• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมัคคปฏิบัติ ต้องอาศัยที่ตั้งคือศีล
    สัทธรรมลำดับที่ : 1022
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมัคคปฏิบัติ ต้องอาศัยที่ตั้งคือศีล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1022
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมัคคปฏิบัติ ต้องอาศัยที่ตั้งคือศีล
    --ภิกษุ ท. ! การงานใดๆ ที่ต้องกระทำด้วยกำลัง,
    การงานเหล่านั้นทั้งหมดต้องกระทำด้วยกำลัง
    กระทำได้เมื่ออาศัยซึ่งแผ่นดิน ยืนอยู่บนแผ่นดิน,
    ข้อนี้ฉันใด;
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีล
    ย่อมเจริญ กระทำให้มากได้ ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/68/?keywords=สีล+อริย+อฏฺฐงฺคิกํ+มคฺคํ
    ฉันนั้นเหมือนกัน.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีล
    ย่อมเจริญ กระทำให้มากได้ ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม
    เจริญสัมมาทิฏฐิ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดคืน (ซึ่งอุปทานขันธ์);
    เจริญสัมมาสังกัปปะ ....
    เจริญสัมมาวาจา ....
    เจริญสัมมากัมมันตะ ....
    เจริญสัมมาอาชีวะ ....
    เจริญสัมมาวายามะ ....
    เจริญสัมมาสติ ....
    เจริญสัมมาสมาธิ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดคืน (ซึ่งอุปาทานขันธ์) .
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีล
    ย่อมเจริญ กระทำให้มากได้ #ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/71/?keywords=สีล+อริย+อฏฺฐงฺคิกํ+มคฺคํ

    --[
    ศีลอันเป็นที่ตั้งพื้นฐานในที่นี้
    มิได้หมายถึงศีลที่มีรวมอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค,
    หาก แต่เป็นศีลพื้นฐาน (เช่น ศีลห้า อุโบสถศีล)​
    อันยัง มิได้ปรารภ วิเวก–วิราค–นิโรธ–โวสสัคคะ.
    +--ลักษณะแห่งการเจริญอริยมรรคนั้น กล่าวไว้หลายวิธี
    : ในที่อื่น กล่าวว่า เจริญองค์แห่งมรรคแต่ละองค์ๆ อย่างที่
    มีการนำออกซึ่งราคะเป็นที่สุดรอบ (ราควินยปริโยสาน)
    มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นที่สุดรอบ (โทสวินยปริโยสาน)
    มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นที่สุดรอบ (โมหวินยปริโยสาน)
    ((มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๘ – ๖๙/๒๖๖ - ๒๖๗) ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/68/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%96
    +--ในที่อื่นว่า เจริญองค์แห่งอริยมรรค อย่างที่
    มีอมตะเป็นที่หยั่งลง (อมโตคธ)
    มีอมตะเป็นที่ไปในเบื้องหน้า (อมตปรายน)
    มีอมตะเป็นที่ สุดรอบ (อมตปริโยสาน)
    (มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙ /๒๖๘ - ๒๖๙) ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%98
    +--ในที่อื่นแสดงลักษณะแห่งองค์อริยมรรคว่า
    เอียงไปสู่นิพพาน (นิพฺพานนินฺน)
    น้อมไปสู่นิพพาน (นิพฺพานโปณ)
    ลาดลุ่มไปสู่นิพพาน (นิพฺพานปพฺภาร)
    (มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙ – ๗๐/๒๗๐ - ๒๗๑) ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%90
    ต่างกันอยู่เป็นสี่รูปแบบดังนี้ ล้วนแต่เป็นที่ น่าสนใจนำไปพิจารณา.
    +--กิริยาที่ผู้ปฏิบัติต้องอาศัยศีลเป็นที่ตั้ง
    มีอุปมาเหมือนการทำงานต้องอาศัยเหยียบแผ่นดินเป็นที่ตั้ง นั้น ยังอุปมาแปลกออกไป
    เหมือนการที่พฤกษาชาติทั้งหลายต้องอาศัยแผ่นดิน เป็นที่งอกงาม ก็มี
    (มหาวาร. สํ. ๑๙/ ๗๐/๒๗๒ - ๒๗๓)
    http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%92
    และ เหมือนพวกนาคอาศัยซอกเขาหิมพานต์(หิมวันต์)​เป็นที่เกิดเป็นที่เจริญ ก็มี
    (มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๑/๒๗๔ - ๒๗๕) ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/71/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%94
    ล้วนแต่มีความหมายอย่างเดียวกันว่า ว่าต้องมีที่ตั้ง ที่อาศัย
    ]--.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/69/264 - 265.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๘/๒๖๔ - ๒๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/68/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1022
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1022
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88
    ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมัคคปฏิบัติ ต้องอาศัยที่ตั้งคือศีล สัทธรรมลำดับที่ : 1022 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมัคคปฏิบัติ ต้องอาศัยที่ตั้งคือศีล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1022 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมัคคปฏิบัติ ต้องอาศัยที่ตั้งคือศีล --ภิกษุ ท. ! การงานใดๆ ที่ต้องกระทำด้วยกำลัง, การงานเหล่านั้นทั้งหมดต้องกระทำด้วยกำลัง กระทำได้เมื่ออาศัยซึ่งแผ่นดิน ยืนอยู่บนแผ่นดิน, ข้อนี้ฉันใด; +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีล ย่อมเจริญ กระทำให้มากได้ ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค, http://etipitaka.com/read/pali/19/68/?keywords=สีล+อริย+อฏฺฐงฺคิกํ+มคฺคํ ฉันนั้นเหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีล ย่อมเจริญ กระทำให้มากได้ ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัมมาทิฏฐิ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดคืน (ซึ่งอุปทานขันธ์); เจริญสัมมาสังกัปปะ .... เจริญสัมมาวาจา .... เจริญสัมมากัมมันตะ .... เจริญสัมมาอาชีวะ .... เจริญสัมมาวายามะ .... เจริญสัมมาสติ .... เจริญสัมมาสมาธิ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดคืน (ซึ่งอุปาทานขันธ์) . +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีล ย่อมเจริญ กระทำให้มากได้ #ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค.- http://etipitaka.com/read/pali/19/71/?keywords=สีล+อริย+อฏฺฐงฺคิกํ+มคฺคํ --[ ศีลอันเป็นที่ตั้งพื้นฐานในที่นี้ มิได้หมายถึงศีลที่มีรวมอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค, หาก แต่เป็นศีลพื้นฐาน (เช่น ศีลห้า อุโบสถศีล)​ อันยัง มิได้ปรารภ วิเวก–วิราค–นิโรธ–โวสสัคคะ. +--ลักษณะแห่งการเจริญอริยมรรคนั้น กล่าวไว้หลายวิธี : ในที่อื่น กล่าวว่า เจริญองค์แห่งมรรคแต่ละองค์ๆ อย่างที่ มีการนำออกซึ่งราคะเป็นที่สุดรอบ (ราควินยปริโยสาน) มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นที่สุดรอบ (โทสวินยปริโยสาน) มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นที่สุดรอบ (โมหวินยปริโยสาน) ((มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๘ – ๖๙/๒๖๖ - ๒๖๗) ; http://etipitaka.com/read/pali/19/68/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%96 +--ในที่อื่นว่า เจริญองค์แห่งอริยมรรค อย่างที่ มีอมตะเป็นที่หยั่งลง (อมโตคธ) มีอมตะเป็นที่ไปในเบื้องหน้า (อมตปรายน) มีอมตะเป็นที่ สุดรอบ (อมตปริโยสาน) (มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙ /๒๖๘ - ๒๖๙) ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%98 +--ในที่อื่นแสดงลักษณะแห่งองค์อริยมรรคว่า เอียงไปสู่นิพพาน (นิพฺพานนินฺน) น้อมไปสู่นิพพาน (นิพฺพานโปณ) ลาดลุ่มไปสู่นิพพาน (นิพฺพานปพฺภาร) (มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙ – ๗๐/๒๗๐ - ๒๗๑) ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%90 ต่างกันอยู่เป็นสี่รูปแบบดังนี้ ล้วนแต่เป็นที่ น่าสนใจนำไปพิจารณา. +--กิริยาที่ผู้ปฏิบัติต้องอาศัยศีลเป็นที่ตั้ง มีอุปมาเหมือนการทำงานต้องอาศัยเหยียบแผ่นดินเป็นที่ตั้ง นั้น ยังอุปมาแปลกออกไป เหมือนการที่พฤกษาชาติทั้งหลายต้องอาศัยแผ่นดิน เป็นที่งอกงาม ก็มี (มหาวาร. สํ. ๑๙/ ๗๐/๒๗๒ - ๒๗๓) http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%92 และ เหมือนพวกนาคอาศัยซอกเขาหิมพานต์(หิมวันต์)​เป็นที่เกิดเป็นที่เจริญ ก็มี (มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๑/๒๗๔ - ๒๗๕) ; http://etipitaka.com/read/pali/19/71/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%94 ล้วนแต่มีความหมายอย่างเดียวกันว่า ว่าต้องมีที่ตั้ง ที่อาศัย ]--. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/69/264 - 265. http://etipitaka.com/read/thai/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๘/๒๖๔ - ๒๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/68/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1022 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1022 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88 ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมัคคปฏิบัติ ต้องอาศัยที่ตั้งคือศีล
    -อัฏฐังคิกมัคคปฏิบัติ ต้องอาศัยที่ตั้งคือศีล ภิกษุ ท. ! การงานใดๆ ที่ต้องกระทำด้วยกำลัง, การงานเหล่านั้นทั้งหมดต้องกระทำด้วยกำลัง กระทำได้เมื่ออาศัยซึ่งแผ่นดิน ยืนอยู่บนแผ่นดิน, ข้อนี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีล ย่อมเจริญ กระทำให้มากได้ ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีล ย่อมเจริญ กระทำให้มากได้ ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดคืน (ซึ่งอุปทานขันธ์); เจริญสัมมาสังกัปปะ .... เจริญสัมมาวาจา .... เจริญสัมมากัมมันตะ .... เจริญสัมมา - อาชีวะ .... เจริญสัมมาวายามะ .... เจริญสัมมาสติ .... เจริญสัมมาสมาธิ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดคืน (ซึ่งอุปาทานขันธ์) . ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยู่ในศีล ย่อมเจริญ กระทำให้มากได้ ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 194 มุมมอง 0 รีวิว