• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 952
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952
    ชื่อบทธรรม : -ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์
    ซึ่งในบัดนี้ พระโคดมผู้เจริญได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?”
    --พราหมณ์ ! ในกรณีนี้
    เราเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เวลาเช้าครองจีวร
    เที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านหรือนิคมนั้น.
    ครั้นเวลาหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวไปตามแนวป่า.
    เรานั้น,
    วัตถุใดมีอยู่ในที่นั้นๆ จะเป็นหญ้าหรือใบไม้ก็ตาม,
    คร่ามาแล้ว (ทำเป็นที่รองนั่ง) นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า,
    เรานั้นสงัดจากกามและอกุศธรรมทั้งหลาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่๑ ....*--๑
    ฌานที่ ๒ ....
    ฌานที่ ๓ ....
    ฌานที่ ๔ ....
    อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข...
    มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่,

    (นั่งคู่บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้าเราสงัดจากกาม
    สงัดจากอกุศลธรรม เข้า &​ปฐมฌาน(ฌานที่๑)​;
    มีวิตก วิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้า &ทุติยฌาน(ฌานที่ ๒)​
    มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจาร สงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย;
    เพราะปีติสิ้นไป เข้า &​ตติยฌาน(ฌานที่ ๓)​
    ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข;
    เข้า &​จตุตถฌาน(ฌานที่ ๔)​ ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข
    เพราะละสุขละทุกข์(อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข)​ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้
    มีแต่สติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    )​
    *--๑. ที่ละไว้ด้วยจุด ดูคำเต็มเรื่องรูปฌานทั้งสี่ เช่นในหัวข้อว่า “อาการที่อยู่ในฌาน เรียกว่า #ตถาคตไสยา” .

    --พราหมณ์ ! เราขณะเมื่อเป็นอย่างนี้ ถ้าเดินอยู่,
    ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า ที่เดินอันเป็นทิพย์,
    ถ้ายืนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่ยืนอันเป็นทิพย์,
    ถ้านั่งอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า อาสนะทิพย์,
    ถ้าสำเร็จการนอนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่นอนอันเป็นทิพย์.
    --พราหมณ์ ! นี้แล #ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์
    http://etipitaka.com/read/pali/20/234/?keywords=พฺราหฺมณ+ทิพฺ
    ซึ่งใน บัดนี้ เราได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/234/503.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/175/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๓๔/๕๐๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=952
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_51.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ สัทธรรมลำดับที่ : 952 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952 ชื่อบทธรรม : -ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ เนื้อความทั้งหมด :- --ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์ ซึ่งในบัดนี้ พระโคดมผู้เจริญได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?” --พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ เราเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เวลาเช้าครองจีวร เที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านหรือนิคมนั้น. ครั้นเวลาหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวไปตามแนวป่า. เรานั้น, วัตถุใดมีอยู่ในที่นั้นๆ จะเป็นหญ้าหรือใบไม้ก็ตาม, คร่ามาแล้ว (ทำเป็นที่รองนั่ง) นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เรานั้นสงัดจากกามและอกุศธรรมทั้งหลาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่๑ ....*--๑ ฌานที่ ๒ .... ฌานที่ ๓ .... ฌานที่ ๔ .... อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข... มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่, (นั่งคู่บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้าเราสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้า &​ปฐมฌาน(ฌานที่๑)​; มีวิตก วิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้า &ทุติยฌาน(ฌานที่ ๒)​ มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจาร สงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย; เพราะปีติสิ้นไป เข้า &​ตติยฌาน(ฌานที่ ๓)​ ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข; เข้า &​จตุตถฌาน(ฌานที่ ๔)​ ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์(อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข)​ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีแต่สติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. )​ *--๑. ที่ละไว้ด้วยจุด ดูคำเต็มเรื่องรูปฌานทั้งสี่ เช่นในหัวข้อว่า “อาการที่อยู่ในฌาน เรียกว่า #ตถาคตไสยา” . --พราหมณ์ ! เราขณะเมื่อเป็นอย่างนี้ ถ้าเดินอยู่, ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า ที่เดินอันเป็นทิพย์, ถ้ายืนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่ยืนอันเป็นทิพย์, ถ้านั่งอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า อาสนะทิพย์, ถ้าสำเร็จการนอนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่นอนอันเป็นทิพย์. --พราหมณ์ ! นี้แล #ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์ http://etipitaka.com/read/pali/20/234/?keywords=พฺราหฺมณ+ทิพฺ ซึ่งใน บัดนี้ เราได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/234/503. http://etipitaka.com/read/thai/20/175/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๓๔/๕๐๓. http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=952 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=952 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_51.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์
    -ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! ที่นั่งนอนสูงใหญ่อันเป็นทิพย์ ซึ่งในบัดนี้ พระโคดมผู้เจริญได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบาก นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?” พราหมณ์ ! ในกรณีนี้ เราเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เวลาเช้าครองจีวร เที่ยวไปบิณฑบาตในบ้านหรือนิคมนั้น. ครั้นเวลาหลังอาหารกลับจากบิณฑบาตแล้ว เที่ยวไปตามแนวป่า. เรานั้น, วัตถุใดมีอยู่ในที่นั้นๆ จะเป็นหญ้าหรือใบไม้ก็ตาม, คร่ามาแล้ว (ทำเป็นที่รองนั่ง) นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เรานั้นสงัดจากกามและอกุศธรรมทั้งหลาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่๑ ....๑ ที่ ๒ .... ที่ ๓ .... ที่ ๔ อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่, พราหมณ์ ! เราขณะเมื่อเป็นอย่างนี้ ถ้าเดินอยู่, ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า ที่เดินอันเป็นทิพย์, ถ้ายืนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่ยืนอันเป็นทิพย์, ถ้านั่งอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า อาสนะทิพย์, ถ้าสำเร็จการนอนอยู่ สถานที่ตรงนั้น ในสมัยนั้น ก็ชื่อว่า ที่นอนอันเป็นทิพย์. พราหมณ์ ! นี้แล ที่นั่งนอน ๑. ที่ละไว้ด้วยจุด ดูคำเต็มเรื่องรูปฌานทั้งสี่ เช่นในหัวข้อว่า “อาการที่อยู่ในฌาน เรียกว่าตถาคตไสยา” ที่หน้า ๑๓๐๙ แห่งหนังสือเล่มนี้. สูงใหญ่อันเป็นทิพย์ ซึ่งใน บัดนี้ เราได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย.
    0 Comments 0 Shares 158 Views 0 Reviews