• รีโพสต์บทความของ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ “คานงัดประเทศไทยหลายประเทศมีการผลักดัน “การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง” อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนสามารถพลิกฟื้นตัวเองจากรัฐที่ตามหลัง (Following State) สู่รัฐที่ล้ำหน้า (Forefront State) อย่างจีน สิงค์โปร์ หรือ เกาหลีใต้ ผิดกับประเทศไทย ที่ปัจจุบันยังเป็นเพียงรัฐที่ตามหลัง และกำลังมีแนวโน้มถดถอยไปสู่รัฐที่กำลังล้มเหลว (Falling State)ที่ผ่านมา ประเทศไทยนั้นมีการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง (Great Reform) เพียงครั้งเดียว คือในสมัยล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 แต่เงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงในสมัยนั้นกับในยุคปัจจุบันมีความแตกต่างกัน ทั้งเงื่อนไขที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอก ในสมัยล้นเกล้าฯ รัชการที่ 5 น้ำหนักจะอยู่ที่การพัฒนาเพื่อไปสู่ความทันสมัย เพื่อที่จะแสดงให้ประชาคมโลกตระหนักว่าประเทศของเรานั้นไม่ได้ล้าหลัง เนื่องจากต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคม ประเด็นท้าทายในยุคปัจจุบัน คือจะมุ่งการพัฒนาเพื่อไปสู่ความยั่งยืน ความเท่าเทียมในสังคม และความเท่าทันเทคโนโลยี ได้อย่างไร~แรงเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงหลังกระแสการล่าอาณานิคมผ่านพ้นไป ประเทศไทยไม่เคยต้องเผชิญกับแรงกดดันอย่างรุนแรง เราเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล 2 น้อยมาก ดังนั้น ระบบและโครงสร้างเก่า แนวคิดและจารีตนิยมจึงไม่ได้ถูกทำลาย ทำให้อิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชนยังคงอยู่ ระบบคุณค่าดังกล่าวเป็นอุปสรรคต่อการพลิกโฉมประเทศไปสู่สังคมสมัยใหม่ ที่เน้นความเป็นระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่พลเมือง มีจิตอาสา กล้าที่จะเสนอความเห็น มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และความเสมอภาคระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังได้หล่อหลอมคนไทยให้เป็น “ปัจเจกบุคคลที่ไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม” (Anomic Individualism) สะท้อนผ่านพฤติกรรมตัวใครตัวมัน ไม่ชอบถูกบังคับ ไร้ระเบียบวินัย และขาดความรับผิดชอบ ผลข้างเคียงที่ตามมา คือคนไทยโดยส่วนใหญ่จะเรียกร้องสิทธิมากกว่าหน้าที่ เน้นถูกใจมากกว่าถูกต้อง เน้นมองเพื่อตัวเองมากกว่ามองเพื่อส่วนรวม เน้นชิงสุกก่อนห่ามมากกว่าอดเปรี้ยวไว้กินหวาน เน้นรูปแบบมากกว่าสาระ เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ เน้นมูลค่ามากกว่าคุณค่า และเน้นคอนเนคชั่นมากกว่าเนื้องานความไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม ทำให้คนไทยโดยส่วนใหญ่มักตัดสินใจเลือกเส้นทางหรือวิธีการที่ “มักง่าย” ทำให้เรื่องที่ “ผิดปกติ” กลายเป็นเรื่อง “ไม่ผิดปกติ” และกระทำลงไปโดยปราศจาก “ความรู้สึกผิด” อาทิ นักการเมืองโกงกินไม่เป็นไร ขอเพียงให้มีผลงานบ้าง การทำปฏิวัติรัฐประหาร การใช้กำลังยุติความขัดแย้ง เชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ ไสยศาสตร์ และความมหัศจรรย์ ไม่รักษาเวลา ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ ทิ้งงานโดยไม่มีเหตุผล เป็นต้น ~ค้นหาจุดคานงัด ทลายวงจรอุบาทว์หากพวกเราไม่คิดแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านี้ ก็ยากที่ประเทศไทยจะยืนเคียงบ่าเคียงไหล่ประเทศอื่น ๆ ในประชาคมโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ได้ในการทลายวงจรอุบาทว์เชิงซ้อน จุดคานงัดของการเปลี่ยนแปลง (Leveraging Point) อาจจะอยู่ทึ่ “การปฏิรูประบบคุณค่า” (Value System Reform) ครั้งใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในค่านิยม 2 ชุดหลักด้วยกัน คือชุดที่ 1: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมชุดที่ 2: บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยมบริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นด้านลบของระบอบทุนนิยม แต่ในด้านบวกของระบอบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแข่งขันอย่างเสรี การยึดธรรมาภิบาล กฎกติกา กลับไม่ได้ถูกสังคมไทยนำมาใช้อย่างเต็มที่ เพราะถูกอิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมเข้าบดบังระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด ยังคงแทรกซึมลึกอยู่ในเกือบทุกอณูของสังคมไทย เป็น Counter-Productive Value ที่นอกจากจะไม่สอดรับกับรูปแบบการพัฒนาและโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในโลกปัจจุบัน ยังเป็นอุปสรรคตัวสำคัญที่สุดของการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า ระบบคุณค่าทั้งสองชุดได้ทำให้ธรรมาภิบาล โครงสร้าง ตลอดจนพฤติกรรมของผู้คนในสังคม เกิดการบิดเบี้ยวเชิงระบบ ไม่ว่าจะเป็น• การบิดเบี้ยวเชิงการเมือง ที่ก่อให้เกิดการเมืองที่มีผู้มีอิทธิพลครอบงำ และก่อให้เกิดระบอบธนาธิปไตย และระบอบอมาตยาธิปไตย แทนที่จะเป็นระบอบประชาธิปไตย • การบิดเบี้ยวเชิงบริหารราชการแผ่นดิน ที่การบริหารจัดการภาครัฐถูกแทรกแซง บิดเบือน ไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและระบบคุณธรรม • การบิดเบี้ยวเชิงสังคม ที่ก่อให้เกิด Contra-Individuals มากกว่า Collective Individuals รวมถึงเกิดความกระชับแน่นของคนในกลุ่มเดียวกัน (Bonding) เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสัมพันธ์ของคนต่างกลุ่ม (Bridging) ลดลง เกิดเป็น “สังคมของพวกกู” มากกว่า “สังคมของพวกเรา”• ความบิดเบี้ยวเชิงเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดระบบทุนนิยมแบบพวกพ้อง (Crony Capitalism) นำมาสู่ระบบเศรษฐกิจปรสิต (Parasite Economy) และสังคมพึ่งพิงประชานิยม (Dependent Society) • ความบิดเบี้ยวของผู้นำ ที่ก่อให้เกิดการขาดแคลนผู้นำที่เป็นต้นแบบที่ดี มีแต่ผู้นำที่คิดอย่าง พูดอย่าง ทำอย่างอยู่มากมาย เกิดผู้นำที่ใส่ใจในวาระซ่อนเร้นของตน มากกว่า วาระของชาติ• ความบิดเบี้ยวเชิงสถาบัน ที่สถาบันต่าง ๆ ไม่ได้ทำหน้าที่ตามภารกิจอย่างเป็นอิสระ อย่างที่สังคมคาดหวังที่สำคัญ ระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังก่อให้เกิดความย้อนแย้งระหว่างอำนาจที่แท้จริงและอำนาจทางการ หรือที่เรียกว่า “Power Paradox” กล่าวคือ การที่เรายังมองประชาชนเป็นผู้ถูกปกครอง โดยมีผู้ปกครองคือรัฐ ทั้งที่จริง ๆ แล้วรัฐต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน เป็นความย้อนแย้งระหว่างพฤตินัยและนิตินัยดังนั้น หากปราศจากการปรับเปลี่ยนระบบคุณค่า เพื่อทำให้เกิดความสอดคล้องกับธรรมาภิบาลและโครงสร้างส่วนอื่นๆของสังคม วาระการปฎิรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิรูปการเมือง ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ จะไม่มีทางตอบโจทย์ประเด็นปัญหาฐานรากที่เกิดขึ้นในสังคมไทย~ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยม; บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นปฐมบทของการเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองแบบ Extractive Political Economy ที่มีผู้คนเพียงบางกลุ่ม ได้ประโยชน์จากอำนาจการปกครองและอำนาจทางเศรษฐกิจ โดยความพยายามที่จะกีดกั้น เอารัดเอาเปรียบ และทำให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจและความมั่งคั่ง และนำพาสู่การอุบัติขึ้นของ ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐ ในที่สุดโครงสร้าง Extractive Political Economy ได้นำพาประเทศไทยสู่ “ทศวรรษแห่งความสูญเปล่า” เกิดสังคมที่ไม่ Clean & Clear ไม่ Free & Fair และไม่ Care & Share สังคมดังกล่าวนำมาซึ่งความเสื่อมถอยของทุนทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นทุนมนุษย์ที่อ่อนแอ ทุนเศรษฐกิจที่อ่อนด้อย ทุนสังคมที่เปราะบาง ทุนคุณธรรมจริยธรรมที่เสื่อมทราม และทุนทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมถึงเวลาปฎิรูประบบคุณค่า เพื่อใช้เป็นจุดคานงัดในการก้าวพ้นกับดัก และปรับเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในโลกที่หนึ่ง”
    รีโพสต์บทความของ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ “คานงัดประเทศไทยหลายประเทศมีการผลักดัน “การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง” อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนสามารถพลิกฟื้นตัวเองจากรัฐที่ตามหลัง (Following State) สู่รัฐที่ล้ำหน้า (Forefront State) อย่างจีน สิงค์โปร์ หรือ เกาหลีใต้ ผิดกับประเทศไทย ที่ปัจจุบันยังเป็นเพียงรัฐที่ตามหลัง และกำลังมีแนวโน้มถดถอยไปสู่รัฐที่กำลังล้มเหลว (Falling State)ที่ผ่านมา ประเทศไทยนั้นมีการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง (Great Reform) เพียงครั้งเดียว คือในสมัยล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 แต่เงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงในสมัยนั้นกับในยุคปัจจุบันมีความแตกต่างกัน ทั้งเงื่อนไขที่มาจากปัจจัยภายในและภายนอก ในสมัยล้นเกล้าฯ รัชการที่ 5 น้ำหนักจะอยู่ที่การพัฒนาเพื่อไปสู่ความทันสมัย เพื่อที่จะแสดงให้ประชาคมโลกตระหนักว่าประเทศของเรานั้นไม่ได้ล้าหลัง เนื่องจากต้องเผชิญกับการล่าอาณานิคม ประเด็นท้าทายในยุคปัจจุบัน คือจะมุ่งการพัฒนาเพื่อไปสู่ความยั่งยืน ความเท่าเทียมในสังคม และความเท่าทันเทคโนโลยี ได้อย่างไร~แรงเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงหลังกระแสการล่าอาณานิคมผ่านพ้นไป ประเทศไทยไม่เคยต้องเผชิญกับแรงกดดันอย่างรุนแรง เราเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล 2 น้อยมาก ดังนั้น ระบบและโครงสร้างเก่า แนวคิดและจารีตนิยมจึงไม่ได้ถูกทำลาย ทำให้อิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชนยังคงอยู่ ระบบคุณค่าดังกล่าวเป็นอุปสรรคต่อการพลิกโฉมประเทศไปสู่สังคมสมัยใหม่ ที่เน้นความเป็นระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที่พลเมือง มีจิตอาสา กล้าที่จะเสนอความเห็น มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และความเสมอภาคระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังได้หล่อหลอมคนไทยให้เป็น “ปัจเจกบุคคลที่ไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม” (Anomic Individualism) สะท้อนผ่านพฤติกรรมตัวใครตัวมัน ไม่ชอบถูกบังคับ ไร้ระเบียบวินัย และขาดความรับผิดชอบ ผลข้างเคียงที่ตามมา คือคนไทยโดยส่วนใหญ่จะเรียกร้องสิทธิมากกว่าหน้าที่ เน้นถูกใจมากกว่าถูกต้อง เน้นมองเพื่อตัวเองมากกว่ามองเพื่อส่วนรวม เน้นชิงสุกก่อนห่ามมากกว่าอดเปรี้ยวไว้กินหวาน เน้นรูปแบบมากกว่าสาระ เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ เน้นมูลค่ามากกว่าคุณค่า และเน้นคอนเนคชั่นมากกว่าเนื้องานความไร้บรรทัดฐานและคุณค่าร่วมในสังคม ทำให้คนไทยโดยส่วนใหญ่มักตัดสินใจเลือกเส้นทางหรือวิธีการที่ “มักง่าย” ทำให้เรื่องที่ “ผิดปกติ” กลายเป็นเรื่อง “ไม่ผิดปกติ” และกระทำลงไปโดยปราศจาก “ความรู้สึกผิด” อาทิ นักการเมืองโกงกินไม่เป็นไร ขอเพียงให้มีผลงานบ้าง การทำปฏิวัติรัฐประหาร การใช้กำลังยุติความขัดแย้ง เชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ ไสยศาสตร์ และความมหัศจรรย์ ไม่รักษาเวลา ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ ทิ้งงานโดยไม่มีเหตุผล เป็นต้น ~ค้นหาจุดคานงัด ทลายวงจรอุบาทว์หากพวกเราไม่คิดแก้ไขปรับเปลี่ยนค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านี้ ก็ยากที่ประเทศไทยจะยืนเคียงบ่าเคียงไหล่ประเทศอื่น ๆ ในประชาคมโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ได้ในการทลายวงจรอุบาทว์เชิงซ้อน จุดคานงัดของการเปลี่ยนแปลง (Leveraging Point) อาจจะอยู่ทึ่ “การปฏิรูประบบคุณค่า” (Value System Reform) ครั้งใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในค่านิยม 2 ชุดหลักด้วยกัน คือชุดที่ 1: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมชุดที่ 2: บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยมบริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นด้านลบของระบอบทุนนิยม แต่ในด้านบวกของระบอบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแข่งขันอย่างเสรี การยึดธรรมาภิบาล กฎกติกา กลับไม่ได้ถูกสังคมไทยนำมาใช้อย่างเต็มที่ เพราะถูกอิทธิพลของระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยมเข้าบดบังระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด ยังคงแทรกซึมลึกอยู่ในเกือบทุกอณูของสังคมไทย เป็น Counter-Productive Value ที่นอกจากจะไม่สอดรับกับรูปแบบการพัฒนาและโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในโลกปัจจุบัน ยังเป็นอุปสรรคตัวสำคัญที่สุดของการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า ระบบคุณค่าทั้งสองชุดได้ทำให้ธรรมาภิบาล โครงสร้าง ตลอดจนพฤติกรรมของผู้คนในสังคม เกิดการบิดเบี้ยวเชิงระบบ ไม่ว่าจะเป็น• การบิดเบี้ยวเชิงการเมือง ที่ก่อให้เกิดการเมืองที่มีผู้มีอิทธิพลครอบงำ และก่อให้เกิดระบอบธนาธิปไตย และระบอบอมาตยาธิปไตย แทนที่จะเป็นระบอบประชาธิปไตย • การบิดเบี้ยวเชิงบริหารราชการแผ่นดิน ที่การบริหารจัดการภาครัฐถูกแทรกแซง บิดเบือน ไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและระบบคุณธรรม • การบิดเบี้ยวเชิงสังคม ที่ก่อให้เกิด Contra-Individuals มากกว่า Collective Individuals รวมถึงเกิดความกระชับแน่นของคนในกลุ่มเดียวกัน (Bonding) เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสัมพันธ์ของคนต่างกลุ่ม (Bridging) ลดลง เกิดเป็น “สังคมของพวกกู” มากกว่า “สังคมของพวกเรา”• ความบิดเบี้ยวเชิงเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดระบบทุนนิยมแบบพวกพ้อง (Crony Capitalism) นำมาสู่ระบบเศรษฐกิจปรสิต (Parasite Economy) และสังคมพึ่งพิงประชานิยม (Dependent Society) • ความบิดเบี้ยวของผู้นำ ที่ก่อให้เกิดการขาดแคลนผู้นำที่เป็นต้นแบบที่ดี มีแต่ผู้นำที่คิดอย่าง พูดอย่าง ทำอย่างอยู่มากมาย เกิดผู้นำที่ใส่ใจในวาระซ่อนเร้นของตน มากกว่า วาระของชาติ• ความบิดเบี้ยวเชิงสถาบัน ที่สถาบันต่าง ๆ ไม่ได้ทำหน้าที่ตามภารกิจอย่างเป็นอิสระ อย่างที่สังคมคาดหวังที่สำคัญ ระบบอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และอภิสิทธิชน ยังก่อให้เกิดความย้อนแย้งระหว่างอำนาจที่แท้จริงและอำนาจทางการ หรือที่เรียกว่า “Power Paradox” กล่าวคือ การที่เรายังมองประชาชนเป็นผู้ถูกปกครอง โดยมีผู้ปกครองคือรัฐ ทั้งที่จริง ๆ แล้วรัฐต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน เป็นความย้อนแย้งระหว่างพฤตินัยและนิตินัยดังนั้น หากปราศจากการปรับเปลี่ยนระบบคุณค่า เพื่อทำให้เกิดความสอดคล้องกับธรรมาภิบาลและโครงสร้างส่วนอื่นๆของสังคม วาระการปฎิรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิรูปการเมือง ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ จะไม่มีทางตอบโจทย์ประเด็นปัญหาฐานรากที่เกิดขึ้นในสังคมไทย~ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐระบบคุณค่าทั้ง 2 ชุด: อุปถัมภ์นิยม อำนาจนิยม และอภิสิทธินิยม; บริโภคนิยม วัตถุนิยม และสุขนิยม เป็นปฐมบทของการเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองแบบ Extractive Political Economy ที่มีผู้คนเพียงบางกลุ่ม ได้ประโยชน์จากอำนาจการปกครองและอำนาจทางเศรษฐกิจ โดยความพยายามที่จะกีดกั้น เอารัดเอาเปรียบ และทำให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจและความมั่งคั่ง และนำพาสู่การอุบัติขึ้นของ ประชาธิปไตยเทียม ทุนนิยมพวกพ้อง ระบบเศรษฐกิจปรสิต และสังคมพึ่งพิงรัฐ ในที่สุดโครงสร้าง Extractive Political Economy ได้นำพาประเทศไทยสู่ “ทศวรรษแห่งความสูญเปล่า” เกิดสังคมที่ไม่ Clean & Clear ไม่ Free & Fair และไม่ Care & Share สังคมดังกล่าวนำมาซึ่งความเสื่อมถอยของทุนทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นทุนมนุษย์ที่อ่อนแอ ทุนเศรษฐกิจที่อ่อนด้อย ทุนสังคมที่เปราะบาง ทุนคุณธรรมจริยธรรมที่เสื่อมทราม และทุนทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมถึงเวลาปฎิรูประบบคุณค่า เพื่อใช้เป็นจุดคานงัดในการก้าวพ้นกับดัก และปรับเปลี่ยนไทยสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในโลกที่หนึ่ง”
    0 Comments 0 Shares 345 Views 0 Reviews
  • การเมืองไทยมีความซับซ้อนและมีปัญหาหลายด้านที่ต้องแก้ไขเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ปัญหาหลักๆ และแนวทางการแก้ไขอาจรวมถึง以下几个方面:

    ### 1. **ปัญหาความแตกแยกและความขัดแย้งทางการเมือง**
    - **สาเหตุ**: ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองต่าง ๆ เช่น คณะรัฐประหาร ประชาชน และพรรคการเมือง
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ส่งเสริม **การเจรจาและปรองดอง** ระหว่างกลุ่มการเมืองที่ขัดแย้งกัน
    - ลดการใช้อำนาจรัฐเพื่อปราบปรามฝ่ายตรงข้าม
    - สร้างกลไกแก้ไขความขัดแย้งที่เป็นกลาง เช่น คณะกรรมการอิสระ

    ### 2. **ระบบเลือกตั้งที่ไม่สมบูรณ์**
    - **สาเหตุ**: ระบบเลือกตั้งอาจไม่สะท้อนเสียงประชาชนอย่างแท้จริง เช่น การแบ่งเขตเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม หรือกฎหมายที่เอื้อประโยชน์ให้พรรคใหญ่
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ปรับปรุง **ระบบเลือกตั้ง** ให้มีความโปร่งใสและเป็นธรรมมากขึ้น เช่น ใช้ระบบสัดส่วนผสม (Mixed-Member Proportional: MMP)
    - เปิดโอกาสให้พรรคการเมืองขนาดเล็กมีส่วนร่วมในสภา
    - ป้องกันการทุจริตเลือกตั้งด้วยเทคโนโลยีและกลไกตรวจสอบ

    ### 3. **ปัญหาอำนาจนอกระบบ (อำนาจนอกการเมือง)**
    - **สาเหตุ**: การแทรกแซงทางการเมืองโดยสถาบันอื่นที่ไม่ใช่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - เสริมสร้าง **หลักนิติธรรม** และลดบทบาทของอำนาจนอกระบบในการเมือง
    - ปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้กองทัพและองค์กรอิสระอยู่ภายใต้การควบคุมของพลเรือน

    ### 4. **การทุจริตและระบบอุปถัมภ์**
    - **สาเหตุ**: การคอร์รัปชันในวงราชการและระบบอุปถัมภ์ที่ทำให้การเมืองไทยไม่โปร่งใส
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - เสริมสร้าง **กลไกตรวจสอบ** เช่น ปรับปรุงสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.)
    - เปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data) เพื่อให้ประชาชนตรวจสอบได้
    - ส่งเสริมวัฒนธรรมการต่อต้านคอร์รัปชันตั้งแต่ระดับการศึกษา

    ### 5. **การกระจายอำนาจที่ไม่ทั่วถึง**
    - **สาเหตุ**: อำนาจยังรวมศูนย์อยู่ที่กรุงเทพฯ และรัฐบาลกลาง ทำให้ท้องถิ่นขาดอิสระ
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - **กระจายอำนาจการปกครอง** ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น
    - ให้ท้องถิ่นมีอำนาจในการจัดเก็บภาษีและบริหารงบประมาณเอง

    ### 6. **ปัญหาการเซ็นเซอร์และเสรีภาพสื่อ**
    - **สาเหตุ**: การควบคุมสื่อโดยรัฐ และการใช้กฎหมายเช่น พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เพื่อจำกัดเสรีภาพ
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายที่จำกัดเสรีภาพสื่อ
    - ส่งเสริมสื่ออิสระและปลอดจากการแทรกแซงของรัฐ

    ### 7. **การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม**
    - **สาเหตุ**: กระบวนการยุติธรรมอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ปรับปรุงระบบตุลาการให้เป็นอิสระและเป็นกลาง
    - ตรวจสอบการใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียม

    ### 8. **การมีส่วนร่วมของประชาชน**
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ส่งเสริม **ประชาธิปไตยทางตรง** เช่น การลงประชามติในประเด็นสำคัญ
    - ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อรับฟังความเห็นประชาชน (E-Participation)

    ### **สรุป**
    การเมืองไทยต้องการการปฏิรูปหลายด้าน ทั้งระบบเลือกตั้ง การลดอำนาจนอกระบบ การต่อต้านคอร์รัปชัน การกระจายอำนาจ และการส่งเสริมเสรีภาพ หากแก้ไขได้อย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การเมืองไทยมีความมั่นคงและเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น

    คุณคิดว่าประเด็นไหนสำคัญที่สุดหรือควรเริ่มแก้ไขก่อน?
    การเมืองไทยมีความซับซ้อนและมีปัญหาหลายด้านที่ต้องแก้ไขเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ปัญหาหลักๆ และแนวทางการแก้ไขอาจรวมถึง以下几个方面: ### 1. **ปัญหาความแตกแยกและความขัดแย้งทางการเมือง** - **สาเหตุ**: ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองต่าง ๆ เช่น คณะรัฐประหาร ประชาชน และพรรคการเมือง - **แนวทางแก้ไข**: - ส่งเสริม **การเจรจาและปรองดอง** ระหว่างกลุ่มการเมืองที่ขัดแย้งกัน - ลดการใช้อำนาจรัฐเพื่อปราบปรามฝ่ายตรงข้าม - สร้างกลไกแก้ไขความขัดแย้งที่เป็นกลาง เช่น คณะกรรมการอิสระ ### 2. **ระบบเลือกตั้งที่ไม่สมบูรณ์** - **สาเหตุ**: ระบบเลือกตั้งอาจไม่สะท้อนเสียงประชาชนอย่างแท้จริง เช่น การแบ่งเขตเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม หรือกฎหมายที่เอื้อประโยชน์ให้พรรคใหญ่ - **แนวทางแก้ไข**: - ปรับปรุง **ระบบเลือกตั้ง** ให้มีความโปร่งใสและเป็นธรรมมากขึ้น เช่น ใช้ระบบสัดส่วนผสม (Mixed-Member Proportional: MMP) - เปิดโอกาสให้พรรคการเมืองขนาดเล็กมีส่วนร่วมในสภา - ป้องกันการทุจริตเลือกตั้งด้วยเทคโนโลยีและกลไกตรวจสอบ ### 3. **ปัญหาอำนาจนอกระบบ (อำนาจนอกการเมือง)** - **สาเหตุ**: การแทรกแซงทางการเมืองโดยสถาบันอื่นที่ไม่ใช่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง - **แนวทางแก้ไข**: - เสริมสร้าง **หลักนิติธรรม** และลดบทบาทของอำนาจนอกระบบในการเมือง - ปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้กองทัพและองค์กรอิสระอยู่ภายใต้การควบคุมของพลเรือน ### 4. **การทุจริตและระบบอุปถัมภ์** - **สาเหตุ**: การคอร์รัปชันในวงราชการและระบบอุปถัมภ์ที่ทำให้การเมืองไทยไม่โปร่งใส - **แนวทางแก้ไข**: - เสริมสร้าง **กลไกตรวจสอบ** เช่น ปรับปรุงสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.) - เปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data) เพื่อให้ประชาชนตรวจสอบได้ - ส่งเสริมวัฒนธรรมการต่อต้านคอร์รัปชันตั้งแต่ระดับการศึกษา ### 5. **การกระจายอำนาจที่ไม่ทั่วถึง** - **สาเหตุ**: อำนาจยังรวมศูนย์อยู่ที่กรุงเทพฯ และรัฐบาลกลาง ทำให้ท้องถิ่นขาดอิสระ - **แนวทางแก้ไข**: - **กระจายอำนาจการปกครอง** ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น - ให้ท้องถิ่นมีอำนาจในการจัดเก็บภาษีและบริหารงบประมาณเอง ### 6. **ปัญหาการเซ็นเซอร์และเสรีภาพสื่อ** - **สาเหตุ**: การควบคุมสื่อโดยรัฐ และการใช้กฎหมายเช่น พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เพื่อจำกัดเสรีภาพ - **แนวทางแก้ไข**: - ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายที่จำกัดเสรีภาพสื่อ - ส่งเสริมสื่ออิสระและปลอดจากการแทรกแซงของรัฐ ### 7. **การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม** - **สาเหตุ**: กระบวนการยุติธรรมอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง - **แนวทางแก้ไข**: - ปรับปรุงระบบตุลาการให้เป็นอิสระและเป็นกลาง - ตรวจสอบการใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียม ### 8. **การมีส่วนร่วมของประชาชน** - **แนวทางแก้ไข**: - ส่งเสริม **ประชาธิปไตยทางตรง** เช่น การลงประชามติในประเด็นสำคัญ - ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อรับฟังความเห็นประชาชน (E-Participation) ### **สรุป** การเมืองไทยต้องการการปฏิรูปหลายด้าน ทั้งระบบเลือกตั้ง การลดอำนาจนอกระบบ การต่อต้านคอร์รัปชัน การกระจายอำนาจ และการส่งเสริมเสรีภาพ หากแก้ไขได้อย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การเมืองไทยมีความมั่นคงและเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น คุณคิดว่าประเด็นไหนสำคัญที่สุดหรือควรเริ่มแก้ไขก่อน?
    0 Comments 0 Shares 516 Views 0 Reviews
  • 15 ปี สิ้น “จ่าเพียร ขาเหล็ก” ผู้กำกับนักสู้แห่งเทือกเขาบูโด ตำนานย้ายยากเย็น เซ่นสลับบัญชี โชคร้ายตายก่อนขึ้นรองผู้การ

    🚔 “คงอยากจะขอยศพันตำรวจเอกให้ผม ตอนที่ผมตายแล้ว” คำพูดที่ยังคงก้องในหัวใจคนไทยหลายคน… 🕊️

    🌿 ตำนานที่ยังไม่ลืม ผ่านมากว่า 15 ปี แล้ว... แต่เรื่องราวของ “จ่าเพียร ขาเหล็ก” หรือ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผกก.สภ.บันนังสตา ภ.จว.ยะลา ยังถูกเล่าขานในฐานะ “นักสู้แห่งเทือกเขาบูโด” ผู้ทุ่มเทชีวิตเพื่อความสงบสุขของแผ่นดินปลายด้ามขวาน 🗡️ แม้จะแลกด้วยความเหน็ดเหนื่อย เจ็บปวด และสุดท้าย... ชีวิต

    👮‍♂️ “สมเพียร เอกสมญา” หรือชื่อเล่นว่า “เนี้ยบ” เกิดเมื่อปี 2493 ในครอบครัวยากจนที่จังหวัดสงขลา ชีวิตในวัยเด็กเต็มไปด้วยความลำบาก ต้องช่วยพ่อแม่กรีดยาง เพื่อหารายได้จุนเจือครอบครัว แต่ความยากจน ไม่สามารถปิดกั้นความฝันได้ 🎓

    หลังเรียนจบชั้นประถมปีที่ 4 สมเพียรตัดสินใจเป็นศิษย์วัดเพื่อเรียนต่อ และก้าวขึ้นสู่การเป็นนักเรียนตำรวจ ต้องเปลี่ยนนามสกุลจาก “แซ่เจ่ง” เป็น “เอกสมญา” เพื่อเข้ารับราชการในยุคนั้น

    จุดเริ่มต้นของนักรบแดนใต้ ปี 2513 สมเพียรเริ่มต้นอาชีพตำรวจที่ สถานีตำรวจภูธรบันนังสตา ภ.จว.ยะลา ในช่วงเวลาที่ภาคใต้ร้อนระอุ จากความขัดแย้งของพรรคคอมมิวนิสต์มลายา (พคม.) และกลุ่มขบวนการแบ่งแยกดินแดน

    ชีวิตของสมเพียร ไม่ใช่แค่การจับผู้ร้ายทั่วไป แต่ต้องเผชิญหน้ากับสงครามกองโจร และการลอบสังหารเกือบทุกวัน 😔

    🔥 วีรกรรมและตำนาน “ขาเหล็ก” เหตุการณ์ปะทะที่เกือบเอาชีวิตไม่รอด ปี 2519 ขณะที่ครองยศ "จ่าสิบตำรวจ" ได้เข้าปะทะกับขบวนการก่อการไม่สงบ ที่จับตำรวจและครอบครัวเป็นตัวประกัน บนเขาเจาะปันตัง เหตุการณ์นั้นทำให้ จ่าเพียรเกือบเสียขาข้างซ้าย ต้องใส่เหล็กดามขามาตลอดชีวิต จนได้ฉายาว่า “จ่าเพียร ขาเหล็ก” 🦿

    🦾 “ผมไม่อยากเป็นวีรบุรุษ และจะไม่ขอตายในชุดนักรบ” พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา

    🦅 ปฏิบัติการ “ยูงทอง” ชุดปฏิบัติการปราบปราม กลุ่มก่อการไม่สงบในบันนังสตา มีชื่อเสียงอย่างมากภาย ใต้การนำของจ่าเพียร เคยนำทีมเข้าปะทะกองกำลังกว่า 30 คน ในปี 2526 แม้ตัวเองจะโดนยิงที่ต้นขาขวา แต่ยังสู้ไม่ถอย ✊

    🏡 ความฝันสุดท้ายของจ่าเพียร อยากกลับบ้าน...แค่ใช้ชีวิตกับครอบครัว ในช่วงสุดท้ายของชีวิต พ.ต.อ.สมเพียร ยื่นเรื่องขอย้ายกลับไปอยู่ สภ.กันตัง จ.ตรัง บ้านเกิดของภรรยา เพื่อใช้ชีวิตเงียบสงบช่วง 18 เดือนก่อนเกษียณ แต่การโยกย้ายกลับไม่เกิดขึ้น แม้ว่าจะมีชื่อติดในโผโยกย้ายตั้งแต่แรก แต่ในขั้นตอนสุดท้าย กลับถูกสับเปลี่ยนชื่อ สลับบัญชี เพื่อหลีกทางให้คนของนักการเมือง 🍃

    จ่าเพียรไม่ยอมรับโผอัปยศ จึงเดินทางจากชายแดนใต้สู่กรุงเทพฯ ไปทวงถามความเป็นธรรม ถึงทำเนียบรัฐบาล และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งได้รับคำปลอบใจว่า จะเยียวยาโดยให้ขึ้นตำแหน่ง "รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด" ก่อนที่จะเกษียณอายุราชการ

    💬 “ไม่มีการแต่งตั้งตำรวจครั้งไหนที่แย่เท่าครั้งนี้อีกแล้ว” แม้ว่าจ่าเพยีจะพูดด้วยน้ำตา แต่ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง

    💔 วันแห่งความสูญเสีย ปฏิบัติการสุดท้ายที่บ้านทับช้าง ในเช้าวันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2553 จ่าเพียร พร้อมด้วยลูกน้อง 4 นาย และ อส.คนสนิทอีก 1 นาย นั่งรถยนต์ปิกอัพ โตโยต้าไฮลักซ์วีโก้ 4 ประตู สีน้ำตาล หมายเลขทะเบียน กข 9302 ยะลา และอส.คนสนิท อีก 1 นาย ออกลาดตระเวนในพื้นที่บ้านทับช้าง แต่ถูกกลุ่มก่อการไม่สงบ กดระเบิด และกราดยิงด้วยอาวุธสงครามอย่างหนัก จ่าเพียรได้รับบาดเจ็บสาหัส และเสียชีวิตในเวลาต่อมา ที่โรงพยาบาลศูนย์ยะลา ลูกน้องได้รับบาดเจ็บสาหัส 3 นาย และอีก 1 นายเสียชีวิต 🔫

    ⚰️ อายุ 59 ปี สิ้นสุดเส้นทางของนักรบผู้ภักดีต่อหน้าที่ บทเรียนชีวิตและความจริงที่เจ็บปวด การต่อสู้ของจ่าเพียร ไม่ใช่แค่ศึกในสนามรบ แต่ยังเป็นศึกในระบบราชการที่ซับซ้อน และมีปัญหาเรื่องอุปถัมภ์ จ่าเพียรไม่ได้รับโอกาสเลื่อนยศหรือโยกย้าย จนกว่าจะเสียชีวิตแล้ว ถึงได้เลื่อนยศ 7 ขั้น เป็น "พลตำรวจเอก" 🕊️

    ⚖️ ระบบที่ควรตอบแทนคนทุ่มเท กลับถูกแทนที่ด้วยสายสัมพันธ์และอำนาจ มรดกและแรงบันดาลใจ
    หลังจากการเสียชีวิตของจ่าเพียร สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้มอบเงินช่วยเหลือครอบครัวจำนวน 3 ล้านบาท และรับผิดชอบการศึกษาของลูก จนจบปริญญาตรี แต่สิ่งที่จ่าเพียรทิ้งไว้ไม่ใช่แค่เงินทอง

    ❤️ “จ่าเพียร ขาเหล็ก” กลายเป็นสัญลักษณ์ของตำรวจที่ทุ่มเท และไม่ยอมแพ้ต่ออุปถัมภ์

    🗣️ คำพูดสุดท้ายที่ยังตราตรึง "ผมไม่ได้อยากย้ายเพื่อความก้าวหน้า แต่อยากกลับไปอยู่กับครอบครัว ผมทำงานมา 40 ปี แทบไม่มีเวลาให้พวกเขาเลย"

    ❓ คำถามที่ยังไร้คำตอบ แม้เวลาจะผ่านไป 15 ปี แต่เรื่องราวของจ่าเพียร ยังเป็นกระจกสะท้อนปัญหาระบบราชการไทย หลายคนยังสงสัยว่า…

    - ทำไมตำรวจน้ำดี ต้องตายก่อนจึงได้รับการยกย่อง?
    - ทำไมระบบโยกย้าย ถึงเต็มไปด้วยข้อครหา?
    - ใครจะปกป้องผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ ที่ไม่มีเส้นสาย?

    🤝 เสียงจากคนในพื้นที่ “จ่าเพียรกลับมาแล้ว” ไม่ใช่แค่ตำรวจ แต่เป็นที่พึ่งของชาวบ้าน

    🕊️ “กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ยะลา ปัตตานี นราธิวาส รู้จักจ่าเพียรในฐานะคนที่ไม่เคยทิ้งพื้นที่”

    🌳 "คนที่เคยเป็นเยาวชนไม่มีอนาคต กลายมาเป็นอาสาสมัครในทีมของจ่าเพียร ด้วยศรัทธาและความเชื่อมั่น"

    🕯️ ตำนานที่ไม่ควรจางหาย ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ที่ชื่อ "สมเพียร เอกสมญา" ไม่ได้ตายเพราะกระสุนหรือระเบิด แต่เพราะระบบที่ล้มเหลวในการดูแลคนดี 💐

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 121155 มี.ค. 2568

    #จ่าเพียรขาเหล็ก #ฮีโร่แดนใต้ #ผู้กำกับนักสู้ #สมเพียรเอกสมญา #ชายแดนใต้ #นักรบแห่งบูโด #ตำรวจไทย #ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ #วีรบุรุษแดนใต้ #ระบบอุปถัมภ์

    15 ปี สิ้น “จ่าเพียร ขาเหล็ก” ผู้กำกับนักสู้แห่งเทือกเขาบูโด ตำนานย้ายยากเย็น เซ่นสลับบัญชี โชคร้ายตายก่อนขึ้นรองผู้การ 🚔 “คงอยากจะขอยศพันตำรวจเอกให้ผม ตอนที่ผมตายแล้ว” คำพูดที่ยังคงก้องในหัวใจคนไทยหลายคน… 🕊️ 🌿 ตำนานที่ยังไม่ลืม ผ่านมากว่า 15 ปี แล้ว... แต่เรื่องราวของ “จ่าเพียร ขาเหล็ก” หรือ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผกก.สภ.บันนังสตา ภ.จว.ยะลา ยังถูกเล่าขานในฐานะ “นักสู้แห่งเทือกเขาบูโด” ผู้ทุ่มเทชีวิตเพื่อความสงบสุขของแผ่นดินปลายด้ามขวาน 🗡️ แม้จะแลกด้วยความเหน็ดเหนื่อย เจ็บปวด และสุดท้าย... ชีวิต 👮‍♂️ “สมเพียร เอกสมญา” หรือชื่อเล่นว่า “เนี้ยบ” เกิดเมื่อปี 2493 ในครอบครัวยากจนที่จังหวัดสงขลา ชีวิตในวัยเด็กเต็มไปด้วยความลำบาก ต้องช่วยพ่อแม่กรีดยาง เพื่อหารายได้จุนเจือครอบครัว แต่ความยากจน ไม่สามารถปิดกั้นความฝันได้ 🎓 หลังเรียนจบชั้นประถมปีที่ 4 สมเพียรตัดสินใจเป็นศิษย์วัดเพื่อเรียนต่อ และก้าวขึ้นสู่การเป็นนักเรียนตำรวจ ต้องเปลี่ยนนามสกุลจาก “แซ่เจ่ง” เป็น “เอกสมญา” เพื่อเข้ารับราชการในยุคนั้น จุดเริ่มต้นของนักรบแดนใต้ ปี 2513 สมเพียรเริ่มต้นอาชีพตำรวจที่ สถานีตำรวจภูธรบันนังสตา ภ.จว.ยะลา ในช่วงเวลาที่ภาคใต้ร้อนระอุ จากความขัดแย้งของพรรคคอมมิวนิสต์มลายา (พคม.) และกลุ่มขบวนการแบ่งแยกดินแดน ชีวิตของสมเพียร ไม่ใช่แค่การจับผู้ร้ายทั่วไป แต่ต้องเผชิญหน้ากับสงครามกองโจร และการลอบสังหารเกือบทุกวัน 😔 🔥 วีรกรรมและตำนาน “ขาเหล็ก” เหตุการณ์ปะทะที่เกือบเอาชีวิตไม่รอด ปี 2519 ขณะที่ครองยศ "จ่าสิบตำรวจ" ได้เข้าปะทะกับขบวนการก่อการไม่สงบ ที่จับตำรวจและครอบครัวเป็นตัวประกัน บนเขาเจาะปันตัง เหตุการณ์นั้นทำให้ จ่าเพียรเกือบเสียขาข้างซ้าย ต้องใส่เหล็กดามขามาตลอดชีวิต จนได้ฉายาว่า “จ่าเพียร ขาเหล็ก” 🦿 🦾 “ผมไม่อยากเป็นวีรบุรุษ และจะไม่ขอตายในชุดนักรบ” พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา 🦅 ปฏิบัติการ “ยูงทอง” ชุดปฏิบัติการปราบปราม กลุ่มก่อการไม่สงบในบันนังสตา มีชื่อเสียงอย่างมากภาย ใต้การนำของจ่าเพียร เคยนำทีมเข้าปะทะกองกำลังกว่า 30 คน ในปี 2526 แม้ตัวเองจะโดนยิงที่ต้นขาขวา แต่ยังสู้ไม่ถอย ✊ 🏡 ความฝันสุดท้ายของจ่าเพียร อยากกลับบ้าน...แค่ใช้ชีวิตกับครอบครัว ในช่วงสุดท้ายของชีวิต พ.ต.อ.สมเพียร ยื่นเรื่องขอย้ายกลับไปอยู่ สภ.กันตัง จ.ตรัง บ้านเกิดของภรรยา เพื่อใช้ชีวิตเงียบสงบช่วง 18 เดือนก่อนเกษียณ แต่การโยกย้ายกลับไม่เกิดขึ้น แม้ว่าจะมีชื่อติดในโผโยกย้ายตั้งแต่แรก แต่ในขั้นตอนสุดท้าย กลับถูกสับเปลี่ยนชื่อ สลับบัญชี เพื่อหลีกทางให้คนของนักการเมือง 🍃 จ่าเพียรไม่ยอมรับโผอัปยศ จึงเดินทางจากชายแดนใต้สู่กรุงเทพฯ ไปทวงถามความเป็นธรรม ถึงทำเนียบรัฐบาล และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งได้รับคำปลอบใจว่า จะเยียวยาโดยให้ขึ้นตำแหน่ง "รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด" ก่อนที่จะเกษียณอายุราชการ 💬 “ไม่มีการแต่งตั้งตำรวจครั้งไหนที่แย่เท่าครั้งนี้อีกแล้ว” แม้ว่าจ่าเพยีจะพูดด้วยน้ำตา แต่ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง 💔 วันแห่งความสูญเสีย ปฏิบัติการสุดท้ายที่บ้านทับช้าง ในเช้าวันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2553 จ่าเพียร พร้อมด้วยลูกน้อง 4 นาย และ อส.คนสนิทอีก 1 นาย นั่งรถยนต์ปิกอัพ โตโยต้าไฮลักซ์วีโก้ 4 ประตู สีน้ำตาล หมายเลขทะเบียน กข 9302 ยะลา และอส.คนสนิท อีก 1 นาย ออกลาดตระเวนในพื้นที่บ้านทับช้าง แต่ถูกกลุ่มก่อการไม่สงบ กดระเบิด และกราดยิงด้วยอาวุธสงครามอย่างหนัก จ่าเพียรได้รับบาดเจ็บสาหัส และเสียชีวิตในเวลาต่อมา ที่โรงพยาบาลศูนย์ยะลา ลูกน้องได้รับบาดเจ็บสาหัส 3 นาย และอีก 1 นายเสียชีวิต 🔫 ⚰️ อายุ 59 ปี สิ้นสุดเส้นทางของนักรบผู้ภักดีต่อหน้าที่ บทเรียนชีวิตและความจริงที่เจ็บปวด การต่อสู้ของจ่าเพียร ไม่ใช่แค่ศึกในสนามรบ แต่ยังเป็นศึกในระบบราชการที่ซับซ้อน และมีปัญหาเรื่องอุปถัมภ์ จ่าเพียรไม่ได้รับโอกาสเลื่อนยศหรือโยกย้าย จนกว่าจะเสียชีวิตแล้ว ถึงได้เลื่อนยศ 7 ขั้น เป็น "พลตำรวจเอก" 🕊️ ⚖️ ระบบที่ควรตอบแทนคนทุ่มเท กลับถูกแทนที่ด้วยสายสัมพันธ์และอำนาจ มรดกและแรงบันดาลใจ หลังจากการเสียชีวิตของจ่าเพียร สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้มอบเงินช่วยเหลือครอบครัวจำนวน 3 ล้านบาท และรับผิดชอบการศึกษาของลูก จนจบปริญญาตรี แต่สิ่งที่จ่าเพียรทิ้งไว้ไม่ใช่แค่เงินทอง ❤️ “จ่าเพียร ขาเหล็ก” กลายเป็นสัญลักษณ์ของตำรวจที่ทุ่มเท และไม่ยอมแพ้ต่ออุปถัมภ์ 🗣️ คำพูดสุดท้ายที่ยังตราตรึง "ผมไม่ได้อยากย้ายเพื่อความก้าวหน้า แต่อยากกลับไปอยู่กับครอบครัว ผมทำงานมา 40 ปี แทบไม่มีเวลาให้พวกเขาเลย" ❓ คำถามที่ยังไร้คำตอบ แม้เวลาจะผ่านไป 15 ปี แต่เรื่องราวของจ่าเพียร ยังเป็นกระจกสะท้อนปัญหาระบบราชการไทย หลายคนยังสงสัยว่า… - ทำไมตำรวจน้ำดี ต้องตายก่อนจึงได้รับการยกย่อง? - ทำไมระบบโยกย้าย ถึงเต็มไปด้วยข้อครหา? - ใครจะปกป้องผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ ที่ไม่มีเส้นสาย? 🤝 เสียงจากคนในพื้นที่ “จ่าเพียรกลับมาแล้ว” ไม่ใช่แค่ตำรวจ แต่เป็นที่พึ่งของชาวบ้าน 🕊️ “กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ยะลา ปัตตานี นราธิวาส รู้จักจ่าเพียรในฐานะคนที่ไม่เคยทิ้งพื้นที่” 🌳 "คนที่เคยเป็นเยาวชนไม่มีอนาคต กลายมาเป็นอาสาสมัครในทีมของจ่าเพียร ด้วยศรัทธาและความเชื่อมั่น" 🕯️ ตำนานที่ไม่ควรจางหาย ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ที่ชื่อ "สมเพียร เอกสมญา" ไม่ได้ตายเพราะกระสุนหรือระเบิด แต่เพราะระบบที่ล้มเหลวในการดูแลคนดี 💐 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 121155 มี.ค. 2568 #จ่าเพียรขาเหล็ก #ฮีโร่แดนใต้ #ผู้กำกับนักสู้ #สมเพียรเอกสมญา #ชายแดนใต้ #นักรบแห่งบูโด #ตำรวจไทย #ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ #วีรบุรุษแดนใต้ #ระบบอุปถัมภ์
    0 Comments 0 Shares 1157 Views 0 Reviews
  • ศธ. ยืนหยัดต่อต้านคอร์รัปชัน “MOE Zero Tolerance” ก้าวข้ามค่านิยมระบบอุปถัมภ์ สร้างความเชื่อมั่นให้ประชาชน
    https://www.facebook.com/pradenrath/posts/1246824666915395
    ศธ. ยืนหยัดต่อต้านคอร์รัปชัน “MOE Zero Tolerance” ก้าวข้ามค่านิยมระบบอุปถัมภ์ สร้างความเชื่อมั่นให้ประชาชน https://www.facebook.com/pradenrath/posts/1246824666915395
    0 Comments 0 Shares 186 Views 0 Reviews
  • ระบบราชการเป็นระบบอุปถัมภ์ ยิ่งมีนักการเมืองเข้ามาต้องเรียกว่ามหาอุปถัมภ์..
    ระบบราชการเป็นระบบอุปถัมภ์ ยิ่งมีนักการเมืองเข้ามาต้องเรียกว่ามหาอุปถัมภ์..
    0 Comments 0 Shares 137 Views 0 Reviews
  • หลักสูตรบรรลัย อบรมต่างชาติ : Sondhitalk EP275 VDO

    อบรมฉาว เปิดช่องทางหากินในระบบอุปถัมภ์ สะเทือนวงการสีกากีและสีเขียว

    #sondhitalk #สนธิลิ้มทองกุล #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Sondhi #หลักสูตรอาสาตำรวจ #อบรมอาสาตำรวจจีน #อาสาตำรวจ #คนจีน

    ThaiTimes คือแพลตฟอร์มเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ช่วยให้คุณ:
    - แพลตฟอร์มที่ไม่โดนปิดกั้น
    - แชร์รูปภาพและวิดีโอ
    - ติดตามข่าวสารล่าสุดจากคนที่คุณติดตาม
    แอป Thaitimes มีให้ Download ได้แล้วทั้งใน iOS และใน android
    iOS : https://apps.apple.com/th/app/thaitimes-social/id6502225132
    Google Play :https://play.google.com/store/apps/details...
    และ https://thaitimes.co
    หลักสูตรบรรลัย อบรมต่างชาติ : Sondhitalk EP275 VDO อบรมฉาว เปิดช่องทางหากินในระบบอุปถัมภ์ สะเทือนวงการสีกากีและสีเขียว #sondhitalk #สนธิลิ้มทองกุล #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Sondhi #หลักสูตรอาสาตำรวจ #อบรมอาสาตำรวจจีน #อาสาตำรวจ #คนจีน ThaiTimes คือแพลตฟอร์มเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ช่วยให้คุณ: - แพลตฟอร์มที่ไม่โดนปิดกั้น - แชร์รูปภาพและวิดีโอ - ติดตามข่าวสารล่าสุดจากคนที่คุณติดตาม แอป Thaitimes มีให้ Download ได้แล้วทั้งใน iOS และใน android iOS : https://apps.apple.com/th/app/thaitimes-social/id6502225132 Google Play :https://play.google.com/store/apps/details... และ https://thaitimes.co
    Like
    Angry
    Love
    Yay
    27
    0 Comments 0 Shares 4456 Views 99 1 Reviews
  • คณะกรรมาธิการสวัสดิการสังคม ที่มีไอ่ณัฐชาเป็นประธาน หนีบอีเจี๊ยบเที่ยวฟรีกินฟรีบินฟรี ร่วมคณะไปจีน นี่มันระบบอุปถัมภ์พวกพ้องที่เมิงต่อต้านกันนะเว้ย
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง-2
    คณะกรรมาธิการสวัสดิการสังคม ที่มีไอ่ณัฐชาเป็นประธาน หนีบอีเจี๊ยบเที่ยวฟรีกินฟรีบินฟรี ร่วมคณะไปจีน นี่มันระบบอุปถัมภ์พวกพ้องที่เมิงต่อต้านกันนะเว้ย #คิงส์โพธิ์แดง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง-2
    Haha
    Like
    Angry
    4
    0 Comments 0 Shares 501 Views 0 Reviews
  • ♣ เผยไส้เน่าพรรคประชาชนหลังพ่ายยับ แกนนำพรรคชี้สาเหตุแพ้ 1 ชัยรัตน์หลุดด้อยค่าราชบุรี 2 เท้งไม่ช่วยน้ำท่วมแต่อ้างระบบอุปถัมภ์ 3 พิธาขาลง ยิ่งขายคนยิ่งสะอิดสะเอียน
    #7ดอกจิก
    ♣ เผยไส้เน่าพรรคประชาชนหลังพ่ายยับ แกนนำพรรคชี้สาเหตุแพ้ 1 ชัยรัตน์หลุดด้อยค่าราชบุรี 2 เท้งไม่ช่วยน้ำท่วมแต่อ้างระบบอุปถัมภ์ 3 พิธาขาลง ยิ่งขายคนยิ่งสะอิดสะเอียน #7ดอกจิก
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 723 Views 0 Reviews
  • อาฟเตอร์ช็อก ระบบอุปถัมภ์ไอ่เท้ง พรรคปชช..สาดกันยับ
    #คิงส์โพธิ์แดง
    อาฟเตอร์ช็อก ระบบอุปถัมภ์ไอ่เท้ง พรรคปชช..สาดกันยับ #คิงส์โพธิ์แดง
    0 Comments 0 Shares 359 Views 26 0 Reviews
  • ♣ แบงก์รัฐ ตอกหน้าพรรคประชาชน การช่วยเหลือชาวบ้านที่เป็นลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วม เป็นการลดภาระทางการเงิน ลดความลำบากในการฟื้นฟูชีวิตจากน้ำท่วม มิใช่การสร้างบุญคุณ หรือระบบอุปถัมภ์
    #7ดอกจิก
    #ระบบอุมถัมภ์
    ♣ แบงก์รัฐ ตอกหน้าพรรคประชาชน การช่วยเหลือชาวบ้านที่เป็นลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วม เป็นการลดภาระทางการเงิน ลดความลำบากในการฟื้นฟูชีวิตจากน้ำท่วม มิใช่การสร้างบุญคุณ หรือระบบอุปถัมภ์ #7ดอกจิก #ระบบอุมถัมภ์
    0 Comments 0 Shares 488 Views 0 Reviews