ้นสุดลงแล้ว QFS มองเห็นทุกสิ่ง—กำลังบังคับให้มีการตรวจสอบในทุกธุรกรรม มีผู้รักชาติและผู้แจ้งเบาะแสที่ได้รับสิทธิ์ในการเข้าถึงบัญชี QFS ก่อนกำหนดเป็นรางวัลสำหรับการเปิดโปงระบบเก่า ผู้บุกเบิกเหล่านี้ซึ่งติดอาวุธด้วยสิทธิ์ในการเข้าถึง QFS กำลังเป็นผู้นำในการก้าวเข้าสู่ยุคแห่งอิสรภาพทางการเงิน QFS เป็นมากกว่าเทคโนโลยี แต่เป็นการปฏิวัติเพื่อถ่ายโอนอำนาจกลับคืนสู่ประชาชน ระบบเก่าถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ประชาชนเป็นหนี้และพึ่งพาผู้อื่น แต่ QFS กำลังเขียนสคริปต์นั้นใหม่ เงินของคุณเป็นของคุณเพียงผู้เดียวแล้ว—ได้รับการคุ้มครองจากธนาคาร รัฐบาล และใครก็ตามที่เคยอ้างสิทธิ์เงินนั้น แม้ในขณะที่เรากำลังพูดอยู่นี้ ทีมงานลับทำงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยเพื่อนำธนาคารเข้ามาอยู่ใน QFS โดยไม่สนใจสื่อเพราะกลุ่มคนชั้นนำไม่ต้องการให้สาธารณชนตระหนักว่าการควบคุมของพวกเขาลดลงอย่างรวดเร็วเพียงใด การเปลี่ยนแปลงทุกอย่างที่คุณเห็น ไม่ว่าจะเป็นธนาคารที่ผลักดันการอัปเดตทางดิจิทัล การหยุดให้บริการโดยไม่ทราบสาเหตุ ล้วนเป็นส่วนหนึ่งของการบูรณาการ QFS ความปลอดภัยของ QFS นั้นไม่มีใครเทียบได้: การเข้ารหัสควอนตัม การเชื่อมโยงบัญชีกับบุคคลโดยใช้ลายเซ็นควอนตัมโดยเฉพาะ ช่วยให้มั่นใจได้ถึงการป้องกันอย่างสมบูรณ์ ไม่มีแฮกเกอร์ รัฐนอกกฎหมาย หรืออาชญากรใดที่จะเจาะระบบได้ ด้วย QFS การควบคุมทางการเงินจะอยู่ที่คุณและคุณเท่านั้น อำนาจเก่ากำลังต่อสู้กลับ QFS พร้อมแล้ว สถาบันที่ไม่ปฏิบัติตามกฎจะถูกอายัดทรัพย์สิน และถูกตัดขาดโดยสิ้นเชิง ผู้พิทักษ์เก่ากำลังถูกกำจัดออกไปอย่างเป็นระบบ เหลือเพียงผู้ที่พร้อมจะยอมรับวิสัยทัศน์ของ QFS เกี่ยวกับความรับผิดชอบและความโปร่งใส QFS คือแสงนำทางในยุคการเงินยุคใหม่นี้ ที่ซึ่งสกุลเงินทุกหน่วยมีมูลค่าที่แท้จริง นี่คือรุ่งอรุณของระบบที่รับใช้ประชาชน โลกที่เรารู้จักกำลังเปลี่ยนแปลง และอนาคตก็ชัดเจน: QFS อยู่ที่นี่เพื่ออยู่ต่อ เข้าร่วมและแชร์ช่องของฉันทันที: ⬇️⬇️⬇️⬇️ เจ้าหญิงไดอาน่า
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 317 มุมมอง 0 รีวิว
  • 01/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้
    สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนต่างประเทศ คือ
    ผู้ขายหุ้นไทย หลักๆ ในวันนี้

    ส่วนผู้ที่ซื้อหลักในวันนี้ คือ นักลงทุนสถาบัน
    หรือ กองทุน สมทบด้วย โบรก และ นักลงทุนในประเทศ
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    01/11/2567 ตลาดหุ้นไทยวันนี้ สิ่งที่น่าสนใจคือ นักลงทุนต่างประเทศ คือ ผู้ขายหุ้นไทย หลักๆ ในวันนี้ ส่วนผู้ที่ซื้อหลักในวันนี้ คือ นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน สมทบด้วย โบรก และ นักลงทุนในประเทศ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 723 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥30/10/2567 ตลาดหุ้นไทย
    สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ
    คือ ผู้ขายหุ้นไทยหลักๆในวันนี้

    ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยหลักๆในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ
    สมทบการซื้อด้วย นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน
    และ โบรกเกอร์

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    💥💥30/10/2567 ตลาดหุ้นไทย สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ คือ ผู้ขายหุ้นไทยหลักๆในวันนี้ ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยหลักๆในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ สมทบการซื้อด้วย นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน และ โบรกเกอร์ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 623 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥หนังสือพิมพ์ U.S.News จัดสหรัฐอเมริกา
    ได้เผยแพร่ผลการจัดอันดับ
    ประเทศที่มีมรดกทางวัฒนธรรมมากที่สุดในโลก
    ประจำปี 2567 พบว่า ประเทศไทย อยู่อันดับที่ 8 ของโลก
    จากจำนวน 89 ประเทศทั่วโลก
    ส่วอันดับ 1 คือ กรีซ ,อันดับ 2 คือ อิตาลี, อันดับ 3 คือ สเปน

    ที่มา : U.S.News

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    💥💥หนังสือพิมพ์ U.S.News จัดสหรัฐอเมริกา ได้เผยแพร่ผลการจัดอันดับ ประเทศที่มีมรดกทางวัฒนธรรมมากที่สุดในโลก ประจำปี 2567 พบว่า ประเทศไทย อยู่อันดับที่ 8 ของโลก จากจำนวน 89 ประเทศทั่วโลก ส่วอันดับ 1 คือ กรีซ ,อันดับ 2 คือ อิตาลี, อันดับ 3 คือ สเปน ที่มา : U.S.News #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 565 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥สุดยอด ปรบมือ!! ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
    ประสานความร่วมมือ ยกระดับการทำหน้าที่กำกับดูแล
    ตลาดทุนร่วมกัน ให้มีประสิทธิภาพยอดเยี่ยม มากยิ่งขึ้น

    บันทึกความเข้าใจฉบับนี้ได้มีการปรับปรุงกรอบการ
    ทำงานร่วมกันของทั้ง 2 องค์กรในงานด้านกำกับดูแล
    ให้มีความชัดเจน ลดความซ้ำซ้อน รวมถึงสอดรับกับระบบนิเวศ
    และการเปลี่ยนแปลงของตลาดทุนในปัจจุบัน
    ตลอดจนสามารถรองรับกับแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
    ได้แก่

    (1) การกำกับดูแลบริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน
    และการกำกับดูแลบริษัทจดทะเบียน

    (2) การกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และสมาชิก
    ของตลาดหลักทรัพย์ฯ

    (3) การติดตามดูแลการซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียน
    และการบังคับใช้กฎหมาย และ

    (4) การออกระเบียบข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ
    อีกทั้งจะเพิ่มการสนับสนุนและแลกเปลี่ยนข้อมูลการกำกับดูแล
    ระหว่างกัน เพื่อให้การทำหน้าที่ของแต่ละองค์กรมีประสิทธิภาพ
    มากยิ่งขึ้น เช่น การร่วมกันพิจารณาคำขอกรณีการจดทะเบียนโดยอ้อม
    (Backdoor Listing) การขอย้ายกลับมาซื้อขายของบริษัทจดทะเบียน
    หลังแก้ไขเหตุอาจถูกเพิกถอน (Resume Trading) เพื่อให้กระบวนการ
    พิจารณา มีมาตรฐานเทียบเท่าการรับหลักทรัพย์จดทะเบียนใหม่
    และยังจะมีการร่วมกันกำหนดหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
    หากเห็นว่ากฎเกณฑ์ที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอที่จะช่วยสนับสนุน ป้องปราม
    หรือยับยั้งพฤติกรรมที่อาจนำไปสู่การซื้อขายหลักทรัพย์ที่ไม่เป็นธรรม
    ในตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นต้น

    อีกทั้งบันทึกความเข้าใจฉบับนี้ยังครอบคลุมถึงแนวทางการทำงาน
    และการประสานงานร่วมกัน ทั้งในระดับคณะกรรมการและฝ่ายจัดการ
    ของทั้ง 2 องค์กร เพื่อให้การขับเคลื่อนทิศทางนโยบายการพัฒนา
    ตลาดทุน การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันกับตลาดทุนอื่น
    และการกำกับดูแลตลาดทุนของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ
    มีความสอดคล้องกันมากยิ่งขึ้น

    นอกจากนี้ ทั้ง 2 องค์กรยังมีการหารือในประเด็นที่จะขับเคลื่อน
    ร่วมกันที่สำคัญ ดังนี้

    (1) การสร้างระบบนิเวศ (ecosystem) หลักทรัพย์อิเล็กทรอนิกส์
    เพื่อรองรับการพัฒนาการลงทุนในรูปแบบใหม่ ที่อยู่ระหว่างปรับปรุง
    พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

    (2) การสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า (value up) ของบริษัทจดทะเบียน
    เพื่อสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจให้บริษัทจดทะเบียนมุ่งมั่น
    ที่จะเสริมศักยภาพและมูลค่าของตัวเอง สื่อสารกับนักลงทุน
    อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกเหนือจากที่รัฐบาลได้สนับสนุน
    การขยายรายชื่อหลักทรัพย์ที่กองทุน Thai ESG สามารถลงทุนได้

    (3) การส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนตามมาตรฐาน
    International Sustainability Standards Board (ISSB)
    ซึ่ง ก.ล.ต. อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมและขอความร่วมมือ
    จากตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการสนับสนุนและต่อยอดการดำเนินการ
    และการทำความเข้าใจกับบริษัทจดทะเบียน

    (4) การส่งเสริมผู้ลงทุนให้มีความรู้ (investor empowerment)
    ผ่าน Open Data ของภาคตลาดทุนและภาคการเงิน เพื่อให้ผู้ลงทุน
    สามารถใช้ข้อมูลของตนที่อยู่กับผู้ประกอบธุรกิจได้อย่างมี
    ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

    ที่มา ก.ล.ต.
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    💥💥สุดยอด ปรบมือ!! ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประสานความร่วมมือ ยกระดับการทำหน้าที่กำกับดูแล ตลาดทุนร่วมกัน ให้มีประสิทธิภาพยอดเยี่ยม มากยิ่งขึ้น บันทึกความเข้าใจฉบับนี้ได้มีการปรับปรุงกรอบการ ทำงานร่วมกันของทั้ง 2 องค์กรในงานด้านกำกับดูแล ให้มีความชัดเจน ลดความซ้ำซ้อน รวมถึงสอดรับกับระบบนิเวศ และการเปลี่ยนแปลงของตลาดทุนในปัจจุบัน ตลอดจนสามารถรองรับกับแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ได้แก่ (1) การกำกับดูแลบริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน และการกำกับดูแลบริษัทจดทะเบียน (2) การกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และสมาชิก ของตลาดหลักทรัพย์ฯ (3) การติดตามดูแลการซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียน และการบังคับใช้กฎหมาย และ (4) การออกระเบียบข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ อีกทั้งจะเพิ่มการสนับสนุนและแลกเปลี่ยนข้อมูลการกำกับดูแล ระหว่างกัน เพื่อให้การทำหน้าที่ของแต่ละองค์กรมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น เช่น การร่วมกันพิจารณาคำขอกรณีการจดทะเบียนโดยอ้อม (Backdoor Listing) การขอย้ายกลับมาซื้อขายของบริษัทจดทะเบียน หลังแก้ไขเหตุอาจถูกเพิกถอน (Resume Trading) เพื่อให้กระบวนการ พิจารณา มีมาตรฐานเทียบเท่าการรับหลักทรัพย์จดทะเบียนใหม่ และยังจะมีการร่วมกันกำหนดหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง หากเห็นว่ากฎเกณฑ์ที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอที่จะช่วยสนับสนุน ป้องปราม หรือยับยั้งพฤติกรรมที่อาจนำไปสู่การซื้อขายหลักทรัพย์ที่ไม่เป็นธรรม ในตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นต้น อีกทั้งบันทึกความเข้าใจฉบับนี้ยังครอบคลุมถึงแนวทางการทำงาน และการประสานงานร่วมกัน ทั้งในระดับคณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ของทั้ง 2 องค์กร เพื่อให้การขับเคลื่อนทิศทางนโยบายการพัฒนา ตลาดทุน การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันกับตลาดทุนอื่น และการกำกับดูแลตลาดทุนของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ มีความสอดคล้องกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ทั้ง 2 องค์กรยังมีการหารือในประเด็นที่จะขับเคลื่อน ร่วมกันที่สำคัญ ดังนี้ (1) การสร้างระบบนิเวศ (ecosystem) หลักทรัพย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรองรับการพัฒนาการลงทุนในรูปแบบใหม่ ที่อยู่ระหว่างปรับปรุง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (2) การสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า (value up) ของบริษัทจดทะเบียน เพื่อสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจให้บริษัทจดทะเบียนมุ่งมั่น ที่จะเสริมศักยภาพและมูลค่าของตัวเอง สื่อสารกับนักลงทุน อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกเหนือจากที่รัฐบาลได้สนับสนุน การขยายรายชื่อหลักทรัพย์ที่กองทุน Thai ESG สามารถลงทุนได้ (3) การส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนตามมาตรฐาน International Sustainability Standards Board (ISSB) ซึ่ง ก.ล.ต. อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมและขอความร่วมมือ จากตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการสนับสนุนและต่อยอดการดำเนินการ และการทำความเข้าใจกับบริษัทจดทะเบียน (4) การส่งเสริมผู้ลงทุนให้มีความรู้ (investor empowerment) ผ่าน Open Data ของภาคตลาดทุนและภาคการเงิน เพื่อให้ผู้ลงทุน สามารถใช้ข้อมูลของตนที่อยู่กับผู้ประกอบธุรกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ที่มา ก.ล.ต. #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 724 มุมมอง 0 รีวิว
  • 26/10/2567
    แอดมินทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100
    มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี
    ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    26/10/2567 แอดมินทำการบ้าน SETHD, SET50 และ SET100 มีหุ้นอยู่ 5 ตัว ที่ราคาเหมาะสม และจังหวะการซื้อที่ดี ลองไปทำการบ้านกันต่อด้วยนะครับ 🙏 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 815 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล
    แนวโน้มธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ และการก่อสร้าง
    ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2567 มีแนวโน้มหดตัว
    จากปัจจัยกดดันด้านการฟื้นตัวของกำลังซื้อ
    และในปี 2568 ยังคงหดตัวต่อเนื่อง
    แต่ในอัตราที่ลดลง

    🚩ตลาดที่อยู่อาศัยยังต้องเผชิญความท้าทายอย่างต่อเนื่อง
    โดยเฉพาะจากการฟื้นตัวช้าของกำลังซื้อ ซึ่งกดดันให้
    ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2567-2568 มีแนวโน้มหดตัวต่อเนื่อง

    🚩ปัจจัยกดดันทางเศรษฐกิจทั้งค่าครองชีพ ค่าใช้จ่าย
    และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง ประกอบกับอัตราดอกเบี้ย
    และความเข้มงวดในการให้สินเชื่อ ยังคงกดดันการฟื้นตัว
    ของตลาดที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลาง-ล่าง
    ที่ส่วนใหญ่ตัดสินใจยังไม่ซื้อที่อยู่อาศัย หรือชะลอการซื้อออกไป

    🚩โดยคาดว่า หน่วยโอนกรรมสิทธิ์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
    ในปี 2567 จะหดตัวราว -10% (เทียบปีต่อปี) และหดตัวต่อเนื่องราว
    -1% ถึง -3% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2568

    🚩ส่วนมูลค่าโอนกรรมสิทธิ์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลในปี 2567
    มีแนวโน้มหดตัวราว -9% (เทียบปีต่อปี) แต่อาจเริ่มทรงตัวได้
    หรือหดตัวเล็กน้อยราว +0% ถึง -2% (ปีต่อปี) ในปี 2568

    🚩ขณะที่การโอนกรรมสิทธิ์ในต่างจังหวัด มีแนวโน้มหดตัว
    ในอัตราที่สูงกว่ากรุงเทพฯ และปริมณฑลเล็กน้อย
    เนื่องจากมีสัดส่วนกำลังซื้อกลุ่มรายได้ปานกลาง-ล่างที่สูงกว่า


    🚩การเปิดโครงการใหม่ในปี 2567-2568 ยังมีแนวโน้มหดตัว
    ต่อเนื่อง จากการที่ผู้ประกอบการระมัดระวังในการเปิดโครงการ
    จากหน่วยเหลือขายสะสมที่เพิ่มขึ้น

    🚩อีกทั้ง ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง จำนวนหน่วยที่อยู่อาศัย
    เปิดใหม่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลคาดว่าจะหดตัวราว
    -28% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2567 และหดตัวต่อเนื่องอีกราว
    -2% ถึง -4% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2568
    โดยเป็นการเปิดโครงการระดับราคาปานกลาง-บนเป็นหลัก
    เพื่อเน้นเจาะกลุ่มกำลังซื้อที่มีศักยภาพ

    🚩นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถรักษาอัตรา
    กำไรได้ ท่ามกลางภาวะต้นทุนการก่อสร้างที่ยังอยู่ในระดับสูง
    ทั้งวัสดุก่อสร้าง แรงงาน และราคาที่ดิน

    🚩ส่วนการเปิดโครงการระดับราคาปานกลาง-ล่าง ยังเป็นไป
    อย่างระมัดระวัง เน้นเฉพาะทำเลที่มีศักยภาพ และระบาย
    สินค้าคงเหลือ มากขึ้นแทน


    🚩ภาวะตลาดที่ซบเซาและการแข่งขันในตลาดที่อยู่อาศัย
    ที่ยังมีแนวโน้มเป็นไปอย่างเข้มข้น ผู้ประกอบการจึงต้อง
    ปรับกลยุทธ์ในหลายด้าน โดยกลยุทธ์ที่ผู้ประกอบการ
    ควรให้ความสำคัญ ได้แก่

    🚩1) พัฒนาโครงการใหม่อย่างระมัดระวัง
    🚩2) ตอบโจทย์ความต้องการผู้ซื้อแต่ละกลุ่มอย่างตรงจุด
    🚩3) ขยายตลาดผู้ซื้อชาวต่างชาติ
    🚩4) บริหารจัดการต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อรักษา
    อัตรากำไร นอกจากนี้ ผู้ประกอบการต้องให้ความสำคัญ
    กับการดำเนินธุรกิจภายใต้กรอบ ESG มากขึ้น
    โดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

    ที่มา : scbeic
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #อสังหาริมทรัพย์ #thaitimes
    💥💥ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล แนวโน้มธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ และการก่อสร้าง ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2567 มีแนวโน้มหดตัว จากปัจจัยกดดันด้านการฟื้นตัวของกำลังซื้อ และในปี 2568 ยังคงหดตัวต่อเนื่อง แต่ในอัตราที่ลดลง 🚩ตลาดที่อยู่อาศัยยังต้องเผชิญความท้าทายอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะจากการฟื้นตัวช้าของกำลังซื้อ ซึ่งกดดันให้ ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2567-2568 มีแนวโน้มหดตัวต่อเนื่อง 🚩ปัจจัยกดดันทางเศรษฐกิจทั้งค่าครองชีพ ค่าใช้จ่าย และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง ประกอบกับอัตราดอกเบี้ย และความเข้มงวดในการให้สินเชื่อ ยังคงกดดันการฟื้นตัว ของตลาดที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลาง-ล่าง ที่ส่วนใหญ่ตัดสินใจยังไม่ซื้อที่อยู่อาศัย หรือชะลอการซื้อออกไป 🚩โดยคาดว่า หน่วยโอนกรรมสิทธิ์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในปี 2567 จะหดตัวราว -10% (เทียบปีต่อปี) และหดตัวต่อเนื่องราว -1% ถึง -3% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2568 🚩ส่วนมูลค่าโอนกรรมสิทธิ์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลในปี 2567 มีแนวโน้มหดตัวราว -9% (เทียบปีต่อปี) แต่อาจเริ่มทรงตัวได้ หรือหดตัวเล็กน้อยราว +0% ถึง -2% (ปีต่อปี) ในปี 2568 🚩ขณะที่การโอนกรรมสิทธิ์ในต่างจังหวัด มีแนวโน้มหดตัว ในอัตราที่สูงกว่ากรุงเทพฯ และปริมณฑลเล็กน้อย เนื่องจากมีสัดส่วนกำลังซื้อกลุ่มรายได้ปานกลาง-ล่างที่สูงกว่า 🚩การเปิดโครงการใหม่ในปี 2567-2568 ยังมีแนวโน้มหดตัว ต่อเนื่อง จากการที่ผู้ประกอบการระมัดระวังในการเปิดโครงการ จากหน่วยเหลือขายสะสมที่เพิ่มขึ้น 🚩อีกทั้ง ต้นทุนก่อสร้างยังอยู่ในระดับสูง จำนวนหน่วยที่อยู่อาศัย เปิดใหม่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลคาดว่าจะหดตัวราว -28% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2567 และหดตัวต่อเนื่องอีกราว -2% ถึง -4% (เทียบปีต่อปี) ในปี 2568 โดยเป็นการเปิดโครงการระดับราคาปานกลาง-บนเป็นหลัก เพื่อเน้นเจาะกลุ่มกำลังซื้อที่มีศักยภาพ 🚩นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถรักษาอัตรา กำไรได้ ท่ามกลางภาวะต้นทุนการก่อสร้างที่ยังอยู่ในระดับสูง ทั้งวัสดุก่อสร้าง แรงงาน และราคาที่ดิน 🚩ส่วนการเปิดโครงการระดับราคาปานกลาง-ล่าง ยังเป็นไป อย่างระมัดระวัง เน้นเฉพาะทำเลที่มีศักยภาพ และระบาย สินค้าคงเหลือ มากขึ้นแทน 🚩ภาวะตลาดที่ซบเซาและการแข่งขันในตลาดที่อยู่อาศัย ที่ยังมีแนวโน้มเป็นไปอย่างเข้มข้น ผู้ประกอบการจึงต้อง ปรับกลยุทธ์ในหลายด้าน โดยกลยุทธ์ที่ผู้ประกอบการ ควรให้ความสำคัญ ได้แก่ 🚩1) พัฒนาโครงการใหม่อย่างระมัดระวัง 🚩2) ตอบโจทย์ความต้องการผู้ซื้อแต่ละกลุ่มอย่างตรงจุด 🚩3) ขยายตลาดผู้ซื้อชาวต่างชาติ 🚩4) บริหารจัดการต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อรักษา อัตรากำไร นอกจากนี้ ผู้ประกอบการต้องให้ความสำคัญ กับการดำเนินธุรกิจภายใต้กรอบ ESG มากขึ้น โดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่มา : scbeic #หุ้นติดดอย #การลงทุน #อสังหาริมทรัพย์ #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 998 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥🔥สตาร์บัค ร้านกาแฟเชนระดับโลก ยังไม่พ้นขีดอันตราย
    เมื่อกลยุทธ์ซื้อ 1 แถม 1 ไม่สามารถดันยอดขายขึ้นมาได้

    ซึ่งคาดการณ์ยอดขายกาแฟ ในไตรมาสสุดท้ายของปีนี้
    (ไตรมาส 4/2567)
    ยอดขายกาแฟสตาร์บัค มีแนวโน้มออกมาน่าผิดหวัง
    โดยยอดขายในสหรัฐ -6% และในจีนดิ่งเหวถึง -14%

    ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #สตาร์บัค #thaitimes
    🔥🔥สตาร์บัค ร้านกาแฟเชนระดับโลก ยังไม่พ้นขีดอันตราย เมื่อกลยุทธ์ซื้อ 1 แถม 1 ไม่สามารถดันยอดขายขึ้นมาได้ ซึ่งคาดการณ์ยอดขายกาแฟ ในไตรมาสสุดท้ายของปีนี้ (ไตรมาส 4/2567) ยอดขายกาแฟสตาร์บัค มีแนวโน้มออกมาน่าผิดหวัง โดยยอดขายในสหรัฐ -6% และในจีนดิ่งเหวถึง -14% ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #สตาร์บัค #thaitimes
    Sad
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 977 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥🔥กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ IMF
    คาดหนี้สาธารณะโลกจะพุ่งแตะ 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
    หรือ ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปีนี้

    🚩กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ออกคำเตือน
    เมื่อวันพุธที่ผ่านมาว่า สถานการณ์หนี้สาธารณะทั่วโลก
    อาจเลวร้ายกว่าที่หลายคนคิด โดยเน้นย้ำถึงการขาดดุล
    การคลัง ที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในสหรัฐและจีน

    🚩หน่วยงานดังกล่าวคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลก
    จะพุ่งสูงเกิน 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ
    ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปี 2567
    โดยคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลกจะพุ่งสูงถึง 100%
    ของ GDP ของโลกภายในสิ้นทศวรรษนี้

    🚩สหรัฐฯ และจีนมีสัดส่วนหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก
    หากไม่รวมทั้งสองประเทศนี้ในการคำนวณ อัตราส่วน
    หนี้สาธารณะต่อ GDP ทั่วโลกจะลดลงประมาณ 20%

    ที่มา : cnbc

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #IMF #thaitimes
    🔥🔥กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ IMF คาดหนี้สาธารณะโลกจะพุ่งแตะ 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปีนี้ 🚩กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ออกคำเตือน เมื่อวันพุธที่ผ่านมาว่า สถานการณ์หนี้สาธารณะทั่วโลก อาจเลวร้ายกว่าที่หลายคนคิด โดยเน้นย้ำถึงการขาดดุล การคลัง ที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในสหรัฐและจีน 🚩หน่วยงานดังกล่าวคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลก จะพุ่งสูงเกิน 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ ประมาณ 3,400 ล้านล้านบาท ภายในสิ้นปี 2567 โดยคาดการณ์ว่าหนี้สาธารณะทั่วโลกจะพุ่งสูงถึง 100% ของ GDP ของโลกภายในสิ้นทศวรรษนี้ 🚩สหรัฐฯ และจีนมีสัดส่วนหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก หากไม่รวมทั้งสองประเทศนี้ในการคำนวณ อัตราส่วน หนี้สาธารณะต่อ GDP ทั่วโลกจะลดลงประมาณ 20% ที่มา : cnbc #หุ้นติดดอย #การลงทุน #IMF #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 959 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥25/10/2567 ตลาดหุ้นไทย
    วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ 3 รุม 1

    โดยนักลงทุนที่ขายหลักๆวันนี้ มี 3 กลุ่ม ได้แก่
    นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน, โบรก และ
    นักลงทุนต่างประเทศ

    ส่วนนักลงทุนที่รับซื้อหุ้นไว้วันนี้คือ
    นักลงทุนในประเทศ

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    💥💥25/10/2567 ตลาดหุ้นไทย วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ 3 รุม 1 โดยนักลงทุนที่ขายหลักๆวันนี้ มี 3 กลุ่ม ได้แก่ นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน, โบรก และ นักลงทุนต่างประเทศ ส่วนนักลงทุนที่รับซื้อหุ้นไว้วันนี้คือ นักลงทุนในประเทศ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 972 มุมมอง 0 รีวิว
  • 24/10/2567 ตลาดหุ้นไทย วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ
    สถาบัน หรือ กองทุน รวมทั้ง นักลงทุนต่างประเทศ
    คือ ผู้ขายหลักในวันนี้

    ส่วนผู้เข้าซื้อหลักๆ ในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ
    และ มีโบรกบางส่วน

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    24/10/2567 ตลาดหุ้นไทย วันนี้สิ่งที่น่าสนใจคือ สถาบัน หรือ กองทุน รวมทั้ง นักลงทุนต่างประเทศ คือ ผู้ขายหลักในวันนี้ ส่วนผู้เข้าซื้อหลักๆ ในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ และ มีโบรกบางส่วน #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 454 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล
    ภาพรวมการส่งออกของไทยในปัจจุบัน อยู่ในสภาวะ
    อ่อนแอลงไปเรื่อยๆ หากไม่ทำอะไรเลย

    นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้งในปี 2540 การส่งออก
    เป็นเครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยมายาวนาน
    คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 60-65% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
    ภายในประเทศ (จีดีพี) การส่งออกมีบทบาทสำคัญ
    ในการสร้างรายได้จากต่างประเทศ การจ้างงาน และเพิ่ม
    ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

    อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยได้สูญเสียบทบาท
    และความสามารถในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเช่นที่เคยเป็นมา

    SCB EIC มองว่า เครื่องยนต์ส่งออกของไทยกำลังอ่อนแรงลงมาก
    จากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งมีส่วนทำให้การส่งออกไทย
    ไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก
    ได้เหมือนในอดีต และไม่สามารถปรับตัวตามกระแสโลก
    ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ทัน

    ปัจจัยภายในประเทศ :

    1) สินค้าส่งออกไทยไม่ค่อยสอดคล้องกับความต้องการของโลก :
    ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดการผลิตสินค้านวัตกรรมใหม่ ๆ
    ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกที่เปลี่ยนไป
    เช่น สมาร์ตโฟน แผงวงจรไฟฟ้า หรือสินค้าที่ผลิตจากพลังงานสะอาด
    ขณะที่สินค้าหมวดเครื่องจักรและเครื่องใช้เครื่องกลที่ไทยผลิต
    กลับเป็นสินค้าที่โลกต้องการซื้อน้อยลงเช่น Hard Disk Drives (HDD)
    ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย แต่เมื่อเทคโนโลยี
    เปลี่ยนไปสู่ Solid State Drives (SSD) ความต้องการ HDD
    ก็ลดลงอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับสินค้าหมวดยานพาหนะ ส่วนประกอบ
    และอุปกรณ์เสริม ที่ไทยเคยส่งออกดีมาก จากการส่งออกยานยนต์
    และเครื่องยนต์สันดาป แต่ปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทาย
    จากการเปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ของผู้ซื้อ ซึ่งรวมมูลค่า
    การส่งออก 2 หมวดใหญ่นี้คิดเป็น 27% ของมูลค่าการส่งออก
    ไทยทั้งหมดในปี 2566

    2) โครงสร้างการผลิตเพื่อส่งออกไทยเปลี่ยนแปลงช้า :
    ภาคการผลิตของไทยยังผูกโยงกับห่วงโซ่อุปทานเก่าอยู่มาก
    ส่งผลให้โครงสร้างการส่งออกเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า
    ขณะที่โครงสร้างการผลิตของประเทศคู่แข่งหลายราย
    ที่เคยผลิตสินค้าล้าสมัยกว่าไทยในอดีต กลับสามารถ
    ปรับตามกระแสความต้องการในตลาดโลกที่เปลี่ยนไปได้
    อย่างรวดเร็วจากการหาห่วงโซ่อุปทานใหม่ สะท้อนจาก
    ส่วนแบ่งยอดขายสินค้าไทยในตลาดโลก ที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
    จาก 10 ปีก่อนมากนัก เช่น รถยนต์ EV แผงวงจรไฟฟ้า/เซมิคอนดักเตอร์
    สมาร์ตโฟน แผงโซลาร์เซลล์ (เป็นกลุ่มสินค้าส่งออกที่มีสัดส่วนสูงขึ้นในตลาดโลก)

    ทั้งนี้ถึงแม้การส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ของไทยจะมีสัดส่วนต่อมูลค่าการส่งออก
    ทั้งหมดสูงขึ้น แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 17% ในปี 2556-2560 เป็น 23%
    ในปี 2561-2565 ซึ่งแตกต่างจากเวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย
    ที่มีสัดส่วนการส่งออกกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นมาก จาก 16% เป็น 32%, 38%
    เป็น 44% และ 40% เป็น 48% ตามลำดับ โดยสาเหตุเป็นเพราะว่า
    ประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ผลิตสินค้ากลุ่มนี้ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง
    มีขั้นตอนการผลิตซับซ้อนกว่า และสร้างมูลค่าเพิ่มสูงกว่าได้
    ในขณะที่ไทยส่วนใหญ่แล้วยังคงผลิตสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลาง
    และมีความซับซ้อนน้อยกว่า สะท้อนขีดความสามารถในการแข่งขันที่ต่ำกว่า
    แสดงให้เห็นว่าไทยอาจไม่ได้รับอานิสงส์จากวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขาขึ้น
    ในปัจจุบันได้มากเท่าประเทศเพื่อนบ้าน

    3) ความสามารถในการกระจายตลาดใหม่ไม่ค่อยสูง :
    การส่งออกของไทยกว่า 75% ยังคงกระจุกตัวในบางตลาดหลัก เช่น จีน สหรัฐฯ
    ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอาเซียน เช่นในอดีต ซึ่งหากเกิดปัญหาเศรษฐกิจขึ้น
    ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ก็อาจสร้างความเสี่ยงสูงต่อไทยตามมา เช่น เศรษฐกิจจีน
    ชะลอตัว ในช่วงที่ผ่านมา จะกระทบการส่งออกไทยไปตลาดจีนตามไปด้วย
    สะท้อนความจำเป็นในการขยายตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยง
    และเพิ่มยอดส่งออกของไทยได้

    จากการวิเคราะห์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักของการส่งออกไทยมาจาก
    ปัญหาเชิงโครงสร้างของภาคการผลิตในประเทศที่ไม่ค่อยตอบโจทย์
    สินค้าใหม่ ๆ คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นสาเหตุทำให้ปัญหาเชิงโครงสร้าง
    ภาคการผลิตของไทยมาถึงจุดนี้?

    SCB EIC มองว่าสาเหตุหลักมาจากทักษะแรงงานไทยและการลงทุน
    จากต่างชาติที่ลดลง :

    1) แรงงานสูงวัยและทักษะต่ำ : ประเทศไทยกำลังเผชิญสังคมผู้สูงอายุ
    22.7% จากประชากรทั้งหมดในปี 2566 (อายุ 60 ปีขึ้นไป) และมีแนวโน้ม
    เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงปัญหาแรงงานขาดทักษะ
    ที่จำเป็น โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งมีความสำคัญต่อการผลิตสินค้า
    และการแข่งขันในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

    ปัญหานี้ทำให้การผลิตสินค้าเทคโนโลยีของไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ
    เทคโนโลยีขั้นกลาง และการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงจึงเกิดขึ้นค่อนข้างช้า
    เนื่องจากเพิ่มศักยภาพแรงงานไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

    2) สัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ลดลง :
    FDI เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยได้รับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และทันสมัย
    เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและการส่งออก
    รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
    การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในไทยลดลงมาก จากที่เคยเป็นหนึ่ง
    ในจุดหมายปลายทางหลักในอาเซียน ไทยกลับตกอันดับมาเรื่อย ๆ
    อยู่อันดับ 7 ในปี 2566 แย่กว่าในปี 2543 2553 และ 2562 ที่อันดับ 3, 3,
    และ 6 ตามลำดับ เสียอีก (ข้อมูลจาก World Bank)

    สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก

    (1) ทักษะแรงงานไทยไม่สูงและสัดส่วนแรงงานสูงวัย
    ยังมีมากที่สุดในอาเซียน

    (2) ไทยขาดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA)
    กับประเทศสำคัญ ๆ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ประเทศคู่แข่ง
    เช่น เวียดนาม ได้เปรียบจากการมีข้อตกลง FTA กับสหภาพยุโรป
    และการเข้าร่วม CPTPP ทำให้เข้าถึงตลาดสำคัญในโลกได้ง่ายขึ้น

    (3) การเมืองไทยมีความไม่แน่นอนสูง

    (4) นโยบายเศรษฐกิจระยะยาวขาดความชัดเจนและความต่อเนื่อง
    นักลงทุนไทยและต่างประเทศขาดความมั่นใจที่จะลงทุน
    วิจัยและพัฒนา (R&D) ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เนื่องจากเป็นการลงทุนสูง
    และใช้เวลากว่าจะเห็นผล และ

    (5) กฎระเบียบภาครัฐซับซ้อน ซึ่งเป็นปัจจัยหลัก ๆ ที่ทำให้นักลงทุน
    ต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง
    และนโยบายและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลงทุนดีกว่า

    ปัจจัยภายนอก :

    การส่งออกของไทยยังเผชิญแรงกดดันจากปัจจัยภายนอกหลายประการ

    ได้แก่ 1) China over-capacity ที่อาจซ้ำเติมปัญหาความสามารถ
    ในการแข่งขันของไทย โดยเฉพาะความสามารถในการแข่งขันด้านราคา
    กับสินค้าจีน

    2) ผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ อาจสร้างความไม่แน่นอนของนโยบายภาษี
    สินค้านำเข้าทุกประเภทจากทุกประเทศเพิ่มเติม

    3) ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์จากสงครามยืดเยื้อ การแบ่งขั้ว
    ทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น หรือมาตรการกีดกันการค้าที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบ
    ต่อการค้าโลก

    4) การผันผวนของค่าเงินบาท จากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลาง
    สำคัญทั่วโลก

    (5) ค่าระวางเรือและค่าขนส่งที่อาจจะกลับมาสูงขึ้น จากสงครามที่เกิดขึ้นบ่อย
    และรุนแรงขึ้น รวมถึงปัญหาการขาดแคลนเรือขนส่งและตู้คอนเทนเนอร์


    ปัจจัยภายในและนอกประเทศเหล่านี้กดดันให้เครื่องยนต์ส่งออกของไทย
    อ่อนแอลง และเป็นสัญญาณที่น่ากังวล เนื่องจากการบริโภคและการลงทุน
    ในประเทศก็กำลังอ่อนแรงเช่นกัน โดยการบริโภคถูกจำกัดจากภาระหนี้
    ครัวเรือนสูง และการลงทุนได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ในประเทศ
    ที่เปราะบาง

    อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยยังไม่ไร้ความหวังเสียทีเดียว
    หากรัฐบาลสามารถจัดการ 3 ปัจจัยหลักได้ ได้แก่ แรงงาน การลงทุน
    โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) และยุทธศาสตร์นโยบายอุปทานที่ชัดเจน
    ประเทศไทยจะสามารถปรับโครงสร้างการผลิตให้แข็งแกร่งขึ้น
    และช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้บนข้อได้เปรียบที่ไทยมีอยู่แล้ว
    เช่น โครงสร้างพื้นฐานที่ดี ทังนี้ปัจจัยกดดันจากภายนอกเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ
    ควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่าหากโครงสร้างการผลิตของไทย
    แข็งแกร่ง จะช่วยลดผลกระทบจากปัจจัยเหล่านี้ได้ และอาจทำให้ไทย
    ได้รับประโยชน์จากบางปัจจัย เช่น ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจนำมาซึ่ง
    การย้ายฐานการผลิตและการลงทุนใหม่ ๆ

    การส่งออกไทยในปัจจุบันเปรียบเหมือนรถที่กำลังวิ่งอย่างเชื่องช้า
    ที่ต้องเลือกว่าจะเริ่มซ่อมแซมและปรับปรุงโครงสร้างเครื่องยนต์
    ให้ทันสมัยจุดไหนบ้าง เพื่อให้รถคันนี้กลับมาวิ่งเร็วได้อีกครั้ง
    แต่หากไม่เริ่มทำอะไรวันนี้ เครื่องยนต์เก่านี้อาจพังในไม่ช้า
    ทำให้รถเราค่อยๆ หยุดวิ่ง และปล่อยให้รถคันอื่นแซงหน้า
    ไปคันแล้วคันเล่า

    ที่มา : SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #การส่งออกไทย #thaitimes
    💥💥ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ SCB EIC เผยแพร่ข้อมูล ภาพรวมการส่งออกของไทยในปัจจุบัน อยู่ในสภาวะ อ่อนแอลงไปเรื่อยๆ หากไม่ทำอะไรเลย นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้งในปี 2540 การส่งออก เป็นเครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยมายาวนาน คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 60-65% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (จีดีพี) การส่งออกมีบทบาทสำคัญ ในการสร้างรายได้จากต่างประเทศ การจ้างงาน และเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยได้สูญเสียบทบาท และความสามารถในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเช่นที่เคยเป็นมา SCB EIC มองว่า เครื่องยนต์ส่งออกของไทยกำลังอ่อนแรงลงมาก จากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งมีส่วนทำให้การส่งออกไทย ไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก ได้เหมือนในอดีต และไม่สามารถปรับตัวตามกระแสโลก ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ทัน ปัจจัยภายในประเทศ : 1) สินค้าส่งออกไทยไม่ค่อยสอดคล้องกับความต้องการของโลก : ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดการผลิตสินค้านวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกที่เปลี่ยนไป เช่น สมาร์ตโฟน แผงวงจรไฟฟ้า หรือสินค้าที่ผลิตจากพลังงานสะอาด ขณะที่สินค้าหมวดเครื่องจักรและเครื่องใช้เครื่องกลที่ไทยผลิต กลับเป็นสินค้าที่โลกต้องการซื้อน้อยลงเช่น Hard Disk Drives (HDD) ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นสินค้าส่งออกหลักของไทย แต่เมื่อเทคโนโลยี เปลี่ยนไปสู่ Solid State Drives (SSD) ความต้องการ HDD ก็ลดลงอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับสินค้าหมวดยานพาหนะ ส่วนประกอบ และอุปกรณ์เสริม ที่ไทยเคยส่งออกดีมาก จากการส่งออกยานยนต์ และเครื่องยนต์สันดาป แต่ปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทาย จากการเปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ของผู้ซื้อ ซึ่งรวมมูลค่า การส่งออก 2 หมวดใหญ่นี้คิดเป็น 27% ของมูลค่าการส่งออก ไทยทั้งหมดในปี 2566 2) โครงสร้างการผลิตเพื่อส่งออกไทยเปลี่ยนแปลงช้า : ภาคการผลิตของไทยยังผูกโยงกับห่วงโซ่อุปทานเก่าอยู่มาก ส่งผลให้โครงสร้างการส่งออกเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า ขณะที่โครงสร้างการผลิตของประเทศคู่แข่งหลายราย ที่เคยผลิตสินค้าล้าสมัยกว่าไทยในอดีต กลับสามารถ ปรับตามกระแสความต้องการในตลาดโลกที่เปลี่ยนไปได้ อย่างรวดเร็วจากการหาห่วงโซ่อุปทานใหม่ สะท้อนจาก ส่วนแบ่งยอดขายสินค้าไทยในตลาดโลก ที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง จาก 10 ปีก่อนมากนัก เช่น รถยนต์ EV แผงวงจรไฟฟ้า/เซมิคอนดักเตอร์ สมาร์ตโฟน แผงโซลาร์เซลล์ (เป็นกลุ่มสินค้าส่งออกที่มีสัดส่วนสูงขึ้นในตลาดโลก) ทั้งนี้ถึงแม้การส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ของไทยจะมีสัดส่วนต่อมูลค่าการส่งออก ทั้งหมดสูงขึ้น แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 17% ในปี 2556-2560 เป็น 23% ในปี 2561-2565 ซึ่งแตกต่างจากเวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ที่มีสัดส่วนการส่งออกกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นมาก จาก 16% เป็น 32%, 38% เป็น 44% และ 40% เป็น 48% ตามลำดับ โดยสาเหตุเป็นเพราะว่า ประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ผลิตสินค้ากลุ่มนี้ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง มีขั้นตอนการผลิตซับซ้อนกว่า และสร้างมูลค่าเพิ่มสูงกว่าได้ ในขณะที่ไทยส่วนใหญ่แล้วยังคงผลิตสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลาง และมีความซับซ้อนน้อยกว่า สะท้อนขีดความสามารถในการแข่งขันที่ต่ำกว่า แสดงให้เห็นว่าไทยอาจไม่ได้รับอานิสงส์จากวัฏจักรสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ขาขึ้น ในปัจจุบันได้มากเท่าประเทศเพื่อนบ้าน 3) ความสามารถในการกระจายตลาดใหม่ไม่ค่อยสูง : การส่งออกของไทยกว่า 75% ยังคงกระจุกตัวในบางตลาดหลัก เช่น จีน สหรัฐฯ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอาเซียน เช่นในอดีต ซึ่งหากเกิดปัญหาเศรษฐกิจขึ้น ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ก็อาจสร้างความเสี่ยงสูงต่อไทยตามมา เช่น เศรษฐกิจจีน ชะลอตัว ในช่วงที่ผ่านมา จะกระทบการส่งออกไทยไปตลาดจีนตามไปด้วย สะท้อนความจำเป็นในการขยายตลาดส่งออกใหม่ ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยง และเพิ่มยอดส่งออกของไทยได้ จากการวิเคราะห์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าปัญหาหลักของการส่งออกไทยมาจาก ปัญหาเชิงโครงสร้างของภาคการผลิตในประเทศที่ไม่ค่อยตอบโจทย์ สินค้าใหม่ ๆ คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นสาเหตุทำให้ปัญหาเชิงโครงสร้าง ภาคการผลิตของไทยมาถึงจุดนี้? SCB EIC มองว่าสาเหตุหลักมาจากทักษะแรงงานไทยและการลงทุน จากต่างชาติที่ลดลง : 1) แรงงานสูงวัยและทักษะต่ำ : ประเทศไทยกำลังเผชิญสังคมผู้สูงอายุ 22.7% จากประชากรทั้งหมดในปี 2566 (อายุ 60 ปีขึ้นไป) และมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงปัญหาแรงงานขาดทักษะ ที่จำเป็น โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งมีความสำคัญต่อการผลิตสินค้า และการแข่งขันในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ปัญหานี้ทำให้การผลิตสินค้าเทคโนโลยีของไทยส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ เทคโนโลยีขั้นกลาง และการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงจึงเกิดขึ้นค่อนข้างช้า เนื่องจากเพิ่มศักยภาพแรงงานไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 2) สัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ลดลง : FDI เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยได้รับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และทันสมัย เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและการส่งออก รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในไทยลดลงมาก จากที่เคยเป็นหนึ่ง ในจุดหมายปลายทางหลักในอาเซียน ไทยกลับตกอันดับมาเรื่อย ๆ อยู่อันดับ 7 ในปี 2566 แย่กว่าในปี 2543 2553 และ 2562 ที่อันดับ 3, 3, และ 6 ตามลำดับ เสียอีก (ข้อมูลจาก World Bank) สาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก (1) ทักษะแรงงานไทยไม่สูงและสัดส่วนแรงงานสูงวัย ยังมีมากที่สุดในอาเซียน (2) ไทยขาดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) กับประเทศสำคัญ ๆ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ประเทศคู่แข่ง เช่น เวียดนาม ได้เปรียบจากการมีข้อตกลง FTA กับสหภาพยุโรป และการเข้าร่วม CPTPP ทำให้เข้าถึงตลาดสำคัญในโลกได้ง่ายขึ้น (3) การเมืองไทยมีความไม่แน่นอนสูง (4) นโยบายเศรษฐกิจระยะยาวขาดความชัดเจนและความต่อเนื่อง นักลงทุนไทยและต่างประเทศขาดความมั่นใจที่จะลงทุน วิจัยและพัฒนา (R&D) ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เนื่องจากเป็นการลงทุนสูง และใช้เวลากว่าจะเห็นผล และ (5) กฎระเบียบภาครัฐซับซ้อน ซึ่งเป็นปัจจัยหลัก ๆ ที่ทำให้นักลงทุน ต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง และนโยบายและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลงทุนดีกว่า ปัจจัยภายนอก : การส่งออกของไทยยังเผชิญแรงกดดันจากปัจจัยภายนอกหลายประการ ได้แก่ 1) China over-capacity ที่อาจซ้ำเติมปัญหาความสามารถ ในการแข่งขันของไทย โดยเฉพาะความสามารถในการแข่งขันด้านราคา กับสินค้าจีน 2) ผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ อาจสร้างความไม่แน่นอนของนโยบายภาษี สินค้านำเข้าทุกประเภทจากทุกประเทศเพิ่มเติม 3) ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์จากสงครามยืดเยื้อ การแบ่งขั้ว ทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น หรือมาตรการกีดกันการค้าที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบ ต่อการค้าโลก 4) การผันผวนของค่าเงินบาท จากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยจากธนาคารกลาง สำคัญทั่วโลก (5) ค่าระวางเรือและค่าขนส่งที่อาจจะกลับมาสูงขึ้น จากสงครามที่เกิดขึ้นบ่อย และรุนแรงขึ้น รวมถึงปัญหาการขาดแคลนเรือขนส่งและตู้คอนเทนเนอร์ ปัจจัยภายในและนอกประเทศเหล่านี้กดดันให้เครื่องยนต์ส่งออกของไทย อ่อนแอลง และเป็นสัญญาณที่น่ากังวล เนื่องจากการบริโภคและการลงทุน ในประเทศก็กำลังอ่อนแรงเช่นกัน โดยการบริโภคถูกจำกัดจากภาระหนี้ ครัวเรือนสูง และการลงทุนได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ในประเทศ ที่เปราะบาง อย่างไรก็ตาม การส่งออกของไทยยังไม่ไร้ความหวังเสียทีเดียว หากรัฐบาลสามารถจัดการ 3 ปัจจัยหลักได้ ได้แก่ แรงงาน การลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) และยุทธศาสตร์นโยบายอุปทานที่ชัดเจน ประเทศไทยจะสามารถปรับโครงสร้างการผลิตให้แข็งแกร่งขึ้น และช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้บนข้อได้เปรียบที่ไทยมีอยู่แล้ว เช่น โครงสร้างพื้นฐานที่ดี ทังนี้ปัจจัยกดดันจากภายนอกเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่าหากโครงสร้างการผลิตของไทย แข็งแกร่ง จะช่วยลดผลกระทบจากปัจจัยเหล่านี้ได้ และอาจทำให้ไทย ได้รับประโยชน์จากบางปัจจัย เช่น ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจนำมาซึ่ง การย้ายฐานการผลิตและการลงทุนใหม่ ๆ การส่งออกไทยในปัจจุบันเปรียบเหมือนรถที่กำลังวิ่งอย่างเชื่องช้า ที่ต้องเลือกว่าจะเริ่มซ่อมแซมและปรับปรุงโครงสร้างเครื่องยนต์ ให้ทันสมัยจุดไหนบ้าง เพื่อให้รถคันนี้กลับมาวิ่งเร็วได้อีกครั้ง แต่หากไม่เริ่มทำอะไรวันนี้ เครื่องยนต์เก่านี้อาจพังในไม่ช้า ทำให้รถเราค่อยๆ หยุดวิ่ง และปล่อยให้รถคันอื่นแซงหน้า ไปคันแล้วคันเล่า ที่มา : SCB EIC ศูนย์วิจัยไทยพาณิชย์ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #การส่งออกไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1136 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts