• ปูเล่ เฉิดฉาย
    กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
    ได้นำปูเล่ และสลัด ไปออกแบบและตกแต่งที่หน้าห้องสัมมนา ในงานประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดยพระองค์ท่านเสด็จ ฯ เป็นองค์ประธาน ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี
    ปูเล่ เฉิดฉาย กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ได้นำปูเล่ และสลัด ไปออกแบบและตกแต่งที่หน้าห้องสัมมนา ในงานประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดยพระองค์ท่านเสด็จ ฯ เป็นองค์ประธาน ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 49 มุมมอง 0 รีวิว
  • จับผักมาจัดเรียง
    เมื่อ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
    ได้มีโอกาสนำพืชผักไปตกแต่งและจัดสถานที่รับเสด็จ ฯ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ในงานประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ ฯ ที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม โดยใช้ปูเล่ กับผักสลัด
    จับผักมาจัดเรียง เมื่อ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ได้มีโอกาสนำพืชผักไปตกแต่งและจัดสถานที่รับเสด็จ ฯ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ในงานประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ ฯ ที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม โดยใช้ปูเล่ กับผักสลัด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 41 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨💜🎨🪱 ร้านภูฟ้าได้ขอพระราชทานพระราชานุญาต ให้นำภาพฝีพระหัตถ์ งูตัวเล็ก พร้อมพรพระราชทานของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยทุกคนนำมาพิมพ์ลงบนบัตร ส.ค.ส. เพื่อความเป็นสิริมงคลของชีวิตในปี “มะเส็ง งูเล็ก” ๒๕๖๘ นี้

    สำหรับภาพฝีพระหัตถ์เป็นภาพ “งูขึ้นกระได” ตัวเล็กๆ ยิ้มหวานหน้าตาน่ารัก ขณะที่พรพระราชทาน มีใจความว่า

    “ปีมะเส็ง ปีงูเล็ก ๒๕๖๘
    งูขึ้นกระได : ชีวิตก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ
    ปีมะเส็งคิดดูคืองูเล็ก
    ผู้ใหญ่เด็กยินดีกันทั่วหน้า
    เราเคยเล่นเกมส์กันแต่ก่อนมา
    เรียกกันว่าเล่นงูตกกระได
    แต่ปีนี้ชีวีจะมีสุข
    ยังมีทุกข์กันอยู่ก็สู้ไหว
    เรามีแต่ขึ้นบันไดสูงขึ้นไป
    งูช่วยเราให้กายใจสบายเอย”

    #ลมฝนบนฟ้ามาลิ่ว
    #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์
    ✨💜🎨🪱 ร้านภูฟ้าได้ขอพระราชทานพระราชานุญาต ให้นำภาพฝีพระหัตถ์ งูตัวเล็ก พร้อมพรพระราชทานของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยทุกคนนำมาพิมพ์ลงบนบัตร ส.ค.ส. เพื่อความเป็นสิริมงคลของชีวิตในปี “มะเส็ง งูเล็ก” ๒๕๖๘ นี้ สำหรับภาพฝีพระหัตถ์เป็นภาพ “งูขึ้นกระได” ตัวเล็กๆ ยิ้มหวานหน้าตาน่ารัก ขณะที่พรพระราชทาน มีใจความว่า “ปีมะเส็ง ปีงูเล็ก ๒๕๖๘ งูขึ้นกระได : ชีวิตก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ ปีมะเส็งคิดดูคืองูเล็ก ผู้ใหญ่เด็กยินดีกันทั่วหน้า เราเคยเล่นเกมส์กันแต่ก่อนมา เรียกกันว่าเล่นงูตกกระได แต่ปีนี้ชีวีจะมีสุข ยังมีทุกข์กันอยู่ก็สู้ไหว เรามีแต่ขึ้นบันไดสูงขึ้นไป งูช่วยเราให้กายใจสบายเอย” #ลมฝนบนฟ้ามาลิ่ว #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 65 มุมมอง 0 รีวิว
  • #หมายกำหนดการ
    วันอาทิตย์ที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี พร้อมด้วย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

    เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดอาคารจักรีทศมรามาธิบดินทร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย วันอาทิตย์ที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๐๐ น.

    ร่วมรับชมการถ่ายทอดสดผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Cr. FB : โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
    #หมายกำหนดการ วันอาทิตย์ที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี พร้อมด้วย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดอาคารจักรีทศมรามาธิบดินทร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย วันอาทิตย์ที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ เวลา ๑๗.๐๐ น. ร่วมรับชมการถ่ายทอดสดผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida Cr. FB : โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
    Love
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 110 มุมมอง 0 รีวิว
  • #หมายกำหนดการ
    วันเสาร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2567
    เปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้ว เป็นฤดูหนาว
    ณ วัดพระแก้ว

    วันอาทิตย์ที่ 17 พฤศจิกายน 2567
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี พร้อมด้วย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ไปทรงเปิดอาคารจักรีทศมรามาธิบดินทร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    #หมายกำหนดการ วันเสาร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2567 เปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้ว เป็นฤดูหนาว ณ วัดพระแก้ว วันอาทิตย์ที่ 17 พฤศจิกายน 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี พร้อมด้วย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ไปทรงเปิดอาคารจักรีทศมรามาธิบดินทร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 120 มุมมอง 1 รีวิว
  • พรุโต๊ะแดง” มหัศจรรย์ป่าพรุใต้ร่มพระบารมี/ปิ่น บุตรี ผู้เขียน

    “พรุเราต้องเก็บไว้ เพราะมีความสำคัญเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ต้องห้ามไม่ให้บุกรุกเข้าไป คราวนี้เราทำโครงการที่โคกใน เขาจะบุกรุกเข้าไปไม่ได้อีกแล้ว เพราะจำกัดบริเวณเขา ในพรุเราก็ส่งเสริมเอาไม้พรุเพิ่มประสิทธิภาพ อย่างตามข้างทางนี้สวยมากเห็นไม้ต่างๆ ไม้หลาวชะโอนก็มี”

    “การกำหนดขอบเขตป่าพรุ ควรกำหนดขอบเขตป่าพรุให้แน่นอน เพื่อป้องกันการบุกรุกพื้นที่ อันจะทำให้สภาพแวดล้อมเสียหมด”

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริไว้เมื่อ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2535

    “ป่าพรุ” เป็นป่าลักษณะพิเศษ เป็นป่าไม้ทึบไม่ผลัดใบประเภทหนึ่ง มีต้นไม้ใหญ่น้อยขึ้นปะปนกัน ส่วนใหญ่เป็นต้นไม้ที่ไม่ได้ขึ้นบน“ดินพรุ”ที่เกิดจากสะสมตัวของซากอินทรียวัตถุ

    ป่าพรุมีลักษณะเด่นที่สำคัญยิ่ง คือ เป็นป่าดงดิบที่มีน้ำท่วมขังอยู่ตลอด

    สำหรับหนึ่งในป่าพรุผืนสำคัญยิ่งของเมืองไทยก็คือ “ป่าพรุโต๊ะแดง” ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ปัจจุบันมีเนื้อที่กว่า 120,000 ไร่ (มีส่วนที่สมบูรณ์จริงๆประมาณ 50,000 ไร่) ครอบคลุมพื้นที่ 4 อำเภอในจังหวัดนราธิวาส ได้แก่ อำเภอสุไหงโก-ลก อำเภอตากใบ อำเภอสุไหงปาดี และอำเภอเมือง

    “มาเณศ บุณยานันต์” หัวหน้าศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร เล่าให้ผมฟังเมื่อครั้งไปเยือนศูนย์ฯแห่งนี้หนล่าสุดว่า ป่าพรุโต๊ะแดงเป็นป่าผืนสำคัญของชาวนราธิวาสมาช้านาน มีทั้งตำนานเรื่องเล่าความเชื่อ เกี่ยวกับที่มาของผืนป่าแห่งนี้ ปัจจุบันแม้ชื่อจริงๆของป่าพรุแห่งนี้จะเรียกขานกันว่า “ป่าพรุโต๊ะแดง” แต่เนื่องจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯมายังป่าพรุแห่งนี้หลายครั้ง หลายๆคนจึงยกให้เป็นดังป่าพรุของสมเด็จพระเทพฯ แล้วพากันนิยมเรียกขานป่าพรุแห่งนี้ว่า “ป่าพรุสิรินธร”

    ป่าพรุโต๊ะแดง หรือ ป่าพรุสิรินธร มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ปัจจุบันเป็นป่าพรุขนาดใหญ่ผืนสุดท้ายที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง และมีคุณประโยชน์อันหลากหลายทั้งทางตรงทางอ้อมต่อสภาพแวดล้อมและมนุษย์เรา
    อย่างไรก็ดีในอดีตป่าพรุโต๊ะแดงและบริเวณใกล้เคียงได้ถูกทำลายลงจากน้ำมือมนุษย์ ทั้งจากการบุกรุกแผ้วถางป่าพรุ การทำการเกษตรที่ผิดวิธี การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าพรุอย่างไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ รวมถึงการเกิดไฟป่า(ที่มีทั้งเกิดจากธรรมชาติและฝีมือมนุษย์) ส่งผลให้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุอื่นๆในจังหวัดนราธิวาสถูกทำลายกลายเป็นป่าเสื่อมโทรม ใช้ประโยชน์ได้เพียงส่วนน้อย
    กระทั่งในปี พ.ศ. 2517 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินแปพระราชฐานไปยัง พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ จ.นราธิวาส ความทราบสู่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทถึงความเดือดร้อนของราษฎรในพื้นที่บริเวณป่าพรุ พระองค์ท่านจึงมีพระราชดำริเป็นแนวทางในการฟื้นฟูป่าพรุ

    หลังจากนั้นป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุอื่นๆในจังหวัดนราธิวาสก็ได้รับการฟื้นฟูเรื่อยมา โดยในแนวทางการฟื้นฟูป่าพรุนั้น ได้มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ชาวบ้านในพื้นที่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของพื้นที่ป่าพรุและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พัฒนาพื้นที่ป่าพรุ เช่น การป้องกันไฟไหม้ป่าพรุ การบริหารจัดการน้ำในป่าพรุ การทำการเกษตรในพื้นที่ป่าพรุอย่างถูกวิธี ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
    อ่านต่อ >>> https://mgronline.com/travel/detail/9590000110516 <<<<<

    #ป่าพุโต๊ะแดง

    พรุโต๊ะแดง” มหัศจรรย์ป่าพรุใต้ร่มพระบารมี/ปิ่น บุตรี ผู้เขียน “พรุเราต้องเก็บไว้ เพราะมีความสำคัญเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ต้องห้ามไม่ให้บุกรุกเข้าไป คราวนี้เราทำโครงการที่โคกใน เขาจะบุกรุกเข้าไปไม่ได้อีกแล้ว เพราะจำกัดบริเวณเขา ในพรุเราก็ส่งเสริมเอาไม้พรุเพิ่มประสิทธิภาพ อย่างตามข้างทางนี้สวยมากเห็นไม้ต่างๆ ไม้หลาวชะโอนก็มี” “การกำหนดขอบเขตป่าพรุ ควรกำหนดขอบเขตป่าพรุให้แน่นอน เพื่อป้องกันการบุกรุกพื้นที่ อันจะทำให้สภาพแวดล้อมเสียหมด” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริไว้เมื่อ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2535 “ป่าพรุ” เป็นป่าลักษณะพิเศษ เป็นป่าไม้ทึบไม่ผลัดใบประเภทหนึ่ง มีต้นไม้ใหญ่น้อยขึ้นปะปนกัน ส่วนใหญ่เป็นต้นไม้ที่ไม่ได้ขึ้นบน“ดินพรุ”ที่เกิดจากสะสมตัวของซากอินทรียวัตถุ ป่าพรุมีลักษณะเด่นที่สำคัญยิ่ง คือ เป็นป่าดงดิบที่มีน้ำท่วมขังอยู่ตลอด สำหรับหนึ่งในป่าพรุผืนสำคัญยิ่งของเมืองไทยก็คือ “ป่าพรุโต๊ะแดง” ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ปัจจุบันมีเนื้อที่กว่า 120,000 ไร่ (มีส่วนที่สมบูรณ์จริงๆประมาณ 50,000 ไร่) ครอบคลุมพื้นที่ 4 อำเภอในจังหวัดนราธิวาส ได้แก่ อำเภอสุไหงโก-ลก อำเภอตากใบ อำเภอสุไหงปาดี และอำเภอเมือง “มาเณศ บุณยานันต์” หัวหน้าศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร เล่าให้ผมฟังเมื่อครั้งไปเยือนศูนย์ฯแห่งนี้หนล่าสุดว่า ป่าพรุโต๊ะแดงเป็นป่าผืนสำคัญของชาวนราธิวาสมาช้านาน มีทั้งตำนานเรื่องเล่าความเชื่อ เกี่ยวกับที่มาของผืนป่าแห่งนี้ ปัจจุบันแม้ชื่อจริงๆของป่าพรุแห่งนี้จะเรียกขานกันว่า “ป่าพรุโต๊ะแดง” แต่เนื่องจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯมายังป่าพรุแห่งนี้หลายครั้ง หลายๆคนจึงยกให้เป็นดังป่าพรุของสมเด็จพระเทพฯ แล้วพากันนิยมเรียกขานป่าพรุแห่งนี้ว่า “ป่าพรุสิรินธร” ป่าพรุโต๊ะแดง หรือ ป่าพรุสิรินธร มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ปัจจุบันเป็นป่าพรุขนาดใหญ่ผืนสุดท้ายที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง และมีคุณประโยชน์อันหลากหลายทั้งทางตรงทางอ้อมต่อสภาพแวดล้อมและมนุษย์เรา อย่างไรก็ดีในอดีตป่าพรุโต๊ะแดงและบริเวณใกล้เคียงได้ถูกทำลายลงจากน้ำมือมนุษย์ ทั้งจากการบุกรุกแผ้วถางป่าพรุ การทำการเกษตรที่ผิดวิธี การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าพรุอย่างไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ รวมถึงการเกิดไฟป่า(ที่มีทั้งเกิดจากธรรมชาติและฝีมือมนุษย์) ส่งผลให้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุอื่นๆในจังหวัดนราธิวาสถูกทำลายกลายเป็นป่าเสื่อมโทรม ใช้ประโยชน์ได้เพียงส่วนน้อย กระทั่งในปี พ.ศ. 2517 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินแปพระราชฐานไปยัง พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ จ.นราธิวาส ความทราบสู่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทถึงความเดือดร้อนของราษฎรในพื้นที่บริเวณป่าพรุ พระองค์ท่านจึงมีพระราชดำริเป็นแนวทางในการฟื้นฟูป่าพรุ หลังจากนั้นป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุอื่นๆในจังหวัดนราธิวาสก็ได้รับการฟื้นฟูเรื่อยมา โดยในแนวทางการฟื้นฟูป่าพรุนั้น ได้มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ชาวบ้านในพื้นที่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของพื้นที่ป่าพรุและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พัฒนาพื้นที่ป่าพรุ เช่น การป้องกันไฟไหม้ป่าพรุ การบริหารจัดการน้ำในป่าพรุ การทำการเกษตรในพื้นที่ป่าพรุอย่างถูกวิธี ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เป็นต้น อ่านต่อ >>> https://mgronline.com/travel/detail/9590000110516 <<<<< #ป่าพุโต๊ะแดง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 82 มุมมอง 0 รีวิว
  • อุทยานอ่าวมะนาว -เขาตันหยง จ.นราธิวาส

    ตั้งอยู่หมู่ ๑ ตำบลกะลุวอเหนือ เป็นชายหาดที่ยาวต่อเนื่องจากชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจังหวัดปัตตานี เป็นโค้งอ่าวเชื่อมต่อกันยาว ๔ กิโลเมตร มีโขดหินคั่นสลับโค้งหาดเป็นระยะ ๆ ด้านหนึ่งติดพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์
    หนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติน่าเที่ยวแห่งจังหวัดนราธิวาส เพลิดเพลินกับการเที่ยวชมระบบนิเวศที่หลากหลาย ทั้งชายทะเล เนินเขาสูง พื้นที่ป่าสงวน ป่าพรุ และมีอาณาเขตพื้นที่ติดต่อกับพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ ทำให้สภาพธรรมชาติมีความสมบูรณ์หลากหลาย มีการพบต้นมะนาวผี ที่มีขนาดใหญ่และสวยงามมาก รวมถึงสัตว์ป่าหายากหลากชนิด เหมาะอย่างยิ่งสำหรับนักท่องเที่ยวสายธรรมชาติ และรักธรรมชาติโดยแท้จริง

    อุทยานแห่งชาติแห่งนี้มาจากการที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาเจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จมาทรงเยี่ยมราษฎรในบริเวณพื้นที่บ้านบางมะนาว หมู่ที่ 1 ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เมื่อหลายปีก่อน ทรงมีพระราชดำริให้มีการปรับปรุงด้านต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรมและการส่งเสริมการท่องเที่ยว ซึ่งในด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวนั้น สำนักงานป่าไม้ปัตตานีจึงได้สนองพระราชดำริดังกล่าว โดยทำการสำรวจพื้นที่บริเวณป่าสงวนแห่งชาติพิเศษ ป่าเขาตันหยง ในพื้นที่บริเวณนอกเขตพระราชฐานพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ เพื่อจัดตั้งเป็นวนอุทยานก่อนในเริ่มแรก มีเนื้อที่ประมาณ 23,278.25 ไร่ แล้วตั้งชื่อว่า วนอุทยานอ่าวมะนาว โดยกรมป่าไม้ได้ขึ้นทะเบียนเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2536

    การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๐๘๔ นราธิวาส-ตากใบ ๓ กิโลเมตร และมีทางแยกไปสู่หาดอีก ๓ กิโลเมตร
    พอข้ามสะพานข้ามแม่น้ำบางนราจะมีทางเลี้ยวซ้าย เข้าไปเพียง 2.5 ม. ก็จะไปถึงแนวป่าสนร่มรื่นและชายทะเลยาวเหยียด พร้อมทั้งป้ายใหญ่โตชื่อ อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง
    ท่านจะพบบริเวณริมหาดที่มีสวนรุกขชาติ และทิวสนร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายหาด (beach forest) ระยะทาง ๑ กิโลเมตร พันธุ์ไม้ที่พบจะเป็นไม้ที่ชอบความแห้งแล้ง เช่น จักทะเล มะนาวผี เตยทะเล (คล้ายสับปะรด) เป็นต้น และในบริเวณใกล้เคียงยังมีบ้านพักของเอกชนให้บริการ

    เขาตันหยงนั้นเป็นภูเขาเตี้ยๆ มียอดหลายยอดมีพื้นที่พอประมาณไม่สูงนัก ด้านตะวันออกของภูเขาติดชายทะเลอ่าวไทยติดชายหาด ส่วนด้านตะวันตกติดแนวถนนหมายเลข 4064 ด้านทิศใต้เป็นพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์และด้านทิศเหนือจึงเป็นที่ทำการของอุทยานแห่งชาติ อ่าวมะนาว-เขาตันหยงนี่เอง
    ช่วงหน้าน้ำช่วงที่ฝนตกมาหลายวันต่อเนื่องกัน จะมีลำธารน้ำเล็กๆ ตกลงมาจากเขาตันหยงลงสู่ทะเลสองสาย กลายเป็นน้ำตกชั้นเล็กๆ คือน้ำตกธาราสวรรค์ที่ไหลลงชายหาดอ่าวมะนาวแล้วลงสูทะเล กัยน้ำตกริมผา ที่ไหลตกลงจากหน้าผาเล็กๆ ก่อนไหลเข้าหมู่บ้านแล้วออกสู่ชายทะเลด้านทศเหนือ ห่างที่ทำการอุทยานฯไปไม่ไกล

    อุทยานแหงชาติอ่าวมะนาว-ขาตันหยง ยังคงสถานภาพเป็นอุทยานเตรียมการประกาศ แต่ก็ได้รักษาดูแลสถานที่ไว้จนสวยงาม สมกับเป็นอุทยานแห่งชาติที่ใกล้กับตัวเมืองนราธิวาสที่สุด

    มานราคราววหน้า ลองมาเที่ยวเขาตันหยง-อ่าวมะนาว แล้วจะประทับใจเมืองนี้ไปอีกนาน....







    อุทยานอ่าวมะนาว -เขาตันหยง จ.นราธิวาส ตั้งอยู่หมู่ ๑ ตำบลกะลุวอเหนือ เป็นชายหาดที่ยาวต่อเนื่องจากชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจังหวัดปัตตานี เป็นโค้งอ่าวเชื่อมต่อกันยาว ๔ กิโลเมตร มีโขดหินคั่นสลับโค้งหาดเป็นระยะ ๆ ด้านหนึ่งติดพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ หนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติน่าเที่ยวแห่งจังหวัดนราธิวาส เพลิดเพลินกับการเที่ยวชมระบบนิเวศที่หลากหลาย ทั้งชายทะเล เนินเขาสูง พื้นที่ป่าสงวน ป่าพรุ และมีอาณาเขตพื้นที่ติดต่อกับพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ ทำให้สภาพธรรมชาติมีความสมบูรณ์หลากหลาย มีการพบต้นมะนาวผี ที่มีขนาดใหญ่และสวยงามมาก รวมถึงสัตว์ป่าหายากหลากชนิด เหมาะอย่างยิ่งสำหรับนักท่องเที่ยวสายธรรมชาติ และรักธรรมชาติโดยแท้จริง อุทยานแห่งชาติแห่งนี้มาจากการที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาเจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จมาทรงเยี่ยมราษฎรในบริเวณพื้นที่บ้านบางมะนาว หมู่ที่ 1 ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เมื่อหลายปีก่อน ทรงมีพระราชดำริให้มีการปรับปรุงด้านต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรมและการส่งเสริมการท่องเที่ยว ซึ่งในด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวนั้น สำนักงานป่าไม้ปัตตานีจึงได้สนองพระราชดำริดังกล่าว โดยทำการสำรวจพื้นที่บริเวณป่าสงวนแห่งชาติพิเศษ ป่าเขาตันหยง ในพื้นที่บริเวณนอกเขตพระราชฐานพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ เพื่อจัดตั้งเป็นวนอุทยานก่อนในเริ่มแรก มีเนื้อที่ประมาณ 23,278.25 ไร่ แล้วตั้งชื่อว่า วนอุทยานอ่าวมะนาว โดยกรมป่าไม้ได้ขึ้นทะเบียนเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2536 การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๐๘๔ นราธิวาส-ตากใบ ๓ กิโลเมตร และมีทางแยกไปสู่หาดอีก ๓ กิโลเมตร พอข้ามสะพานข้ามแม่น้ำบางนราจะมีทางเลี้ยวซ้าย เข้าไปเพียง 2.5 ม. ก็จะไปถึงแนวป่าสนร่มรื่นและชายทะเลยาวเหยียด พร้อมทั้งป้ายใหญ่โตชื่อ อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง ท่านจะพบบริเวณริมหาดที่มีสวนรุกขชาติ และทิวสนร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายหาด (beach forest) ระยะทาง ๑ กิโลเมตร พันธุ์ไม้ที่พบจะเป็นไม้ที่ชอบความแห้งแล้ง เช่น จักทะเล มะนาวผี เตยทะเล (คล้ายสับปะรด) เป็นต้น และในบริเวณใกล้เคียงยังมีบ้านพักของเอกชนให้บริการ เขาตันหยงนั้นเป็นภูเขาเตี้ยๆ มียอดหลายยอดมีพื้นที่พอประมาณไม่สูงนัก ด้านตะวันออกของภูเขาติดชายทะเลอ่าวไทยติดชายหาด ส่วนด้านตะวันตกติดแนวถนนหมายเลข 4064 ด้านทิศใต้เป็นพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์และด้านทิศเหนือจึงเป็นที่ทำการของอุทยานแห่งชาติ อ่าวมะนาว-เขาตันหยงนี่เอง ช่วงหน้าน้ำช่วงที่ฝนตกมาหลายวันต่อเนื่องกัน จะมีลำธารน้ำเล็กๆ ตกลงมาจากเขาตันหยงลงสู่ทะเลสองสาย กลายเป็นน้ำตกชั้นเล็กๆ คือน้ำตกธาราสวรรค์ที่ไหลลงชายหาดอ่าวมะนาวแล้วลงสูทะเล กัยน้ำตกริมผา ที่ไหลตกลงจากหน้าผาเล็กๆ ก่อนไหลเข้าหมู่บ้านแล้วออกสู่ชายทะเลด้านทศเหนือ ห่างที่ทำการอุทยานฯไปไม่ไกล อุทยานแหงชาติอ่าวมะนาว-ขาตันหยง ยังคงสถานภาพเป็นอุทยานเตรียมการประกาศ แต่ก็ได้รักษาดูแลสถานที่ไว้จนสวยงาม สมกับเป็นอุทยานแห่งชาติที่ใกล้กับตัวเมืองนราธิวาสที่สุด มานราคราววหน้า ลองมาเที่ยวเขาตันหยง-อ่าวมะนาว แล้วจะประทับใจเมืองนี้ไปอีกนาน....
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 71 มุมมอง 0 รีวิว
  • "มีเรื่องหนึ่งที่สะดุดใจผม .... นานแล้ว ที่อยุธยา วันนั้นมีพวกวุฒิสมาชิกอเมริกันไปหลายคน พวกวุฒิสมาชิกอเมริกันก็ถามพระเจ้าอยู่หัวว่า เห็นจีนเป็นยังไง สำคัญแค่ไหน ผมก็ถือว่าเป็นคำถามที่ตรงไปตรงมา แต่คำตอบของท่านนั้นถึงแม้ดูจะเหมือนไม่ตรง แต่มีน้ำหนักที่สุด
    "ท่านรับสั่งขึ้นมาว่า

    " วันนี้สิรินธร ลูกข้าพเจ้า ไปเยือนประเทศจีนเป็นครั้งที่ 7 (ในเวลานั้น) .... "
    - ม.ร.ว.เกษมสโมสร เกษมศรี 
    เอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง (พ.ศ.2518-2522) เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศจีน หลังสถาปนาความสัมพันธ์การทูตในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช.

    #พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช#สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา#ไทยจีน
    "มีเรื่องหนึ่งที่สะดุดใจผม .... นานแล้ว ที่อยุธยา วันนั้นมีพวกวุฒิสมาชิกอเมริกันไปหลายคน พวกวุฒิสมาชิกอเมริกันก็ถามพระเจ้าอยู่หัวว่า เห็นจีนเป็นยังไง สำคัญแค่ไหน ผมก็ถือว่าเป็นคำถามที่ตรงไปตรงมา แต่คำตอบของท่านนั้นถึงแม้ดูจะเหมือนไม่ตรง แต่มีน้ำหนักที่สุด "ท่านรับสั่งขึ้นมาว่า " วันนี้สิรินธร ลูกข้าพเจ้า ไปเยือนประเทศจีนเป็นครั้งที่ 7 (ในเวลานั้น) .... " - ม.ร.ว.เกษมสโมสร เกษมศรี  เอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง (พ.ศ.2518-2522) เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศจีน หลังสถาปนาความสัมพันธ์การทูตในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช. #พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช​ #สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา​ #ไทยจีน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงอุ้มโมเดลน้องหมูเด้ง ฉายพระฉายาลักษณ์ ณ งาน Sustainability Expo 2024 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

    😊😊😊😊
    กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงอุ้มโมเดลน้องหมูเด้ง ฉายพระฉายาลักษณ์ ณ งาน Sustainability Expo 2024 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ 😊😊😊😊
    Like
    Love
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระเทพฯ ทรงอุ้มตุ๊กตา “หมูเด้ง” 😄
    .
    วันนี้ (1 ต.ค.) สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ ฯ ไปทรงเปิดงานเทศกาลศิลปะ บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ ครั้งที่ 4 (BAB 2024) ทรงทอดพระเนตรงาน Sustainability Expo 2024 ณ ชั้น G ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
    .
    Sustainability Expo 2024 เป็นงานนิทรรศการด้านความยั่งยืนที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน โดยน้อมนำพระปฐมบรมราชโองการตามพระราชปณิธานในการสืบสาน รักษา ต่อยอด ของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นแนวทางการจัดงานสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เขตคลองเตย
    พระเทพฯ ทรงอุ้มตุ๊กตา “หมูเด้ง” 😄 . วันนี้ (1 ต.ค.) สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ ฯ ไปทรงเปิดงานเทศกาลศิลปะ บางกอก อาร์ต เบียนนาเล่ ครั้งที่ 4 (BAB 2024) ทรงทอดพระเนตรงาน Sustainability Expo 2024 ณ ชั้น G ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ . Sustainability Expo 2024 เป็นงานนิทรรศการด้านความยั่งยืนที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน โดยน้อมนำพระปฐมบรมราชโองการตามพระราชปณิธานในการสืบสาน รักษา ต่อยอด ของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นแนวทางการจัดงานสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เขตคลองเตย
    Love
    Like
    Haha
    Wow
    30
    2 ความคิดเห็น 3 การแบ่งปัน 496 มุมมอง 0 รีวิว
  • กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ทรงอุ้มโมเดลหมูเด้ง ฉายพระฉายาลักษณ์
    .
    วันนี้ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๗) สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรงาน Sustainability Expo 2024 ณ ชั้น G ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ซึ่งเป็นมหกรรมด้านความยั่งยืนที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน โดยน้อมนำพระปฐมบรมราชโองการตามพระราชปณิธานในการสืบสาน รักษา ต่อยอด ของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นแนวทางการจัดงานสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
    .
    ต่อมา ทรงอุ้มโมเดลหมูเด้ง ฮิปโปแคระ ในสวนสัตว์เปิดเขาเขียว ซึ่งกำลังได้รับความสนใจจากประชาชนคนไทยและชาวต่างประเทศทั่วโลก และทรงฉายพระฉายาลักษณ์ที่บูทฉายานิติกร ๒๕๖๑ ซึ่งเป็นหนึ่งกิจกรรมไฮไลต์ของงาน
    .
    #ทรงพระเจริญ #กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา #หมูเด้ง

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/zazWsstutwVN6UUw/?mibextid=oFDknk
    กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ทรงอุ้มโมเดลหมูเด้ง ฉายพระฉายาลักษณ์ . วันนี้ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๗) สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรงาน Sustainability Expo 2024 ณ ชั้น G ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ซึ่งเป็นมหกรรมด้านความยั่งยืนที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน โดยน้อมนำพระปฐมบรมราชโองการตามพระราชปณิธานในการสืบสาน รักษา ต่อยอด ของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นแนวทางการจัดงานสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก . ต่อมา ทรงอุ้มโมเดลหมูเด้ง ฮิปโปแคระ ในสวนสัตว์เปิดเขาเขียว ซึ่งกำลังได้รับความสนใจจากประชาชนคนไทยและชาวต่างประเทศทั่วโลก และทรงฉายพระฉายาลักษณ์ที่บูทฉายานิติกร ๒๕๖๑ ซึ่งเป็นหนึ่งกิจกรรมไฮไลต์ของงาน . #ทรงพระเจริญ #กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา #หมูเด้ง ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/zazWsstutwVN6UUw/?mibextid=oFDknk
    Love
    Like
    4
    1 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 169 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ ตั้งอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี ก่อตั้งขึ้นตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นศูนย์กลางในการฝึกอบรมอาชีพแก่ราษฎรในพื้นที่ ส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะอาชีพที่หลากหลาย สร้างรายได้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต

    หลักสูตรที่หลากหลาย ตอบโจทย์ทุกความต้องการ

    ศูนย์วงเดือนฯ เปิดสอนหลักสูตรฝึกอบรมอาชีพที่หลากหลาย ครอบคลุมทั้งด้านเกษตรกรรม การประมง อุตสาหกรรม การบริการ และอื่นๆ เหมาะสำหรับผู้สนใจทุกเพศทุกวัย หลักสูตรได้รับการออกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ เน้นการฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะที่พร้อมนำไปประกอบอาชีพ

    การสนับสนุนที่ครบวงจร

    นอกเหนือจากการฝึกอบรมแล้ว ศูนย์วงเดือนฯ ยังมีบริการสนับสนุนอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การให้คำปรึกษาแนะนำ การจัดหางาน การสนับสนุนเงินทุน และอื่นๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง

    ความสำเร็จที่ภาคภูมิใจ

    ศูนย์วงเดือนฯ ได้สร้างผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมแก่ราษฎรในพื้นที่ ผู้เรียนจำนวนมากสามารถประกอบอาชีพได้ มีรายได้เพิ่มขึ้น พัฒนาคุณภาพชีวิต และสร้างความมั่นคงให้กับครอบครัว

    #สยามโสภา#โครงการสร้างชีวิต#ศูนย์วงเดือน#อาคมสุรทัณฑ์#ฝึกอบรมอาชีพ#อุทัยธานี#พัฒนาคุณภาพชีวิต#thaitimes

    https://youtu.be/rybYqYkuerE?si=f81A3i1pVlxpNDal
    ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ ตั้งอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี ก่อตั้งขึ้นตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นศูนย์กลางในการฝึกอบรมอาชีพแก่ราษฎรในพื้นที่ ส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะอาชีพที่หลากหลาย สร้างรายได้ และพัฒนาคุณภาพชีวิต หลักสูตรที่หลากหลาย ตอบโจทย์ทุกความต้องการ ศูนย์วงเดือนฯ เปิดสอนหลักสูตรฝึกอบรมอาชีพที่หลากหลาย ครอบคลุมทั้งด้านเกษตรกรรม การประมง อุตสาหกรรม การบริการ และอื่นๆ เหมาะสำหรับผู้สนใจทุกเพศทุกวัย หลักสูตรได้รับการออกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ เน้นการฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะที่พร้อมนำไปประกอบอาชีพ การสนับสนุนที่ครบวงจร นอกเหนือจากการฝึกอบรมแล้ว ศูนย์วงเดือนฯ ยังมีบริการสนับสนุนอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การให้คำปรึกษาแนะนำ การจัดหางาน การสนับสนุนเงินทุน และอื่นๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง ความสำเร็จที่ภาคภูมิใจ ศูนย์วงเดือนฯ ได้สร้างผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมแก่ราษฎรในพื้นที่ ผู้เรียนจำนวนมากสามารถประกอบอาชีพได้ มีรายได้เพิ่มขึ้น พัฒนาคุณภาพชีวิต และสร้างความมั่นคงให้กับครอบครัว #สยามโสภา​ #โครงการสร้างชีวิต​ #ศูนย์วงเดือน​ #อาคมสุรทัณฑ์​ #ฝึกอบรมอาชีพ​ #อุทัยธานี​ #พัฒนาคุณภาพชีวิต​ #thaitimes https://youtu.be/rybYqYkuerE?si=f81A3i1pVlxpNDal
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 607 มุมมอง 1 รีวิว
  • ☆ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามพระราชดำริ จังหวัดอุทัยธานี
    ☆เพจ
    》》
    https://www.facebook.com/WongdueanOnline?mibextid=ZbWKwL
    《《
    ☆ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ จัดสร้างขึ้นตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรในจังหวัดอุทัยธานีและพื้นที่ใกล้เคียง ทรงพระราชทานชื่อว่า “ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์” เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่ผู้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินแปลงดังกล่าว

    ☆ขนมวงเดือนดารา
    เป็นขนมเอกลักษณ์ประจำศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    ■■■■■■■■■■■■
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    #ศูนย์วงเดือนอาคมสุรทัณฑ์ #ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามพระราชดำริ #จังหวัดอุทัยธานี
    ☆ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามพระราชดำริ จังหวัดอุทัยธานี ☆เพจ 》》 https://www.facebook.com/WongdueanOnline?mibextid=ZbWKwL 《《 ☆ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ จัดสร้างขึ้นตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรในจังหวัดอุทัยธานีและพื้นที่ใกล้เคียง ทรงพระราชทานชื่อว่า “ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์” เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่ผู้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินแปลงดังกล่าว ☆ขนมวงเดือนดารา เป็นขนมเอกลักษณ์ประจำศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ■■■■■■■■■■■■ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #ศูนย์วงเดือนอาคมสุรทัณฑ์ #ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามพระราชดำริ #จังหวัดอุทัยธานี
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1252 มุมมอง 0 รีวิว
  • ย้อนอดีตเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2554 กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ พระราชทาน “กระต่ายเป่าทรัมโบน” เป็นตราสัญลักษณ์ ของ สำนักงานมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์

    สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานภาพฝีพระหัตถ์ "กระต่ายเป่าทรัมโบน" เป็นสัญลักษณ์ ของ สำนักงานมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ (สลช.) เพื่อเป็นสิริมงคลในการดำเนินงานด้านการส่งเสริมและกำกับการพัฒนางานเลี้ยงและใช้สัตว์ เพื่องานทางวิทยาศาสตร์

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/knzSSmrvY6vy62Bp/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    ย้อนอดีตเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2554 กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ พระราชทาน “กระต่ายเป่าทรัมโบน” เป็นตราสัญลักษณ์ ของ สำนักงานมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานภาพฝีพระหัตถ์ "กระต่ายเป่าทรัมโบน" เป็นสัญลักษณ์ ของ สำนักงานมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ (สลช.) เพื่อเป็นสิริมงคลในการดำเนินงานด้านการส่งเสริมและกำกับการพัฒนางานเลี้ยงและใช้สัตว์ เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/knzSSmrvY6vy62Bp/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Love
    14
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1311 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์
    ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

    โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์
    และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส

    #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #วัดราชบพิธ #ศรีวัฒนธรรม #Thaitimesวัฒนธรรม #วัฒนธรรมไทย
    สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์ และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #วัดราชบพิธ #ศรีวัฒนธรรม #Thaitimesวัฒนธรรม #วัฒนธรรมไทย
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1561 มุมมอง 633 0 รีวิว
  • สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์
    ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

    โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์
    และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส

    #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #งานบำเพ็ญกุศล
    สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์ และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #งานบำเพ็ญกุศล
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1327 มุมมอง 477 0 รีวิว
  • สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์
    ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

    โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์
    และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส

    #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #วัดราชบพิธ
    สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์ และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #วัดราชบพิธ
    Like
    Love
    11
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1387 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอเชิญชวนประชาชน เฝ้าฯ รับเสด็จ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินเป็นการส่วนพระองค์ ทอดพระเนตรโครงการทหารพันธุ์ดี ในพื้นที่กองทัพภาคที่ ๒
    (ในวันพุธที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา ณ บริเวณลานนวมินทร สวนน้ำบุ่งตาหลั่วเฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๙)
    ขอเชิญชวนประชาชน เฝ้าฯ รับเสด็จ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินเป็นการส่วนพระองค์ ทอดพระเนตรโครงการทหารพันธุ์ดี ในพื้นที่กองทัพภาคที่ ๒ (ในวันพุธที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา ณ บริเวณลานนวมินทร สวนน้ำบุ่งตาหลั่วเฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๙)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 156 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอเชิญชมนิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ นี้

    กรุงเทพฯ ๒๕๑๕
    นิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗

    ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ เจริญพระชนมายุครบ ๒๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เฉลิมพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ตามโบราณขัตติยราชประเพณี เป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่สาม ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ดำรงพระราชอิสริยยศจวบจนปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ จึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

    ในปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเจริญพระชนมายุครบ ๖ รอบ ๗๒ พรรษา อันเป็นมหามงคลสมัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงจัดนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติ เรื่อง กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ ขึ้น เพื่อฉายให้เห็นภูมิลักษณ์ สถาปัตยกรรมและผังเมืองกรุงเทพฯ เมื่อครึ่งศตวรรษที่ล่วงมา จัดแสดงแผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐๐ จำนวน ๗๒ ระวาง

    แผนที่ประวัติศาสตร์ ชุดนี้ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช และเงินทุนเฉลิมฉลองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สนับสนุนให้ หน่วยวิจัยแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ฯ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ดำเนินการคัดลอกจากแผนที่เก่า ของหน่วยแผนที่ กองตำรวจจราจร กรมตำรวจ ที่จัดทำขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อให้เป็นฐานข้อมูล สำหรับการเรียนการสอนและวิจัย ที่จะนำไปสู่ การสืบสาน รักษา และต่อยอด องค์ความรู้สถาปัตยกรรม และเมือง กรุงเทพฯ ตามแนวพระราชดำริสืบไป

    นิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/dcjWxZz8CoV3Y2qq/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    ขอเชิญชมนิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ นี้ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ นิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ เจริญพระชนมายุครบ ๒๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เฉลิมพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ตามโบราณขัตติยราชประเพณี เป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่สาม ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ดำรงพระราชอิสริยยศจวบจนปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ จึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเจริญพระชนมายุครบ ๖ รอบ ๗๒ พรรษา อันเป็นมหามงคลสมัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงจัดนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติ เรื่อง กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ ขึ้น เพื่อฉายให้เห็นภูมิลักษณ์ สถาปัตยกรรมและผังเมืองกรุงเทพฯ เมื่อครึ่งศตวรรษที่ล่วงมา จัดแสดงแผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ มาตราส่วน ๑ : ๑๐๐๐ จำนวน ๗๒ ระวาง แผนที่ประวัติศาสตร์ ชุดนี้ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช และเงินทุนเฉลิมฉลองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สนับสนุนให้ หน่วยวิจัยแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ฯ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ดำเนินการคัดลอกจากแผนที่เก่า ของหน่วยแผนที่ กองตำรวจจราจร กรมตำรวจ ที่จัดทำขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อให้เป็นฐานข้อมูล สำหรับการเรียนการสอนและวิจัย ที่จะนำไปสู่ การสืบสาน รักษา และต่อยอด องค์ความรู้สถาปัตยกรรม และเมือง กรุงเทพฯ ตามแนวพระราชดำริสืบไป นิทรรศการ แผนที่ประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๕ จัดขึ้น ณ ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๓ กันยายน ถึงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/dcjWxZz8CoV3Y2qq/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 426 มุมมอง 0 รีวิว
  • “อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย” อีกหนึ่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของไทย

    อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ตั้งอยู่ในเขตตำบลศรีสัชนาลัย ตำบลสารจิตร ตำบลหนองอ้อ และตำบลท่าชัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตัวเมืองโบราณศรีสัชนาลัย อยู่ในเขตหมู่บ้านพระปรางค์ ตำบลศรีสัชนาลัย โดยอยู่ไม่สุภาพงจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือ ประมาณ 550 กิโลเมตร เมืองโบราณศรีสัชนาลัยมีสภาพภูมิประเทศที่ตั้งของเมืองเป็นที่ราบเชิงเขาพระศรี และ เขาใหญ่ ทางด้านทิศตะวันตก และมี ลำน้ำยมอยู่ทางด้านทิศตะวันออก กรมศิลปากรได้กำหนดเขตที่ดินโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ประมาณ 28,217 ไร่

    ความสำคัญทางประวัติศาสตร์😍
    เนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่ตั้งของเมืองศรีสัชนาลัย มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน คือมีทั้งที่ราบลุ่มริมแม่น้ำยมและที่ลาด เชิงเขาพระศรี และเขาใหญ่ ทำให้มีทั้งความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่และสิ่งป้องกันทางธรรมชาติที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกศัตรู ได้อย่างดีด้วย จากหลักฐานที่สำรวจพบ พวกขวานหินขัด (เครื่องมือ เครื่องใช้ ของคนสมัยโบราณ) ที่พบที่ตำบลท่าชัย อำเภอศรีสัชนาลัย รวมทั้งจาก หลักฐานการขุดค้นทางโบราณคดีที่วัดชมชื่น แสดงว่ามีชุมชน เข้ามาอยู่อาศัยตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 9 (พ.ศ.800) เป็นต้นมาเป็นชุมชนร่วมสมัย ทวารวดีในภาคกลางถัด ขึ้นมาเป็นหลักฐานของวัฒนธรรมร่วมสมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 18, พ.ศ. 1700) ปรากฏหลักฐานที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง ในระยะนั้นเมืองศรีสัชนาลัยมีชื่อว่าเมืองเชลียง ตามหลักฐานที่ปรากฏ ในศิลาจารึก ตำนานและพงศาวดารที่ยืนยันว่ามีเมืองโบราณ 2 เมือง อยู่ในลุ่มน้ำยมก่อนแล้ว คือ เมืองสุโขทัย และเมืองเชลียง ต่อมาได้มีการก่อสร้างเมืองศรีสัชนาลัยขึ้นทางด้านทิศเหนือของเมืองเชลียงไม่สุภาพงออกไปประมาณ 1.5 กิโลเมตร เมืองศรีสัชนาลัย มีความสำคัญควบคู่กันมากับเมือง สุโขทัย โดยจากหลักฐานได้กล่าวถึงพ่อขุนศรีนาวนำถม ว่าเป็นกษัตริย์ครอง 2 นคร คือ เสวยราชย์ ทั้งเมืองสุโขทัยและเมืองศรีสัชนาลัย (ก่อน พ.ศ. 1781) ต่อมาจนถึงพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ.1781 - 1822) ทรงโปรดให้พ่อขุนบาลเมือง ไปครองเมืองศรีสัชนาลัย ส่วนพ่อขุนรามคำแหง พระยาลิไทก็เคยครองเมืองศรีสัชนาลัย ก่อนขึ้นเสวยราชย์เป็นกษัตริย์ปกครอง อาณาจักรสุโขทัย เมืองศรีสัชนาลัยมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวงของสุโขทัย ต่อมาจนแม้กระทั่งสุโขทัยตกอยู่ภายใต้อำนาจของกรุงศรีอยุธยา และได้ เปลี่ยนชื่อเรียกว่า เมืองสวรรคโลก เมืองศรีสัชนาลัยหรือเมืองสวรรคโลกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นเมืองสำคัญที่ผลิตภาชนะเครื่องเคลือบสังคโลกให้แก่ กรุงศรีอยุธยา ในสมัยต่อมาเมื่อมีการจัดระบบการปกครองปรับปรุงเรื่องเชื้อสายราชวงศ์ให้เข้าอยู่ในระบบราชการเรียบร้อยแล้ว กรุงศรี อยุธยา ได้เป็นผู้แต่งตั้งเจ้าเมืองเข้ามา ปกครองเมืองสวรรคโลกมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นนอกระดับเมืองโท หลังเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 เมืองศรีสัชนาลัยหรือ สวรรคโลกถูก ทิ้งร้าง ต่อมาเมืองสวรรคโลกได้จัดตั้ง ขึ้นใหม่ ที่บ้านท่าชัยอยู่ด้านทิศใต้ของเมืองเดิม และในสมัยรัตนโกสินทร์ได้ย้ายไปอยู่ที่บ้านวังไม้ขอน ซึ่งคือที่ตั้งของอำเภอ สวรรคโลกในปัจจุบัน ส่วนชื่อเมืองศรีสัชนาลัยถูกนำไปตั้งเป็นชื่อของอำเภอศรีสัชนาลัย ซึ่งได้รวมเอาเขตพื้นที่เมืองศรีสัชนาลัย โบราณไว้ด้วย อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของโลก ร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรใน พ.ศ.2534 เนื่องจากหลักฐานที่ปรากฏแสดงให้เห็นถึงผลงานทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น นับเป็นตัวแทนของศิลปกรรมไทยยุคแรกและเป็นต้นกำเนิดของการสร้างประเทศ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2533

    โบราณสถานที่สำคัญ😇
    เมืองโบราณศรีสัชนาลัย มีขอบเขตของผังเมืองที่ก่อสร้างทับซ้อนอยู่บนบริเวณ เมืองเชลียงเดิม กล่าวคือ แนวกำแพงเมืองเชลียง เดิม ทำเป็นคันดินยาวขนานไปตามลำน้ำยมโดยเริ่มจาก บริเวณวัดมหาธาตุเชลียงขนานลำน้ำยมเลยผ่านเขาพนมเพลิงออกไป ซึ่งยังคงปรากฎหลักฐานคันดินให้เห็นอยู่เป็นระยะ ๆ ต่อมาเมื่อมีการก่อสร้างเมืองศรีสัชนาลัยขึ้น จึงได้พิจารณาเลือกบริเวณที่มีสภาพ ภูมิประเทศเป็นที่ราบเชิงเขา กำหนดขอบเขต การก่อสร้างกำแพงเมืองจากศิลาแลง ลักษณะผังเมืองเป็น รูปหลายเหลี่ยมไม่สม่ำเสมอตามทิศทางของแม่น้ำยม ในช่วงนี้ ลักษณะของกำแพงเมืองศรีสัชนาลัยมี หลายแนวเพราะคงมีการผสมผสานเอาแนวกำแพงคันดินในสมัยที่เป็นเมืองเชลียงเข้ามา ใช้ประโยชน์ด้วย โบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย มีทั้งภายในและภายนอกกำแพงเมือง ซึ่งรวมทั้งหมดมีไม่น้อย กว่า 215 แห่งโบราณสถานที่สำคัญมีดังนี้
    -โบราณสถานภายในกำแพงเมือง สำรวจพบแล้วมีทั้งสิ้น 28 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดช้างล้อม วัดเจดีย์เจ็ดแถว วัดนางพญา วัดสวนแก้วอุทยานใหญ่ วัดสวนแก้ว เป็นต้น
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศเหนือ สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 35 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดกุฎีราย เตาทุเรียงบ้านป่ายาง เตา ทุเรียงบ้านเกาะน้อย ซึ่งเป็น แหล่งผลิต ภาชนะดินเผา “เครื่องสังคโลก” ที่สำคัญของเมืองศรีสัชนาลัย
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันออก สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 10 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดสวนสัก วัดป่าแก้ว เป็นต้น
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศใต้ สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 24 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดชมชื่น วัดเจ้าจันทร์ และวัดโคกสิงคาราม เป็นต้น
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันตก สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 19 แห่ง ที่สำคัญ คือ วัดพญาดำ วัดราหู วัดสระประทุม วัดพรหมสี่หน้า วัดยายตา เป็นต้น
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองบนภูเขา สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 15 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดเขาใหญ่บน วัดเจดีย์เจ็ดยอด วัดเจดีย์รอบ และวัดเขาใหญ่ล่าง เป็นต้น อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของโลก ร่วมกันกับ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ในปี พ.ศ. 2534 เนื่องจากหลักฐานที่ปรากฎแสดงให้เห็นถึงผลงานทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น นับเป็นตัวแทนของศิลปกรรมไทย ยุคแรก และเป็นต้นกำเนิดของการสร้างประเทศ

    บทความหน้า เพจเทพชวนเที่ยว จะพาไปเที่ยวที่ไหน กดติดตาม กดไลค์กดแชร์เป็นกำลังใจให้แอดมินด้วยนะครับ🥰
    “อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย” อีกหนึ่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของไทย อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ตั้งอยู่ในเขตตำบลศรีสัชนาลัย ตำบลสารจิตร ตำบลหนองอ้อ และตำบลท่าชัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตัวเมืองโบราณศรีสัชนาลัย อยู่ในเขตหมู่บ้านพระปรางค์ ตำบลศรีสัชนาลัย โดยอยู่ไม่สุภาพงจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือ ประมาณ 550 กิโลเมตร เมืองโบราณศรีสัชนาลัยมีสภาพภูมิประเทศที่ตั้งของเมืองเป็นที่ราบเชิงเขาพระศรี และ เขาใหญ่ ทางด้านทิศตะวันตก และมี ลำน้ำยมอยู่ทางด้านทิศตะวันออก กรมศิลปากรได้กำหนดเขตที่ดินโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ประมาณ 28,217 ไร่ ความสำคัญทางประวัติศาสตร์😍 เนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่ตั้งของเมืองศรีสัชนาลัย มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน คือมีทั้งที่ราบลุ่มริมแม่น้ำยมและที่ลาด เชิงเขาพระศรี และเขาใหญ่ ทำให้มีทั้งความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่และสิ่งป้องกันทางธรรมชาติที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกศัตรู ได้อย่างดีด้วย จากหลักฐานที่สำรวจพบ พวกขวานหินขัด (เครื่องมือ เครื่องใช้ ของคนสมัยโบราณ) ที่พบที่ตำบลท่าชัย อำเภอศรีสัชนาลัย รวมทั้งจาก หลักฐานการขุดค้นทางโบราณคดีที่วัดชมชื่น แสดงว่ามีชุมชน เข้ามาอยู่อาศัยตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 9 (พ.ศ.800) เป็นต้นมาเป็นชุมชนร่วมสมัย ทวารวดีในภาคกลางถัด ขึ้นมาเป็นหลักฐานของวัฒนธรรมร่วมสมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 18, พ.ศ. 1700) ปรากฏหลักฐานที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง ในระยะนั้นเมืองศรีสัชนาลัยมีชื่อว่าเมืองเชลียง ตามหลักฐานที่ปรากฏ ในศิลาจารึก ตำนานและพงศาวดารที่ยืนยันว่ามีเมืองโบราณ 2 เมือง อยู่ในลุ่มน้ำยมก่อนแล้ว คือ เมืองสุโขทัย และเมืองเชลียง ต่อมาได้มีการก่อสร้างเมืองศรีสัชนาลัยขึ้นทางด้านทิศเหนือของเมืองเชลียงไม่สุภาพงออกไปประมาณ 1.5 กิโลเมตร เมืองศรีสัชนาลัย มีความสำคัญควบคู่กันมากับเมือง สุโขทัย โดยจากหลักฐานได้กล่าวถึงพ่อขุนศรีนาวนำถม ว่าเป็นกษัตริย์ครอง 2 นคร คือ เสวยราชย์ ทั้งเมืองสุโขทัยและเมืองศรีสัชนาลัย (ก่อน พ.ศ. 1781) ต่อมาจนถึงพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ.1781 - 1822) ทรงโปรดให้พ่อขุนบาลเมือง ไปครองเมืองศรีสัชนาลัย ส่วนพ่อขุนรามคำแหง พระยาลิไทก็เคยครองเมืองศรีสัชนาลัย ก่อนขึ้นเสวยราชย์เป็นกษัตริย์ปกครอง อาณาจักรสุโขทัย เมืองศรีสัชนาลัยมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวงของสุโขทัย ต่อมาจนแม้กระทั่งสุโขทัยตกอยู่ภายใต้อำนาจของกรุงศรีอยุธยา และได้ เปลี่ยนชื่อเรียกว่า เมืองสวรรคโลก เมืองศรีสัชนาลัยหรือเมืองสวรรคโลกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นเมืองสำคัญที่ผลิตภาชนะเครื่องเคลือบสังคโลกให้แก่ กรุงศรีอยุธยา ในสมัยต่อมาเมื่อมีการจัดระบบการปกครองปรับปรุงเรื่องเชื้อสายราชวงศ์ให้เข้าอยู่ในระบบราชการเรียบร้อยแล้ว กรุงศรี อยุธยา ได้เป็นผู้แต่งตั้งเจ้าเมืองเข้ามา ปกครองเมืองสวรรคโลกมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นนอกระดับเมืองโท หลังเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 เมืองศรีสัชนาลัยหรือ สวรรคโลกถูก ทิ้งร้าง ต่อมาเมืองสวรรคโลกได้จัดตั้ง ขึ้นใหม่ ที่บ้านท่าชัยอยู่ด้านทิศใต้ของเมืองเดิม และในสมัยรัตนโกสินทร์ได้ย้ายไปอยู่ที่บ้านวังไม้ขอน ซึ่งคือที่ตั้งของอำเภอ สวรรคโลกในปัจจุบัน ส่วนชื่อเมืองศรีสัชนาลัยถูกนำไปตั้งเป็นชื่อของอำเภอศรีสัชนาลัย ซึ่งได้รวมเอาเขตพื้นที่เมืองศรีสัชนาลัย โบราณไว้ด้วย อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของโลก ร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรใน พ.ศ.2534 เนื่องจากหลักฐานที่ปรากฏแสดงให้เห็นถึงผลงานทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น นับเป็นตัวแทนของศิลปกรรมไทยยุคแรกและเป็นต้นกำเนิดของการสร้างประเทศ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2533 โบราณสถานที่สำคัญ😇 เมืองโบราณศรีสัชนาลัย มีขอบเขตของผังเมืองที่ก่อสร้างทับซ้อนอยู่บนบริเวณ เมืองเชลียงเดิม กล่าวคือ แนวกำแพงเมืองเชลียง เดิม ทำเป็นคันดินยาวขนานไปตามลำน้ำยมโดยเริ่มจาก บริเวณวัดมหาธาตุเชลียงขนานลำน้ำยมเลยผ่านเขาพนมเพลิงออกไป ซึ่งยังคงปรากฎหลักฐานคันดินให้เห็นอยู่เป็นระยะ ๆ ต่อมาเมื่อมีการก่อสร้างเมืองศรีสัชนาลัยขึ้น จึงได้พิจารณาเลือกบริเวณที่มีสภาพ ภูมิประเทศเป็นที่ราบเชิงเขา กำหนดขอบเขต การก่อสร้างกำแพงเมืองจากศิลาแลง ลักษณะผังเมืองเป็น รูปหลายเหลี่ยมไม่สม่ำเสมอตามทิศทางของแม่น้ำยม ในช่วงนี้ ลักษณะของกำแพงเมืองศรีสัชนาลัยมี หลายแนวเพราะคงมีการผสมผสานเอาแนวกำแพงคันดินในสมัยที่เป็นเมืองเชลียงเข้ามา ใช้ประโยชน์ด้วย โบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย มีทั้งภายในและภายนอกกำแพงเมือง ซึ่งรวมทั้งหมดมีไม่น้อย กว่า 215 แห่งโบราณสถานที่สำคัญมีดังนี้ -โบราณสถานภายในกำแพงเมือง สำรวจพบแล้วมีทั้งสิ้น 28 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดช้างล้อม วัดเจดีย์เจ็ดแถว วัดนางพญา วัดสวนแก้วอุทยานใหญ่ วัดสวนแก้ว เป็นต้น -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศเหนือ สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 35 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดกุฎีราย เตาทุเรียงบ้านป่ายาง เตา ทุเรียงบ้านเกาะน้อย ซึ่งเป็น แหล่งผลิต ภาชนะดินเผา “เครื่องสังคโลก” ที่สำคัญของเมืองศรีสัชนาลัย -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันออก สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 10 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดสวนสัก วัดป่าแก้ว เป็นต้น -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศใต้ สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 24 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดชมชื่น วัดเจ้าจันทร์ และวัดโคกสิงคาราม เป็นต้น -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันตก สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 19 แห่ง ที่สำคัญ คือ วัดพญาดำ วัดราหู วัดสระประทุม วัดพรหมสี่หน้า วัดยายตา เป็นต้น -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองบนภูเขา สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 15 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดเขาใหญ่บน วัดเจดีย์เจ็ดยอด วัดเจดีย์รอบ และวัดเขาใหญ่ล่าง เป็นต้น อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของโลก ร่วมกันกับ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ในปี พ.ศ. 2534 เนื่องจากหลักฐานที่ปรากฎแสดงให้เห็นถึงผลงานทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น นับเป็นตัวแทนของศิลปกรรมไทย ยุคแรก และเป็นต้นกำเนิดของการสร้างประเทศ บทความหน้า เพจเทพชวนเที่ยว จะพาไปเที่ยวที่ไหน กดติดตาม กดไลค์กดแชร์เป็นกำลังใจให้แอดมินด้วยนะครับ🥰
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 582 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันนี้ 20 สิงหา เป็นวันคล้ายวันเกิดของพระสำคัญยิ่งรูปหนึ่งของเมืองไทย หลายท่านอาจยังไม่รู้ lit nit เองก็ไม่รู้ เพียงแต่เมื่อคืนบังเอิญหยิบหนังสือเล่มนี้มาอ่านก่อนนอน จึงทำให้ได้รู้และนำมาเล่าสู่กันฟัง
    ....
    หนังสือเล่มนี้เป็นประวัติของพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระบ้าน ๆ ที่ทำคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติและศาสนาอย่างมหาศาล สถาบันพระมหากษัตริย์ให้ความเคารพนับถืออย่างยิ่ง เมื่อท่านจากไปในหลวง ร.9 ทรงไปรดน้ำศพ (ตามประเพณีแล้วเมื่อพระราชารดน้ำศพผู้ใดก็จะไม่มีการให้ใครคนอื่นมารดน้ำศพต่อ แต่วันนั้นในหลวงทรงงดประเพณีนี้เพื่อให้ลูกศิษย์และประชาชนได้มีโอกาสทำความเคารพและขอขมาหลวงปู่) พระพันปีหลวงที่ขณะนั้นเป็นราชินีและเชื้อพระวงศ์ได้ทรงจัดดอกไม้หน้าศพด้วยพระองค์เอง หรือแม้แต่หนังสือในรูปซึ่งพิมพ์แจกในในงานพระทานเพลิงศพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ก็โปรดเกล้าพระราชทานพระราชนิพนธ์โคลงด้นวิวิธมาลี "อาจาราศิรวาท" แด่หนังสือเล่มนี้ด้วย
    ....
    หนังสือเล่มนี้ทำให้ lit nit ได้คำตอบที่เด็ก ๆ เขียนคำถามมาว่า
    "ทำไมเรียกพระพุทธเจ้าว่าพระพุทธเจ้า ?"
    #เริ่มต้นวันใหม่ด้วยความดีงามของพระอาจารย์
    วันนี้ 20 สิงหา เป็นวันคล้ายวันเกิดของพระสำคัญยิ่งรูปหนึ่งของเมืองไทย หลายท่านอาจยังไม่รู้ lit nit เองก็ไม่รู้ เพียงแต่เมื่อคืนบังเอิญหยิบหนังสือเล่มนี้มาอ่านก่อนนอน จึงทำให้ได้รู้และนำมาเล่าสู่กันฟัง .... หนังสือเล่มนี้เป็นประวัติของพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระบ้าน ๆ ที่ทำคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติและศาสนาอย่างมหาศาล สถาบันพระมหากษัตริย์ให้ความเคารพนับถืออย่างยิ่ง เมื่อท่านจากไปในหลวง ร.9 ทรงไปรดน้ำศพ (ตามประเพณีแล้วเมื่อพระราชารดน้ำศพผู้ใดก็จะไม่มีการให้ใครคนอื่นมารดน้ำศพต่อ แต่วันนั้นในหลวงทรงงดประเพณีนี้เพื่อให้ลูกศิษย์และประชาชนได้มีโอกาสทำความเคารพและขอขมาหลวงปู่) พระพันปีหลวงที่ขณะนั้นเป็นราชินีและเชื้อพระวงศ์ได้ทรงจัดดอกไม้หน้าศพด้วยพระองค์เอง หรือแม้แต่หนังสือในรูปซึ่งพิมพ์แจกในในงานพระทานเพลิงศพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ก็โปรดเกล้าพระราชทานพระราชนิพนธ์โคลงด้นวิวิธมาลี "อาจาราศิรวาท" แด่หนังสือเล่มนี้ด้วย .... หนังสือเล่มนี้ทำให้ lit nit ได้คำตอบที่เด็ก ๆ เขียนคำถามมาว่า "ทำไมเรียกพระพุทธเจ้าว่าพระพุทธเจ้า ?" #เริ่มต้นวันใหม่ด้วยความดีงามของพระอาจารย์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 356 มุมมอง 0 รีวิว
  • Name: สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี
    Size: A4
    Technique: Coffee,Watercolor
    สีจากกาแฟ

    ราคา 500 บาท (500 Baht.)
    #Art
    #Decoration
    #ของแต่งบ้าน
    #รูปวาด
    #ศิลปะ
    #กาแฟ
    #สีน้ำ
    #coffee
    #กาแฟ
    Name: สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี Size: A4 Technique: Coffee,Watercolor สีจากกาแฟ ราคา 500 บาท (500 Baht.) #Art #Decoration #ของแต่งบ้าน #รูปวาด #ศิลปะ #กาแฟ #สีน้ำ #coffee #กาแฟ
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 483 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม 2567
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทาน ในการพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง

    ในโอกาสนี้ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ โดยเสด็จในการนี้ด้วย
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    Cr. FB: พระลาน
    วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทาน ในการพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง ในโอกาสนี้ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ โดยเสด็จในการนี้ด้วย #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา Cr. FB: พระลาน
    Love
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 495 มุมมอง 0 รีวิว