• วันนี้วันพระ.ธรรมะยามเช้า หลวงปู่ฝั้น อาจาโร.#MGRONLINE #หลวงปู่ฝั้นอาจาโร #วัดป่าอุดมสมพร #สกลนคร #พระภิกษุ #เทศนาธรรม #ธรรมะยามเช้า #พระ #เจริญพร #เจริญสติ #พระพุทธศาสนา #จิตบริสุทธิ์ #ปฏิบัติธรรม #เลื่อมใส #ศรัทธา #คำสอน #คติธรรม #คําคม
    วันนี้วันพระ.ธรรมะยามเช้า หลวงปู่ฝั้น อาจาโร.#MGRONLINE #หลวงปู่ฝั้นอาจาโร #วัดป่าอุดมสมพร #สกลนคร #พระภิกษุ #เทศนาธรรม #ธรรมะยามเช้า #พระ #เจริญพร #เจริญสติ #พระพุทธศาสนา #จิตบริสุทธิ์ #ปฏิบัติธรรม #เลื่อมใส #ศรัทธา #คำสอน #คติธรรม #คําคม
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 104 มุมมอง 0 รีวิว
  • #เรื่องหลวงพ่อฤาษีขึ้นไปบนนิพพาน #ฟังพระพุทธองค์ทรงสอนบารมี๑๐ทัศ..." วันนี้ต้องสอนบรรดาท่านพุทธบริษัท เรียกว่าเอากันเฉือนขั้นสุดท้ายเลย เรียกว่าทิ้งทวนหรือทิ้งไพ่ใบสุดท้าย และพุ่งทวนเล่มใหญ่ท้ายสุดที่มีอยู่..🌸นั่นคือคำแนะนำขององค์สมเด็จพระบรมครู ที่เรียกว่า.. บารมี ๑๐ ทัศ* วันนั้นสอนบารมี ๑๐ ทัศ แก่บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านทั้งหลายจะมีความเข้าใจหรือไม่เข้าใจเพียงใด อาตมาก็ไม่ทราบ เพราะสอนไม่ค่อยตรงเป้าหมาย..🌸 เมื่อสอนเสร็จ เวลาผ่านไปก็ดับไฟ สั่งให้บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายพากันเจริญพระกรรมฐาน ทรงสติสัมปชัญญะ คือว่า.. ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติให้มั่น กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ใช้คำภาวนา หรือพิจารณาตามอัธยาศัย เพราะการภาวนาก็ดี พิจารณาก็ดี นี่ อาตมาไม่ขัดใจใคร ใครเคยทำแบบไหนคล่องมาแล้ว ให้ทำอย่างนั้นไม่เปลี่ยนแปลง เพราะอะไร..🌼 เพราะว่า.. การภาวนาหรือพิจารณาที่ทำมาแล้ว ถ้าไม่ผิดก็ไม่ควรจะเปลี่ยน เพราะแบบปฏิบัติมีมากด้วยกัน ไม่จำเป็นว่าจะต้องทำอย่างนั้นทำอย่างนี้ จึงจะถูก ทำอย่างไรก็ตาม ถ้าปรารภจิตเป็นสมาธิระงับจากนิวรณ์ หรือปรารภจิตเป็นปฏิปักษ์กับขันธ์ ๕ ใช้ได้หมด ถ้าตรงกับแนวคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระบรมสุคตแล้ว อาตมาไม่ปฏิเสธการปฏิบัติของบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน..* เมื่อบรรดาท่านพุทธบริษัทเริ่มปฏิบัติ อาตมาก็คิดในใจว่า.. ร่างกายไม่ดีแบบนี้ เราจะทนมันอยู่ทำไม ไปเสียจากร่างกายดีกว่า ปล่อยให้มันนั่งอยู่ตรงนี้ พอสัญญาณบอกเวลาปรากฏเราจึงจะกลับมา.* ฉะนั้น จึงไปได้เสียจากกาย ไปไหว้พระ จะไปแบบไหนอันนี้บรรดาท่านพุทธบริษัท อาตมาไม่บอก บอกไม่ได้.. ไปอย่างไร ไปโดยวิธีไหน อยากรู้ก็ปฏิบัติกันเอาเอง.🌼 แต่ความจริงมันก็ไม่ใช่ของดีเด่นอะไรนัก การไปได้ มาได้ ถ้าใจเหลิงเกินไปก็ลงนรกได้ ไม่ใช่ของพิเศษ เมื่อออกไปแล้วก็พบองค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์* นี่ขวางกับชาวบ้านเขาแล้ว เขาบอกว่า.. พระพุทธเจ้านิพพานไปแล้ว จะพบได้ยังไง นั่นมันเรื่องของเขา บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย นี่มันเรื่องของอาตมา อาตมาพบกันได้ก็แล้วกัน.🌸 เมื่อพบแล้ว ก็เข้าไปนมัสการองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว พอเงยหน้าขึ้นมา..🌸 พระองค์ก็ทรงตรัสถามว่า : " สัมพเกษี วันนี้เธอสอนบารมี ๑๐ ทัศใช่ไหม.?"🌸 ก็กราบทูลพระองค์ท่านว่า : " ใช่พระพุทธเจ้าข้า "🌸 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสถามว่า : " สัมพเกษี บารมีแปลว่าอะไร.? ”* ตอนนี้ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ขอได้โปรดทราบว่า.. ถ้าอาตมาสอนถูก พระองค์จะไม่ตรัสแบบนั้น อาตมารู้ทันรู้เท่าเข้าใจทันทีว่า.. การสอนวันนี้ผิดพุทธพจน์บทพระบาลี..🌼 นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท การสอนนี้ ไม่ใช่ว่ามันจะถูกเสมอไป มันก็ผิดได้เหมือนกัน เมื่อองค์สมเด็จพระจอมไตร มีพระพุทธฎีกาตรัสถามแบบนั้น อาตมาก็ทราบ..🌼 จึงได้กราบทูลพระพุทธองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้าไม่แน่ใจนัก พระพุทธเจ้าข้า แต่ที่เรียนกันมา ครูสอนว่า บารมี แปลว่า เต็ม "🌼 พระพุทธองค์ จึงตรัสถามว่า : " อะไรมันเต็ม และมันเต็มแบบไหน สมมุติว่า เธอจะปฏิบัติในทานบารมี.. ทำยังไง ทานบารมีมันถึงจะเต็ม ถ้าหากว่า จะนำของมาให้เต็มโลก เธอจะไปขนมาจากไหน.. ถ้าเราไม่นำของมาให้ ทำยังไงทานบารมีมันจึงจะเต็ม "🌼 แบบนี้มันก็อยู่ด้วยกันทั้งนั้นแหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้าคนอย่างอาตมา ถ้าหากว่า ท่านที่เป็นนักปราชญ์ ดีกว่าอาตมาก็ไม่เป็นไร ท่านไปได้ เพราะท่านมีความเข้าใจ ท่านมีความฉลาด อาตมาบอกแล้วนี่ ว่า.. อาตมามีความรู้ไม่เท่าหางอึ่ง คือยาวไม่เท่าหางอึ่ง หรือไม่แค่หางอึ่ง เพราะความโง่มันมาก..🌼 เมื่อองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคตรัสแบบนั้น..🌼 ก็ทูลถามพระองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้า ไม่เข้าใจในบารมีพระพุทธเจ้าข้า "🌺 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษี เธอเข้าใจ ไม่ใช่ไม่เข้าใจ แต่ว่าเธอดีแต่เฉพาะบริโภคเองเท่านั้น แต่การที่จะแบ่งปันให้บุคคลอื่นน่ะ เธอไม่มีความฉลาด การที่เธอตั้งกำลังใจในบารมี ๑๐ ทัศ เป็น ๓๐ ทัศ ด้วยกัน ๓ ชั้น เธอทำได้ แต่ว่าวันนี้ เธอสอนท่านบรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย เธอทำไม่ถูก เธอจงมีความเข้าใจเสียใหม่ว่า.. คำว่า บารมี มันแปลว่า เต็ม แต่อะไรมันเต็ม ตถาคตจะบอกให้ว่า.. บารมีนี่ควรจะแปลว่า "กำลังใจเต็ม "* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท จำไว้ให้ดีว่า.. คำว่า บารมี ก็คือกำลังใจ ทำกำลังใจให้เต็ม..🌺 ตอนนี้ซิ ชักจะฉลาดขึ้นมาทันที มานึกในใจว่า เรานี่มันแสนจะโง่เสียมาก🌺 กำลังใจเต็ม ตอนไหน บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านก็ทรงให้ทวนเรื่องบารมี ๑๐ ทัศ ว่ามีอะไรบ้าง อาตมาก็ถวายคำตอบแก่พระองค์ว่า..๑. ทานบารมี๒. ศีลบารมี๓. เนกขัมมบารมี๔. ปัญญาบารมี๕. วิริยบารมี๖. ขันติบารมี๗. สัจจบารมี๘. อธิษฐานบารมี๙. เมตตาบารมี๑๐. อุเบกขาบารมี* องค์สมเด็จพระชินสีห์ จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษีถูกแล้ว บารมีทั้งหมดนี้ใช้กำลังใจ สร้างกำลังใจให้มันทรงอยู่ในใจทั้งหมด ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ ไม่มีอะไรบกพร่องคือ..๑. จิตของเรา พร้อมที่จะให้ทานเป็นปกติ.๒. จิตพร้อมในการทรงศีล..🌻 นี่ซิ บรรดาท่านพุทธบริษัท พร้อมในการทรงศีลเป็นปกติ ไม่ใช่ปล่อยให้ศีลมันหล่นหายไป..๓. จิตพร้อมในการทรง เนกขัมมะ เป็นปกติ..🌻 เนกขัมมะ ก็แปลว่า การถือบวช บวชผมยาว บวชผมสั้น บวชโกนหัว ไม่โกนหัวได้ทั้งนั้น..๔. จิตพร้อมที่จะใช้ ปัญญา เป็นเครื่องประหัตประหารอุปาทานให้พินาศไป..๕. วิริยะ มีความเพียรทุกขณะ ควบคุมใจไว้เสมอ..๖. ขันติ มีทั้งอดทั้งทน อดกลั้นต่อสิ่งที่เป็นปฏิปักษ์..๗. สัจจะ ทรงตัวไว้ตลอดเวลาว่า เราจะจริงทุกอย่าง ไม่มีอะไรในคำว่าไม่จริงสำหรับเรา ในด้านของการทำความดี..๘. อธิษฐานบารมี ตั้งใจไว้ให้ตรงโดยเฉพาะพระนิพพาน๙. เมตตาบารมี สร้างอารมณ์ความดี ไม่เป็นศัตรูกับใคร มีความรักตน เสมอด้วยบุคคลอื่น๑๐. อุเบกขาบารมี วางเฉยเข้าไว้ ในเมื่อร่างกายมันไม่ทรงตัว อย่างที่เธอเป็นในวันนี้..💎 อุเบกขาบารมี ตัวนี้ พระองค์ทรงตรัสว่า : ตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันเป็นปกติว่า " ช่างมัน " ขันติบารมีนี่ก็เหมือนกัน ใช้คำว่า " ช่างมัน " ตรงตัวดี..* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ทั้งหลายโดยถ้วนหน้า วันนี้ยังไม่สอนอะไรบรรดาท่านพุทธบริษัท เรามาคุยกันในคำว่า " บารมี " เสียก่อน เพื่อที่จะให้บรรดาพระโยคาวจรทั้งหลาย ได้ทราบชัดว่า.. บารมีที่องค์สมเด็จพระทรงสวัสดิโสภาคย์ ให้เราสร้างให้มันเต็มนั้น ก็คือ สร้างกำลังใจ ปลูกฝังกำลังใจ ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์สมบูรณ์.. 💎 ไม่ใช่ว่า เราจะมานั่งคิด จะมานอนคิด เราจะมาทรงจิตว่า เอ๊..! บารมีของเรามันไม่มีนี่ ชาติก่อนบารมีของเรามันไม่พอ บารมีของเรายังไม่เต็ม เราจะเป็นพระโสดาบัน สกิทาคา อนาคา อรหันต์ ยังไงได้..* ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย มีความเข้าใจตามนี้ พอยังจะรู้รึยังว่า.. เราจะสามารถะสร้างบารมีได้ ด้วยอาศัยกำลังใจ 💎 ความดีของบรรดาท่านพุทธบริษัท มีกำลังใจอย่างเดียวเท่านั้น ที่เราจะสามารถทำมันให้ดีหรือไม่ดี อันนี้ก็ตรงกับพระบาลีที่องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้ในเรื่อง พระจักขุบาล ว่า.." มโนปุพพังคมา ธัมมา มโนเสฏฐา มโนมยา "" ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจประเสริฐสุด สำเร็จด้วยใจ " 💎 นี่ความจริง เรื่องนี้ก็เรียนกันมาแล้วท่านบรรดาพุทธบริษัท แต่เวลาปฏิบัติจริง ๆ ทำไมมันถึงลืมก็ไม่ทราบ..💎 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย หวังว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน คงจะเข้าใจคำว่า บารมี แล้วอย่าลืม บารมี แปลว่าเต็ม แต่ส่วนที่เราจะทำให้เต็มนั้นก็คือ กำลังใจ ให้กำลังใจมันพร้อม พร้อมที่จะทรงความดีในด้านบารมีไว้..💎 ถ้ากำลังใจของเราพร้อมทรงบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ครบถ้วนเพียงใด บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ความเป็นพระอริยเจ้าเป็นของง่าย..* ที่นำบารมีทั้ง ๑๐ ประการ มากล่าวในตอนนี้ ก็เพราะว่า.. ในตอนต้น พูดเรื่องพระโสดาบันเข้าไว้ เห็นว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายอาจจะคิดว่า.. แหม.. มันยากเกินไป ถ้ากำลังใจในการสร้างตนเป็นพระโสดาบัน มันยังครบถ้วนไม่ได้ ก็หันมาจัดการกับบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ให้มันครบถ้วนบริบูรณ์..* ทาน การให้ เป็นการตัดความโลภ.* ศีล เราก็ตัดความโกรธ* เนกขัมมะ ตัดอารมณ์ของกามคุณ* ปัญญา ตัดความโง่* วิริยะ ตัดความขี้เกียจ* ขันติ ตัดความไม่รู้จักการอดทน* สัจจะ ตัดความไม่จริงใจ มีอารมณ์ใจกลับกลอก* อธิษฐาน ทรงกำลังไว้ให้สมบูรณ์บริบูรณ์* เมตตา สร้างความเยือกเย็นของจิตใจ* อุเบกขา วางเฉยเข้าไว้ในเรื่องของกาย เราไม่ปรารภ🌺 เท่านี้แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัทสมบูรณ์เพียงใด คำว่า.. พระโสดาบัน นั้น บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย จะรู้สึกว่าง่ายเกินไปสำหรับบรรดาท่านพุทธบริษัท..🌼 ทำไมจึงว่าอย่างนั้น.. ก็เพราะว่า คนที่มีบารมีเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ มีกำลังใจเต็มทุกอย่างใน ๑๐ ประการนี้ องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่เรียกว่า "พระโสดาบัน" แล้ว ท่านเรียกว่าอะไร.. ท่านเรียกว่า "พระขีณาสพ" แปลว่า ผู้มีอาสวะอันสิ้นไปแล้ว หรือเรียกว่า "พระอรหัตผล" เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาอันดับสูงสุด เข้าถึงซึ่งพระนิพพานได้..🌸 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย วันนี้ก็ขอยุติไว้แต่เพียงเท่านี้..🌷 ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคลสมบูรณ์พูนผล จงมีแด่บรรดาท่านพุทธศาสนิกชนทุกท่าน สวัสดี..."( จากหนังสือ *บารมี ๑๐* โดย พระราชพรหมยานฯ หน้าที่ ๘-๑๖ ของวัดท่าซุง จ.อุทัยธานี) #ที่มานิพพานังปรมังสุขัง.
    #เรื่องหลวงพ่อฤาษีขึ้นไปบนนิพพาน #ฟังพระพุทธองค์ทรงสอนบารมี๑๐ทัศ..." วันนี้ต้องสอนบรรดาท่านพุทธบริษัท เรียกว่าเอากันเฉือนขั้นสุดท้ายเลย เรียกว่าทิ้งทวนหรือทิ้งไพ่ใบสุดท้าย และพุ่งทวนเล่มใหญ่ท้ายสุดที่มีอยู่..🌸นั่นคือคำแนะนำขององค์สมเด็จพระบรมครู ที่เรียกว่า.. บารมี ๑๐ ทัศ* วันนั้นสอนบารมี ๑๐ ทัศ แก่บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านทั้งหลายจะมีความเข้าใจหรือไม่เข้าใจเพียงใด อาตมาก็ไม่ทราบ เพราะสอนไม่ค่อยตรงเป้าหมาย..🌸 เมื่อสอนเสร็จ เวลาผ่านไปก็ดับไฟ สั่งให้บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายพากันเจริญพระกรรมฐาน ทรงสติสัมปชัญญะ คือว่า.. ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติให้มั่น กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ใช้คำภาวนา หรือพิจารณาตามอัธยาศัย เพราะการภาวนาก็ดี พิจารณาก็ดี นี่ อาตมาไม่ขัดใจใคร ใครเคยทำแบบไหนคล่องมาแล้ว ให้ทำอย่างนั้นไม่เปลี่ยนแปลง เพราะอะไร..🌼 เพราะว่า.. การภาวนาหรือพิจารณาที่ทำมาแล้ว ถ้าไม่ผิดก็ไม่ควรจะเปลี่ยน เพราะแบบปฏิบัติมีมากด้วยกัน ไม่จำเป็นว่าจะต้องทำอย่างนั้นทำอย่างนี้ จึงจะถูก ทำอย่างไรก็ตาม ถ้าปรารภจิตเป็นสมาธิระงับจากนิวรณ์ หรือปรารภจิตเป็นปฏิปักษ์กับขันธ์ ๕ ใช้ได้หมด ถ้าตรงกับแนวคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระบรมสุคตแล้ว อาตมาไม่ปฏิเสธการปฏิบัติของบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน..* เมื่อบรรดาท่านพุทธบริษัทเริ่มปฏิบัติ อาตมาก็คิดในใจว่า.. ร่างกายไม่ดีแบบนี้ เราจะทนมันอยู่ทำไม ไปเสียจากร่างกายดีกว่า ปล่อยให้มันนั่งอยู่ตรงนี้ พอสัญญาณบอกเวลาปรากฏเราจึงจะกลับมา.* ฉะนั้น จึงไปได้เสียจากกาย ไปไหว้พระ จะไปแบบไหนอันนี้บรรดาท่านพุทธบริษัท อาตมาไม่บอก บอกไม่ได้.. ไปอย่างไร ไปโดยวิธีไหน อยากรู้ก็ปฏิบัติกันเอาเอง.🌼 แต่ความจริงมันก็ไม่ใช่ของดีเด่นอะไรนัก การไปได้ มาได้ ถ้าใจเหลิงเกินไปก็ลงนรกได้ ไม่ใช่ของพิเศษ เมื่อออกไปแล้วก็พบองค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์* นี่ขวางกับชาวบ้านเขาแล้ว เขาบอกว่า.. พระพุทธเจ้านิพพานไปแล้ว จะพบได้ยังไง นั่นมันเรื่องของเขา บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย นี่มันเรื่องของอาตมา อาตมาพบกันได้ก็แล้วกัน.🌸 เมื่อพบแล้ว ก็เข้าไปนมัสการองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว พอเงยหน้าขึ้นมา..🌸 พระองค์ก็ทรงตรัสถามว่า : " สัมพเกษี วันนี้เธอสอนบารมี ๑๐ ทัศใช่ไหม.?"🌸 ก็กราบทูลพระองค์ท่านว่า : " ใช่พระพุทธเจ้าข้า "🌸 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสถามว่า : " สัมพเกษี บารมีแปลว่าอะไร.? ”* ตอนนี้ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ขอได้โปรดทราบว่า.. ถ้าอาตมาสอนถูก พระองค์จะไม่ตรัสแบบนั้น อาตมารู้ทันรู้เท่าเข้าใจทันทีว่า.. การสอนวันนี้ผิดพุทธพจน์บทพระบาลี..🌼 นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท การสอนนี้ ไม่ใช่ว่ามันจะถูกเสมอไป มันก็ผิดได้เหมือนกัน เมื่อองค์สมเด็จพระจอมไตร มีพระพุทธฎีกาตรัสถามแบบนั้น อาตมาก็ทราบ..🌼 จึงได้กราบทูลพระพุทธองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้าไม่แน่ใจนัก พระพุทธเจ้าข้า แต่ที่เรียนกันมา ครูสอนว่า บารมี แปลว่า เต็ม "🌼 พระพุทธองค์ จึงตรัสถามว่า : " อะไรมันเต็ม และมันเต็มแบบไหน สมมุติว่า เธอจะปฏิบัติในทานบารมี.. ทำยังไง ทานบารมีมันถึงจะเต็ม ถ้าหากว่า จะนำของมาให้เต็มโลก เธอจะไปขนมาจากไหน.. ถ้าเราไม่นำของมาให้ ทำยังไงทานบารมีมันจึงจะเต็ม "🌼 แบบนี้มันก็อยู่ด้วยกันทั้งนั้นแหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้าคนอย่างอาตมา ถ้าหากว่า ท่านที่เป็นนักปราชญ์ ดีกว่าอาตมาก็ไม่เป็นไร ท่านไปได้ เพราะท่านมีความเข้าใจ ท่านมีความฉลาด อาตมาบอกแล้วนี่ ว่า.. อาตมามีความรู้ไม่เท่าหางอึ่ง คือยาวไม่เท่าหางอึ่ง หรือไม่แค่หางอึ่ง เพราะความโง่มันมาก..🌼 เมื่อองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคตรัสแบบนั้น..🌼 ก็ทูลถามพระองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้า ไม่เข้าใจในบารมีพระพุทธเจ้าข้า "🌺 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษี เธอเข้าใจ ไม่ใช่ไม่เข้าใจ แต่ว่าเธอดีแต่เฉพาะบริโภคเองเท่านั้น แต่การที่จะแบ่งปันให้บุคคลอื่นน่ะ เธอไม่มีความฉลาด การที่เธอตั้งกำลังใจในบารมี ๑๐ ทัศ เป็น ๓๐ ทัศ ด้วยกัน ๓ ชั้น เธอทำได้ แต่ว่าวันนี้ เธอสอนท่านบรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย เธอทำไม่ถูก เธอจงมีความเข้าใจเสียใหม่ว่า.. คำว่า บารมี มันแปลว่า เต็ม แต่อะไรมันเต็ม ตถาคตจะบอกให้ว่า.. บารมีนี่ควรจะแปลว่า "กำลังใจเต็ม "* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท จำไว้ให้ดีว่า.. คำว่า บารมี ก็คือกำลังใจ ทำกำลังใจให้เต็ม..🌺 ตอนนี้ซิ ชักจะฉลาดขึ้นมาทันที มานึกในใจว่า เรานี่มันแสนจะโง่เสียมาก🌺 กำลังใจเต็ม ตอนไหน บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านก็ทรงให้ทวนเรื่องบารมี ๑๐ ทัศ ว่ามีอะไรบ้าง อาตมาก็ถวายคำตอบแก่พระองค์ว่า..๑. ทานบารมี๒. ศีลบารมี๓. เนกขัมมบารมี๔. ปัญญาบารมี๕. วิริยบารมี๖. ขันติบารมี๗. สัจจบารมี๘. อธิษฐานบารมี๙. เมตตาบารมี๑๐. อุเบกขาบารมี* องค์สมเด็จพระชินสีห์ จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษีถูกแล้ว บารมีทั้งหมดนี้ใช้กำลังใจ สร้างกำลังใจให้มันทรงอยู่ในใจทั้งหมด ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ ไม่มีอะไรบกพร่องคือ..๑. จิตของเรา พร้อมที่จะให้ทานเป็นปกติ.๒. จิตพร้อมในการทรงศีล..🌻 นี่ซิ บรรดาท่านพุทธบริษัท พร้อมในการทรงศีลเป็นปกติ ไม่ใช่ปล่อยให้ศีลมันหล่นหายไป..๓. จิตพร้อมในการทรง เนกขัมมะ เป็นปกติ..🌻 เนกขัมมะ ก็แปลว่า การถือบวช บวชผมยาว บวชผมสั้น บวชโกนหัว ไม่โกนหัวได้ทั้งนั้น..๔. จิตพร้อมที่จะใช้ ปัญญา เป็นเครื่องประหัตประหารอุปาทานให้พินาศไป..๕. วิริยะ มีความเพียรทุกขณะ ควบคุมใจไว้เสมอ..๖. ขันติ มีทั้งอดทั้งทน อดกลั้นต่อสิ่งที่เป็นปฏิปักษ์..๗. สัจจะ ทรงตัวไว้ตลอดเวลาว่า เราจะจริงทุกอย่าง ไม่มีอะไรในคำว่าไม่จริงสำหรับเรา ในด้านของการทำความดี..๘. อธิษฐานบารมี ตั้งใจไว้ให้ตรงโดยเฉพาะพระนิพพาน๙. เมตตาบารมี สร้างอารมณ์ความดี ไม่เป็นศัตรูกับใคร มีความรักตน เสมอด้วยบุคคลอื่น๑๐. อุเบกขาบารมี วางเฉยเข้าไว้ ในเมื่อร่างกายมันไม่ทรงตัว อย่างที่เธอเป็นในวันนี้..💎 อุเบกขาบารมี ตัวนี้ พระองค์ทรงตรัสว่า : ตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันเป็นปกติว่า " ช่างมัน " ขันติบารมีนี่ก็เหมือนกัน ใช้คำว่า " ช่างมัน " ตรงตัวดี..* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ทั้งหลายโดยถ้วนหน้า วันนี้ยังไม่สอนอะไรบรรดาท่านพุทธบริษัท เรามาคุยกันในคำว่า " บารมี " เสียก่อน เพื่อที่จะให้บรรดาพระโยคาวจรทั้งหลาย ได้ทราบชัดว่า.. บารมีที่องค์สมเด็จพระทรงสวัสดิโสภาคย์ ให้เราสร้างให้มันเต็มนั้น ก็คือ สร้างกำลังใจ ปลูกฝังกำลังใจ ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์สมบูรณ์.. 💎 ไม่ใช่ว่า เราจะมานั่งคิด จะมานอนคิด เราจะมาทรงจิตว่า เอ๊..! บารมีของเรามันไม่มีนี่ ชาติก่อนบารมีของเรามันไม่พอ บารมีของเรายังไม่เต็ม เราจะเป็นพระโสดาบัน สกิทาคา อนาคา อรหันต์ ยังไงได้..* ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย มีความเข้าใจตามนี้ พอยังจะรู้รึยังว่า.. เราจะสามารถะสร้างบารมีได้ ด้วยอาศัยกำลังใจ 💎 ความดีของบรรดาท่านพุทธบริษัท มีกำลังใจอย่างเดียวเท่านั้น ที่เราจะสามารถทำมันให้ดีหรือไม่ดี อันนี้ก็ตรงกับพระบาลีที่องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้ในเรื่อง พระจักขุบาล ว่า.." มโนปุพพังคมา ธัมมา มโนเสฏฐา มโนมยา "" ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจประเสริฐสุด สำเร็จด้วยใจ " 💎 นี่ความจริง เรื่องนี้ก็เรียนกันมาแล้วท่านบรรดาพุทธบริษัท แต่เวลาปฏิบัติจริง ๆ ทำไมมันถึงลืมก็ไม่ทราบ..💎 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย หวังว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน คงจะเข้าใจคำว่า บารมี แล้วอย่าลืม บารมี แปลว่าเต็ม แต่ส่วนที่เราจะทำให้เต็มนั้นก็คือ กำลังใจ ให้กำลังใจมันพร้อม พร้อมที่จะทรงความดีในด้านบารมีไว้..💎 ถ้ากำลังใจของเราพร้อมทรงบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ครบถ้วนเพียงใด บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ความเป็นพระอริยเจ้าเป็นของง่าย..* ที่นำบารมีทั้ง ๑๐ ประการ มากล่าวในตอนนี้ ก็เพราะว่า.. ในตอนต้น พูดเรื่องพระโสดาบันเข้าไว้ เห็นว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายอาจจะคิดว่า.. แหม.. มันยากเกินไป ถ้ากำลังใจในการสร้างตนเป็นพระโสดาบัน มันยังครบถ้วนไม่ได้ ก็หันมาจัดการกับบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ให้มันครบถ้วนบริบูรณ์..* ทาน การให้ เป็นการตัดความโลภ.* ศีล เราก็ตัดความโกรธ* เนกขัมมะ ตัดอารมณ์ของกามคุณ* ปัญญา ตัดความโง่* วิริยะ ตัดความขี้เกียจ* ขันติ ตัดความไม่รู้จักการอดทน* สัจจะ ตัดความไม่จริงใจ มีอารมณ์ใจกลับกลอก* อธิษฐาน ทรงกำลังไว้ให้สมบูรณ์บริบูรณ์* เมตตา สร้างความเยือกเย็นของจิตใจ* อุเบกขา วางเฉยเข้าไว้ในเรื่องของกาย เราไม่ปรารภ🌺 เท่านี้แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัทสมบูรณ์เพียงใด คำว่า.. พระโสดาบัน นั้น บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย จะรู้สึกว่าง่ายเกินไปสำหรับบรรดาท่านพุทธบริษัท..🌼 ทำไมจึงว่าอย่างนั้น.. ก็เพราะว่า คนที่มีบารมีเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ มีกำลังใจเต็มทุกอย่างใน ๑๐ ประการนี้ องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่เรียกว่า "พระโสดาบัน" แล้ว ท่านเรียกว่าอะไร.. ท่านเรียกว่า "พระขีณาสพ" แปลว่า ผู้มีอาสวะอันสิ้นไปแล้ว หรือเรียกว่า "พระอรหัตผล" เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาอันดับสูงสุด เข้าถึงซึ่งพระนิพพานได้..🌸 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย วันนี้ก็ขอยุติไว้แต่เพียงเท่านี้..🌷 ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคลสมบูรณ์พูนผล จงมีแด่บรรดาท่านพุทธศาสนิกชนทุกท่าน สวัสดี..."( จากหนังสือ *บารมี ๑๐* โดย พระราชพรหมยานฯ หน้าที่ ๘-๑๖ ของวัดท่าซุง จ.อุทัยธานี) #ที่มานิพพานังปรมังสุขัง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 481 มุมมอง 0 รีวิว
  • พิธีเจริญพระพุทธมนต์เฉลิมพระเกียรติถวายพระพรชัยมงคลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 ประจวบฯ

    https://www.facebook.com/share/q5iQSn91kM9PmWAX
    พิธีเจริญพระพุทธมนต์เฉลิมพระเกียรติถวายพระพรชัยมงคลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 ประจวบฯ https://www.facebook.com/share/q5iQSn91kM9PmWAX
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 82 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1]


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 521 มุมมอง 91 0 รีวิว
  • วันนี้ได้ พรแต่เช้าเลย
    ผมก็ขอบุญอันใดที่ข้าพเจ้าได้ทำ จะนำสู่คนผู้นี้ ให้มีปัญญา เจริญ แก่บุคคลนี้ เจริญพร
    วันนี้ได้ พรแต่เช้าเลย ผมก็ขอบุญอันใดที่ข้าพเจ้าได้ทำ จะนำสู่คนผู้นี้ ให้มีปัญญา เจริญ แก่บุคคลนี้ เจริญพร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 110 มุมมอง 97 0 รีวิว
  • จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประกอบพิธีเจริญพระพุทธมนต์เฉลิมพระเกียรติถวายพระพรชัยมงคลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ วัดบ่อนอก อำเภอเมืองประจวบฯ

    https://www.facebook.com/share/p/PQY3gMwe37HeMDtE/
    จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประกอบพิธีเจริญพระพุทธมนต์เฉลิมพระเกียรติถวายพระพรชัยมงคลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ วัดบ่อนอก อำเภอเมืองประจวบฯ https://www.facebook.com/share/p/PQY3gMwe37HeMDtE/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 46 มุมมอง 0 รีวิว

  • วัดไม่ใช่สตูดิโอพรีเวดดิ้ง !

    ประกาศวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
    เรื่อง การใช้สถานที่ในเขตพระอาราม

    สืบเนื่องจากมีการเผยแพร่ในสังคมออนไลน์อันก่อให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยพระอนุมัติของเจ้าพระคุณ เจ้าอาวาส จึงออกประกาศกำชับอีกคำรบ ดังนี้

    ๑. วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม อนุญาตเฉพาะการจัดพิธีบำเพ็ญกุศลหรือกิจกรรมตามหลักพระพุทธศาสนาเท่านั้น โดยให้ขออนุญาตตามระเบียบที่วัดกำหนด

    ๒. วัดไม่อนุญาตให้ประกอบพิธีมงคลสมรสในพระอาราม แต่อนุญาตเพียงบุญพิธี กล่าวคือ การทำบุญถวายสังฆทานหรือเจริญพระพุทธมนต์ ตามข้อ ๑. โดยต้องไม่มีการจดทะเบียนสมรส การสวมแหวน การรดน้ำสังข์ หรือพิธีส่วนผนวกใดที่ไม่เหมาะสมต่อความเป็นพุทธศาสนสถาน หากมีกรณีที่มีการเผยแพร่ข้อมูลที่คลาดเคลื่อนและไม่เป็นไปตามแนวทางนี้ ถือเป็นการกระทำโดยพลการ วัดมิได้เห็นชอบหรือมีส่วนรู้เห็นในเรื่องดังกล่าวโดยประการใด ทั้งนี้ ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่เรียกร้องทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใดสำหรับตนหรือผู้อื่น จากผู้มาบำเพ็ญกุศลโดยเด็ดขาด

    ๓. ไม่อนุญาตให้ใช้พระอารามเป็นสถานที่ถ่ายภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ทำกิจกรรมเชิงพาณิชย์ โฆษณาสินค้าหรือบริการ หรือทำการอื่นใด เพื่อแสวงหาประโยชน์เชิงธุรกิจ หากมีการกระทำในลักษณะที่ไม่เหมาะสมหรือไม่เอื้อเฟื้อต่อความสงบเรียบร้อย วัดจักขออารักขาจากเจ้าหน้าที่บ้านเมืองที่รับผิดชอบให้ช่วยเหลือในการจัดการ ทั้งนี้ การเข้าภายในเขตพระอารามสาธุชนพึงแต่งกายสุภาพเรียบร้อยเหมาะสมแก่สถานที่ตามวิถีประชาและธรรมเนียมประเพณีไทยในการเข้าวัด ตลอดจนพึงสำรวม สังวร และรักษากิริยาอาการให้เหมาะสมแก่การอยู่ในบริเวณศาสนสถาน งดแสดงกิริยาอาการไม่เหมาะสม เช่น การปีนป่าย หรือการใช้ปูชนียสถานเป็นฉากประกอบการนำเสนอกิริยาอาการของคู่สมรส หรือเพื่อความบันเทิงอื่น ๆ จนรบกวนการบำเพ็ญสมณธรรมของพระภิกษุสามเณรหรือการปฏิบัติธรรมของสาธุชน

    ๔. วัดไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัท ห้างร้าน หรือหน่วยงานใดในการรับจัดพิธีทางศาสนา พิธีมงคลสมรส หรือการอันเอื้อเฟื้อต่อความยินดีในเชิงที่ไม่เหมาะสมต่อความเป็นพุทธศาสนสถาน การแอบอ้างหรือบิดเบือนอันจะทำให้บุคคลทั่วไปเข้าใจว่าวัดมีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้เกิดความเสียหายซึ่งได้รับเรื่องไว้ตรวจสอบแล้ว และหากพบว่าเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย จะได้ดำเนินการตามกฎหมายต่อไป

    ๕. หากพบผู้ที่แอบอ้างหรือเรียกรับประโยชน์ หรืออาจทำให้เสื่อมเสียโดยประการใด หรือพบการกระทำที่ผิดไปจากประกาศนี้ สามารถรายงานเรื่องได้ที่ กลุ่มงานกิจการพิเศษ สำนักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ spsa@jinavara.or.th

    ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๗

    #Thaitimes
    วัดไม่ใช่สตูดิโอพรีเวดดิ้ง ! ประกาศวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เรื่อง การใช้สถานที่ในเขตพระอาราม สืบเนื่องจากมีการเผยแพร่ในสังคมออนไลน์อันก่อให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยพระอนุมัติของเจ้าพระคุณ เจ้าอาวาส จึงออกประกาศกำชับอีกคำรบ ดังนี้ ๑. วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม อนุญาตเฉพาะการจัดพิธีบำเพ็ญกุศลหรือกิจกรรมตามหลักพระพุทธศาสนาเท่านั้น โดยให้ขออนุญาตตามระเบียบที่วัดกำหนด ๒. วัดไม่อนุญาตให้ประกอบพิธีมงคลสมรสในพระอาราม แต่อนุญาตเพียงบุญพิธี กล่าวคือ การทำบุญถวายสังฆทานหรือเจริญพระพุทธมนต์ ตามข้อ ๑. โดยต้องไม่มีการจดทะเบียนสมรส การสวมแหวน การรดน้ำสังข์ หรือพิธีส่วนผนวกใดที่ไม่เหมาะสมต่อความเป็นพุทธศาสนสถาน หากมีกรณีที่มีการเผยแพร่ข้อมูลที่คลาดเคลื่อนและไม่เป็นไปตามแนวทางนี้ ถือเป็นการกระทำโดยพลการ วัดมิได้เห็นชอบหรือมีส่วนรู้เห็นในเรื่องดังกล่าวโดยประการใด ทั้งนี้ ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่เรียกร้องทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใดสำหรับตนหรือผู้อื่น จากผู้มาบำเพ็ญกุศลโดยเด็ดขาด ๓. ไม่อนุญาตให้ใช้พระอารามเป็นสถานที่ถ่ายภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ทำกิจกรรมเชิงพาณิชย์ โฆษณาสินค้าหรือบริการ หรือทำการอื่นใด เพื่อแสวงหาประโยชน์เชิงธุรกิจ หากมีการกระทำในลักษณะที่ไม่เหมาะสมหรือไม่เอื้อเฟื้อต่อความสงบเรียบร้อย วัดจักขออารักขาจากเจ้าหน้าที่บ้านเมืองที่รับผิดชอบให้ช่วยเหลือในการจัดการ ทั้งนี้ การเข้าภายในเขตพระอารามสาธุชนพึงแต่งกายสุภาพเรียบร้อยเหมาะสมแก่สถานที่ตามวิถีประชาและธรรมเนียมประเพณีไทยในการเข้าวัด ตลอดจนพึงสำรวม สังวร และรักษากิริยาอาการให้เหมาะสมแก่การอยู่ในบริเวณศาสนสถาน งดแสดงกิริยาอาการไม่เหมาะสม เช่น การปีนป่าย หรือการใช้ปูชนียสถานเป็นฉากประกอบการนำเสนอกิริยาอาการของคู่สมรส หรือเพื่อความบันเทิงอื่น ๆ จนรบกวนการบำเพ็ญสมณธรรมของพระภิกษุสามเณรหรือการปฏิบัติธรรมของสาธุชน ๔. วัดไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัท ห้างร้าน หรือหน่วยงานใดในการรับจัดพิธีทางศาสนา พิธีมงคลสมรส หรือการอันเอื้อเฟื้อต่อความยินดีในเชิงที่ไม่เหมาะสมต่อความเป็นพุทธศาสนสถาน การแอบอ้างหรือบิดเบือนอันจะทำให้บุคคลทั่วไปเข้าใจว่าวัดมีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้เกิดความเสียหายซึ่งได้รับเรื่องไว้ตรวจสอบแล้ว และหากพบว่าเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย จะได้ดำเนินการตามกฎหมายต่อไป ๕. หากพบผู้ที่แอบอ้างหรือเรียกรับประโยชน์ หรืออาจทำให้เสื่อมเสียโดยประการใด หรือพบการกระทำที่ผิดไปจากประกาศนี้ สามารถรายงานเรื่องได้ที่ กลุ่มงานกิจการพิเศษ สำนักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ spsa@jinavara.or.th ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๗ #Thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 736 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอเชิญชมนิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ นี้

    กรุงเทพฯ ๒๕๑๕
    นิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗

    ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ เจริญพระชนมายุครบ ๒๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เฉลิมพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ตามโบราณขัตติยราชประเพณี เป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่สาม ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ดำรงพระราชอิสริยยศจวบจนปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ จึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

    ในปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเจริญพระชนมายุครบ ๖ รอบ ๗๒ พรรษา อันเป็นมหามงคลสมัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงจัดนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติ เรื่อง กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ ขึ้น เพื่อฉายให้เห็นภูมิลักษณ์ สถาปัตยกรรมและผังเมืองกรุงเทพฯ เมื่อครึ่งศตวรรษที่ล่วงมา จัดแสดงแผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐๐ จำนวน ๗๒ ระวาง

    แผนที่ประวัติศาสตร์ ชุดนี้ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช และเงินทุนเฉลิมฉลองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สนับสนุนให้ หน่วยวิจัยแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ฯ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ดำเนินการคัดลอกจากแผนที่เก่า ของหน่วยแผนที่ กองตำรวจจราจร กรมตำรวจ ที่จัดทำขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อให้เป็นฐานข้อมูล สำหรับการเรียนการสอนและวิจัย ที่จะนำไปสู่ การสืบสาน รักษา และต่อยอด องค์ความรู้สถาปัตยกรรม และเมือง กรุงเทพฯ ตามแนวพระราชดำริสืบไป

    นิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/dcjWxZz8CoV3Y2qq/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    ขอเชิญชมนิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ นี้ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ นิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ เจริญพระชนมายุครบ ๒๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เฉลิมพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ตามโบราณขัตติยราชประเพณี เป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่สาม ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ดำรงพระราชอิสริยยศจวบจนปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ จึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเจริญพระชนมายุครบ ๖ รอบ ๗๒ พรรษา อันเป็นมหามงคลสมัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงจัดนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติ เรื่อง กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ ขึ้น เพื่อฉายให้เห็นภูมิลักษณ์ สถาปัตยกรรมและผังเมืองกรุงเทพฯ เมื่อครึ่งศตวรรษที่ล่วงมา จัดแสดงแผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐๐ จำนวน ๗๒ ระวาง แผนที่ประวัติศาสตร์ ชุดนี้ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช และเงินทุนเฉลิมฉลองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สนับสนุนให้ หน่วยวิจัยแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ฯ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ดำเนินการคัดลอกจากแผนที่เก่า ของหน่วยแผนที่ กองตำรวจจราจร กรมตำรวจ ที่จัดทำขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อให้เป็นฐานข้อมูล สำหรับการเรียนการสอนและวิจัย ที่จะนำไปสู่ การสืบสาน รักษา และต่อยอด องค์ความรู้สถาปัตยกรรม และเมือง กรุงเทพฯ ตามแนวพระราชดำริสืบไป นิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/dcjWxZz8CoV3Y2qq/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 492 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๗
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จออกพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ คณะทูตานุทูต และผู้แทนฝ่ายกงสุล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗

    ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยืนบนพระแท่นออกขุนนางหน้าพระที่นั่งพุดตานถม ภายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร พันโท สมชาย กาญจนมณี รองเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่สมุหพระราชมณเฑียร เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท กราบบังคมทูลเบิกดาตุกโจจี แซมูเอล เอกอัครราชทูตมาเลเซียประจำประเทศไทย คณบดีคณะทูต เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล

    ในโอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสตอบ และมีพระราชปฏิสันถารกับ
    คณะทูตานุทูต และผู้แทนฝ่ายกงสุล แล้วเสด็จลงมุขหน้าพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการเจริญพระราชไมตรีกับบรรดามิตรประเทศ อันเป็นรากฐานสำคัญที่ก่อให้เกิดความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความร่วมมือระดับนานาชาติ ทั้งด้านการค้า การลงทุน การศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เมื่อครั้งทรงดำรง
    พระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนนานาประเทศ ซึ่งเป็นการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศที่มีอยู่เดิมให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น รวมทั้งทอดพระเนตรกิจการด้านต่าง ๆ เพื่อนำวิทยาการมาปรับปรุงพัฒนาประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้า เมื่อเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติแล้ว ยังทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านการต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยเสด็จออกทรงรับพระประมุขและผู้นำจากต่างประเทศ
    ที่เสด็จพระราชดำเนินและเดินทางเยือนประเทศไทยในโอกาสต่าง ๆ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ส่งข้อความพระราชสาส์นอำนวยพร ข้อความพระราชสาส์นแสดงความยินดี และข้อความพระราชสาส์น
    แสดงความเสียพระราชหฤทัยในวาระต่าง ๆ ตลอดจนพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ เอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระราชสาส์นตราตั้ง และอักษรสาส์นตราตั้ง ในโอกาสเข้ารับตำแหน่งหน้าที่ในประเทศไทย

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : พระลาน
    ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จออกพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ คณะทูตานุทูต และผู้แทนฝ่ายกงสุล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยืนบนพระแท่นออกขุนนางหน้าพระที่นั่งพุดตานถม ภายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร พันโท สมชาย กาญจนมณี รองเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่สมุหพระราชมณเฑียร เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท กราบบังคมทูลเบิกดาตุกโจจี แซมูเอล เอกอัครราชทูตมาเลเซียประจำประเทศไทย คณบดีคณะทูต เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล ในโอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสตอบ และมีพระราชปฏิสันถารกับ คณะทูตานุทูต และผู้แทนฝ่ายกงสุล แล้วเสด็จลงมุขหน้าพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการเจริญพระราชไมตรีกับบรรดามิตรประเทศ อันเป็นรากฐานสำคัญที่ก่อให้เกิดความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความร่วมมือระดับนานาชาติ ทั้งด้านการค้า การลงทุน การศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เมื่อครั้งทรงดำรง พระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนนานาประเทศ ซึ่งเป็นการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศที่มีอยู่เดิมให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น รวมทั้งทอดพระเนตรกิจการด้านต่าง ๆ เพื่อนำวิทยาการมาปรับปรุงพัฒนาประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้า เมื่อเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติแล้ว ยังทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านการต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยเสด็จออกทรงรับพระประมุขและผู้นำจากต่างประเทศ ที่เสด็จพระราชดำเนินและเดินทางเยือนประเทศไทยในโอกาสต่าง ๆ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ส่งข้อความพระราชสาส์นอำนวยพร ข้อความพระราชสาส์นแสดงความยินดี และข้อความพระราชสาส์น แสดงความเสียพระราชหฤทัยในวาระต่าง ๆ ตลอดจนพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ เอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศไทย เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระราชสาส์นตราตั้ง และอักษรสาส์นตราตั้ง ในโอกาสเข้ารับตำแหน่งหน้าที่ในประเทศไทย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : พระลาน
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 740 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๒๘ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗
    เนื่องในโอกาสมหามงคลวันเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๖ รอบ
    "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว"
    เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ ๑๐
    แห่งราชวงศ์จักรี
    ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๒ พรรษา
    ปวงข้าพระพุทธเจ้าฯ ขอน้อมถวายพระพรชัยมงคล
    ขอพระองค์ทรงพระเกษมสำราญ มีพระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีพระชนมายุยิ่งยืนนาน อยู่เป็นพระมิ่งขวัญของเหล่าพสกนิกร
    ตลอดกาล ตลอดไป
    ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
    ๒๘ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗ เนื่องในโอกาสมหามงคลวันเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๖ รอบ "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว" เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ ๑๐ แห่งราชวงศ์จักรี ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๒ พรรษา ปวงข้าพระพุทธเจ้าฯ ขอน้อมถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์ทรงพระเกษมสำราญ มีพระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีพระชนมายุยิ่งยืนนาน อยู่เป็นพระมิ่งขวัญของเหล่าพสกนิกร ตลอดกาล ตลอดไป ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
    Like
    Love
    2
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 410 มุมมอง 0 รีวิว
  • เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก มีพระดำรัสถวายพระพร ความว่า

    “เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ของสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ อาตมภาพในนามคณะสงฆ์ ขอตั้งกัลยาณจิตร่วมกับปวงชนชาวไทย สำแดงน้ำจิตมุทิตาปราโมทย์ และถวายพระพรชัยมงคลให้ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

    สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ เสด็จสถิตในพระราชสถานะพระประมุข เป็นศรีสง่าแห่งอาณาประชาราษฎร ทรงรับพระราชภาระหน้าที่ บำเพ็ญพระราชกรณียกิจด้วย “ตบะ” อันหมายถึงกุศลสมาทาน ตามแบบบัญญัติแห่งราชธรรม สอดคล้องต้องด้วยหลักพระพุทธศาสนา อันการทำหน้าที่ของพระราชานั้น ย่อมได้แก่การครองแผ่นดิน สอดส่องดูแลอาณาราษฎร คอยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข ดุจมารดาบิดาถนอมเลี้ยงบุตร ไม่ย่อหย่อน ละทิ้ง หรือว่างเว้น ดั่งคาถาบทหนึ่งแสดงว่า พระอาทิตย์มีตบะส่องแสงในกลางวัน พระจันทร์มีตบะส่องแสงในกลางคืน เป็นต้น เพราะฉะนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมตามบทบาทหน้าที่ที่ดำรงอยู่ ย่อมได้ชื่อว่าเป็น “ผู้บำเพ็ญตบะ” เมื่อปฏิบัติหน้าที่สำเร็จด้วยดี ย่อมเป็น “ผู้มีตบะ” ปรากฏเกียรติยศลือชาสง่างาม เป็นที่ยำเกรง ผู้คนพากันสรรเสริญว่าถึงพร้อมด้วย “ตบะเดชะ” เป็นคุณาลังการอันวิจิตรยอดเยี่ยม

    สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงตั้งพระบรมราชปณิธาน สืบสาน รักษา และต่อยอดแนวพระราชดำริ พระราชจริยวัตร ตลอดจนพระราชกรณียกิจ ของสมเด็จพระบรมราชบุพการี เพื่อให้บ้านเมืองไทยประสบความเกษมสวัสดิ์ บังเกิดประโยชนสุข สำเร็จแก่มหาชนใต้ร่มพระบารมี ทรงแผ่พระมหากรุณาธิคุณไปโอบอุ้มคุ้มครองพสกนิกรทั่วหน้า นับว่าได้ทรงกระทำตามหน้าที่ สมพระขัตติยชาติ และสมความเป็นสัตบุรุษคนดี ผู้พากเพียรแผดเผากิเลส ทรงข่มพระราชหฤทัย ยืนหยัดดำรงพระองค์ รับพระราชภาระหน้าที่อย่างอดทน เข้มแข็ง และมั่นคง ตามพระราชอุดมการณ์ที่ทรงสมาทานไว้ โดยมิหวั่นไหวสะทกสะเทือนด้วยกระแสโลกธรรม ต้องตามนัยแห่งภาษิต ใน “มหาสุตโสมชาดก” ความว่า

    “พระราชาผู้เอาชนะคนไม่ควรชนะ ไม่ชื่อว่าพระราชา, เพื่อนผู้เอาชนะเพื่อน ไม่ชื่อว่าเพื่อน ฯลฯ บุตรผู้ไม่เลี้ยงดูมารดาบิดาผู้แก่เฒ่า ไม่ชื่อว่าบุตร, สภาที่ไม่มีสัตบุรุษ ไม่ชื่อว่าสภา, ผู้ไม่พูดเป็นธรรม ไม่ชื่อว่าสัตบุรุษ, ส่วนผู้สงบจากราคะ โทสะ โมหะ พูดเป็นธรรมะ ย่อมชื่อว่าสัตบุรุษคนดี” ด้วยประการฉะนี้

    ณ มหามงคลสมัยพิเศษแห่งพระชนมพรรษา ขอเดชานุภาพคุณพระศรีรัตนตรัย ตลอดจนพระราชกุศลธรรมจริยา ที่ทรงสั่งสมมาด้วยดี โปรดอภิบาลรักษา สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ให้ทรงเจริญพระชนมสุขสิริสวัสดิ์ สรรพพิบัติอุปัทวันตรายอย่าได้พ้องพานพระยุคลบาท จงทรงเรืองรองโอภาสด้วยพระราชธรรมบารมี ประดุจดวงวชิระอันผ่องใส แผ่พรรณรังสีแห่งทศมรัชสมัย ส่องใจมหาชนชาวไทย ให้เอิบอาบปลาบปลื้มอยู่เสมอไป ตลอดกาลเป็นนิตย์ เทอญ.”

    ที่มา: เพจสำนักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช

    #Thaitimes
    เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก มีพระดำรัสถวายพระพร ความว่า “เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ของสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ อาตมภาพในนามคณะสงฆ์ ขอตั้งกัลยาณจิตร่วมกับปวงชนชาวไทย สำแดงน้ำจิตมุทิตาปราโมทย์ และถวายพระพรชัยมงคลให้ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ เสด็จสถิตในพระราชสถานะพระประมุข เป็นศรีสง่าแห่งอาณาประชาราษฎร ทรงรับพระราชภาระหน้าที่ บำเพ็ญพระราชกรณียกิจด้วย “ตบะ” อันหมายถึงกุศลสมาทาน ตามแบบบัญญัติแห่งราชธรรม สอดคล้องต้องด้วยหลักพระพุทธศาสนา อันการทำหน้าที่ของพระราชานั้น ย่อมได้แก่การครองแผ่นดิน สอดส่องดูแลอาณาราษฎร คอยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข ดุจมารดาบิดาถนอมเลี้ยงบุตร ไม่ย่อหย่อน ละทิ้ง หรือว่างเว้น ดั่งคาถาบทหนึ่งแสดงว่า พระอาทิตย์มีตบะส่องแสงในกลางวัน พระจันทร์มีตบะส่องแสงในกลางคืน เป็นต้น เพราะฉะนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมตามบทบาทหน้าที่ที่ดำรงอยู่ ย่อมได้ชื่อว่าเป็น “ผู้บำเพ็ญตบะ” เมื่อปฏิบัติหน้าที่สำเร็จด้วยดี ย่อมเป็น “ผู้มีตบะ” ปรากฏเกียรติยศลือชาสง่างาม เป็นที่ยำเกรง ผู้คนพากันสรรเสริญว่าถึงพร้อมด้วย “ตบะเดชะ” เป็นคุณาลังการอันวิจิตรยอดเยี่ยม สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงตั้งพระบรมราชปณิธาน สืบสาน รักษา และต่อยอดแนวพระราชดำริ พระราชจริยวัตร ตลอดจนพระราชกรณียกิจ ของสมเด็จพระบรมราชบุพการี เพื่อให้บ้านเมืองไทยประสบความเกษมสวัสดิ์ บังเกิดประโยชนสุข สำเร็จแก่มหาชนใต้ร่มพระบารมี ทรงแผ่พระมหากรุณาธิคุณไปโอบอุ้มคุ้มครองพสกนิกรทั่วหน้า นับว่าได้ทรงกระทำตามหน้าที่ สมพระขัตติยชาติ และสมความเป็นสัตบุรุษคนดี ผู้พากเพียรแผดเผากิเลส ทรงข่มพระราชหฤทัย ยืนหยัดดำรงพระองค์ รับพระราชภาระหน้าที่อย่างอดทน เข้มแข็ง และมั่นคง ตามพระราชอุดมการณ์ที่ทรงสมาทานไว้ โดยมิหวั่นไหวสะทกสะเทือนด้วยกระแสโลกธรรม ต้องตามนัยแห่งภาษิต ใน “มหาสุตโสมชาดก” ความว่า “พระราชาผู้เอาชนะคนไม่ควรชนะ ไม่ชื่อว่าพระราชา, เพื่อนผู้เอาชนะเพื่อน ไม่ชื่อว่าเพื่อน ฯลฯ บุตรผู้ไม่เลี้ยงดูมารดาบิดาผู้แก่เฒ่า ไม่ชื่อว่าบุตร, สภาที่ไม่มีสัตบุรุษ ไม่ชื่อว่าสภา, ผู้ไม่พูดเป็นธรรม ไม่ชื่อว่าสัตบุรุษ, ส่วนผู้สงบจากราคะ โทสะ โมหะ พูดเป็นธรรมะ ย่อมชื่อว่าสัตบุรุษคนดี” ด้วยประการฉะนี้ ณ มหามงคลสมัยพิเศษแห่งพระชนมพรรษา ขอเดชานุภาพคุณพระศรีรัตนตรัย ตลอดจนพระราชกุศลธรรมจริยา ที่ทรงสั่งสมมาด้วยดี โปรดอภิบาลรักษา สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ให้ทรงเจริญพระชนมสุขสิริสวัสดิ์ สรรพพิบัติอุปัทวันตรายอย่าได้พ้องพานพระยุคลบาท จงทรงเรืองรองโอภาสด้วยพระราชธรรมบารมี ประดุจดวงวชิระอันผ่องใส แผ่พรรณรังสีแห่งทศมรัชสมัย ส่องใจมหาชนชาวไทย ให้เอิบอาบปลาบปลื้มอยู่เสมอไป ตลอดกาลเป็นนิตย์ เทอญ.” ที่มา: เพจสำนักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช #Thaitimes
    Love
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 659 มุมมอง 0 รีวิว