• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 985
    ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์
    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้
    และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ
    เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ
    และไม่หลุดพ้นจากทุกข์”
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา
    และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ
    #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์”
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ สัทธรรมลำดับที่ : 985 ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 เนื้อความทั้งหมด :- --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ --ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​ http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59. http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความแตกต่างระหว่าง
    -ความแตกต่างระหว่าง คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนเขลาไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิว