• กองทัพบกโต้ข่าว "ทหารเขมรยึดภูมะเขือ" ไม่จริง เตรียมหลักฐานประท้วงละเมิด MOU
    https://www.thai-tai.tv/news/20301/
    .
    #กองทัพบก #ภูมะเขือ #เขาพระวิหาร #ชายแดนไทยกัมพูชา #MOU2543 #อธิปไตย #ข่าวชายแดน #ความมั่นคง
    กองทัพบกโต้ข่าว "ทหารเขมรยึดภูมะเขือ" ไม่จริง เตรียมหลักฐานประท้วงละเมิด MOU https://www.thai-tai.tv/news/20301/ . #กองทัพบก #ภูมะเขือ #เขาพระวิหาร #ชายแดนไทยกัมพูชา #MOU2543 #อธิปไตย #ข่าวชายแดน #ความมั่นคง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 58 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทบ.ยัน ภูมะเขือ เป็นพื้นที่ทั้งไทยและเขมร ต่างอ้างสิทธิ์ จึงเคลื่อนกำลังเข้าแย่งยึดพื้นที่ ทำให้มีฐานปฏิบัติการทางทหารของไทยและเขมร อยู่เผชิญหน้ากัน ย้ำ ไทยยึดมั่นไม่รุกรานใคร พร้อมแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี ยัน เขมร มักจะละเมิดในข้อตกลงไทยจึงไม่อาจเพิกเฉยต่อความกังวลที่เกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้งได้

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000066595

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    ทบ.ยัน ภูมะเขือ เป็นพื้นที่ทั้งไทยและเขมร ต่างอ้างสิทธิ์ จึงเคลื่อนกำลังเข้าแย่งยึดพื้นที่ ทำให้มีฐานปฏิบัติการทางทหารของไทยและเขมร อยู่เผชิญหน้ากัน ย้ำ ไทยยึดมั่นไม่รุกรานใคร พร้อมแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี ยัน เขมร มักจะละเมิดในข้อตกลงไทยจึงไม่อาจเพิกเฉยต่อความกังวลที่เกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้งได้ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000066595 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 278 มุมมอง 0 รีวิว
  • แม่ทัพภาคที่ 2 เผยทหารพร้อมทำงานปกป้องอธิปไตย นายกฯ จะเป็นใครขอให้ชัดเจนทำเพื่อชาติ เผยเจรจาฝ่ายกัมพูชาปราศจากอาวุธสัปดาห์ละ 3 วันที่สามเหลี่ยมมรกต หลังประชุม RBC ปรับเวลาเปิดด่านตามขั้นตอน ย้ำไม่ต้องการปะทะ เชื่อจบลงก่อนเกษียณ เดินหน้าสร้าง-ซ่อม ถนนชายแดนภูมะเขือถึงรวงผึ้ง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000064692

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    แม่ทัพภาคที่ 2 เผยทหารพร้อมทำงานปกป้องอธิปไตย นายกฯ จะเป็นใครขอให้ชัดเจนทำเพื่อชาติ เผยเจรจาฝ่ายกัมพูชาปราศจากอาวุธสัปดาห์ละ 3 วันที่สามเหลี่ยมมรกต หลังประชุม RBC ปรับเวลาเปิดด่านตามขั้นตอน ย้ำไม่ต้องการปะทะ เชื่อจบลงก่อนเกษียณ เดินหน้าสร้าง-ซ่อม ถนนชายแดนภูมะเขือถึงรวงผึ้ง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000064692 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 496 มุมมอง 0 รีวิว
  • เริ่มยุค พ่อ สำเร็จ ยุคลูก

    “ความเชื่อมโยงระหว่าง TOR การปักปันเขตแดน – การใช้แผนที่ – และความเสี่ยงเรื่องอธิปไตยของชาติ”

    สรุปพื้นฐานก่อน: TOR2003 กับการใช้แผนที่ 1:200,000

    1. TOR2003 (Terms of Reference ปี 2546)
    เป็นข้อตกลงที่ไทยใช้ในการเจรจาเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น กัมพูชา ลาว เมียนมา
    โดยกำหนดว่า:

    “ให้ใช้แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 เป็นแผนที่หลักสำหรับอ้างอิงการปักปันเขตแดน”

    หลักการนี้ถูกใช้เพื่ออ้างอิงเส้นเขตแดนตามสนธิสัญญาเดิมและแนวปฏิบัติเดิม (เช่น สนธิสัญญาสมัยฝรั่งเศส)



    2. “แผนที่ทางอากาศ”
    มีความละเอียดสูง ใช้ในยุคปัจจุบันเพื่อการสำรวจภาพถ่ายดาวเทียม ระบบ GIS และแผนที่ 3D

    > แต่ยัง ไม่ถือว่าเป็นหลักฐานทางกฎหมายหลัก ในการเจรจา หาก TOR ยังคงยึด 1:200,000






    ---

    การ “แก้ไข TOR เพื่อยึดแผนที่ทางอากาศ” มีความเสี่ยงหรือไม่?

    ใช่ เสี่ยงมาก ถ้าไม่มีกรอบป้องกันทางกฎหมาย

    ปัจจัย ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น

    1. แผนที่ทางอากาศมีความแม่นยำสูง อาจทำให้ “เส้นเขตแดนจริง” เลื่อนไป ตามภาพถ่าย โดยไม่สอดคล้องกับแนวเขตดั้งเดิมที่ปรากฏในแผนที่ 1:200,000

    2. ประเทศเพื่อนบ้านอาจใช้โอกาสนี้ผลักดันเส้นเขตแดนใหม่ เช่น อ้างว่า “หมุดหลักเขตที่เห็นจากแผนที่อากาศ” อยู่ในจุดที่ไทยไม่เคยรับรองมาก่อน

    3. ลดน้ำหนักทางกฎหมายของหลักฐานประวัติศาสตร์ เพราะแผนที่ 1:200,000 มักแนบมากับสนธิสัญญาเก่า เช่น ปี 1904, 1907 (ฝรั่งเศส-สยาม)

    4. เสี่ยงต่อการเสีย “พื้นที่ที่ครอบครองโดยพฤตินัย” หากแผนที่ใหม่แสดงว่าไทยอยู่ “นอกเขต” ที่ควรจะเป็นตามแผนที่อากาศ – อาจถูกนำไปใช้ในศาลระหว่างประเทศ



    เปรียบเทียบสถานการณ์:

    “กรณีเขาพระวิหาร” เป็นตัวอย่างคลาสสิก

    กัมพูชาอ้างแผนที่ 1:200,000 ซึ่งทำโดยฝรั่งเศส (แต่ไทยไม่เคยรับรองอย่างเป็นทางการ)

    ศาลโลกปี 1962 ตัดสินยึดตามแผนที่นั้น แม้ไทยจะอ้าง “เส้นแบ่งสันปันน้ำ” ตามภูมิประเทศจริง

    บทเรียนคือ: ใครควบคุมกรอบ TOR และแหล่งข้อมูลอ้างอิง = ควบคุมผลลัพธ์เขตแดน



    ---

    สรุปทางวิชาการและยุทธศาสตร์

    > “การแก้ไข TOR เพื่อใช้แผนที่ทางอากาศ หากไม่มีข้อตกลงระหว่างประเทศหรือกฎหมายรองรับ อาจเป็นช่องทางทำให้ไทยเสียเปรียบดินแดนโดยไม่ตั้งใจ”



    ควรใช้ “แผนที่ทางอากาศ” เพื่อ ยืนยันความถูกต้องของแผนที่ 1:200,000 เดิม
    ไม่ใช่เพื่อ แทนที่หรือสร้างกรอบใหม่โดยลำพัง

    หากจะแก้ TOR จริง ต้องมี คณะกรรมการร่วมระหว่างประเทศ + ฝ่ายความมั่นคง + นักภูมิศาสตร์ + นักประวัติศาสตร์ + ฝ่ายกฎหมายระหว่างประเทศ เข้าร่วม


    กัมพูชาในการปักปันเขตแดนไทย–กัมพูชา

    ขั้นตอน รายละเอียด เป้าหมาย

    1. ยืนยัน TOR 2003 - ย้ำว่าไทยลงนาม TOR 2003 เมื่อปี 2546
    - ใช้เป็น “กรอบแม่บท” ที่ผูกพันสองฝ่ายโดยสมัครใจ ทำให้ไทยติดอยู่ในกลไก โดยไม่สามารถถอนตัวได้ง่าย

    2. ผลักดันการฟื้น JTSC / JBC - เรียกร้องให้ไทยกลับมาประชุม
    - กำหนดให้ TOR 2003 เป็นกรอบหลักในการเดินหน้า ใช้ช่องทางรัฐต่อรัฐ เพื่อป้องกันไม่ให้ไทยตีความฝ่ายเดียว

    3. ร่าง Technical Instructions (TI) - เสนอให้ใช้เทคโนโลยีใหม่ (LiDAR, GPS, Orthophoto)
    - แต่บังคับให้ “Overlay” กับแผนที่ 1:200,000 ตาม TOR 2003 บังคับให้พิกัดที่ไทยวัด ต้องสอดคล้องกับแผนที่อาณานิคม

    4. เห็นพ้อง 45 จุดร่วมกัน (JTSC #4) - ตกลงตำแหน่งพิกัดหลักเขต 45 จุด
    - เตรียมเสนอ TI ให้ JBC รับรอง ปักหมุดระยะทาง “ได้เปรียบ” ก่อนเข้าสู่กระบวนการปักเสาจริง

    5. รอให้ไทยร่วมลงนาม TI โดยไม่มีข้อสงวน - ผลักดันให้ไทยรับรอง TI เร็วที่สุด
    - หลีกเลี่ยงการเปิดเวทีอภิปรายสาธารณะในไทย ให้เส้นเขตที่จัดทำร่วมกัน “กลายเป็นแนวเขตถาวร” โดยไม่ต้องพิสูจน์ศาลโลกอีก

    6. ใช้ TI และผล JBC เป็นหลักฐานระหว่างประเทศ - หากเกิดข้อพิพาท → ใช้ TI / JBC / TOR 2003 เป็นหลักฐาน
    - อ้างว่าไทยยินยอมแล้วตามกระบวนการรัฐต่อรัฐ สร้างความได้เปรียบเชิงกฎหมายต่อศาลโลก หรือ UN




    แกนสำคัญของกลยุทธ์กัมพูชา:

    ใช้เอกสารที่ไทยลงนามเองเป็นเครื่องมือย้อนกลับมาเจรจา

    กดดันให้ไทย “นิ่ง” หรือ “ยอมรับโดยพฤติกรรม”

    ผูกข้อมูลปัจจุบัน (GPS, LiDAR) กับอดีต (แผนที่ 1:200,000) เพื่อสร้างกรอบใหม่แต่ได้ผลเก่าที่ฝรั่งเศสวางไว้


    หากไทยไม่ตอบโต้ทันเวลา

    เส้นเขตจากแผนที่ 1:200,000 จะ “สวมทับ” พิกัด GPS ของเรา

    ความได้เปรียบในหลักฐาน effectivités จะหมดประโยชน์

    แนวเขตเสี่ยง เช่น “ตาเมือนธม, ช่องสะงำ, ภูมะเขือ, เขาพระวิหาร” จะตกอยู่ในกระบวนการที่เรา ลงนามเอง


    เหลือขั้นตอนเดียวไทยก็จะเสียดินแดนอย่างไม่มีวันได้อะไรคืนมา
    เริ่มยุค พ่อ สำเร็จ ยุคลูก “ความเชื่อมโยงระหว่าง TOR การปักปันเขตแดน – การใช้แผนที่ – และความเสี่ยงเรื่องอธิปไตยของชาติ” 🔍 สรุปพื้นฐานก่อน: TOR2003 กับการใช้แผนที่ 1:200,000 1. TOR2003 (Terms of Reference ปี 2546) เป็นข้อตกลงที่ไทยใช้ในการเจรจาเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น กัมพูชา ลาว เมียนมา โดยกำหนดว่า: “ให้ใช้แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 เป็นแผนที่หลักสำหรับอ้างอิงการปักปันเขตแดน” หลักการนี้ถูกใช้เพื่ออ้างอิงเส้นเขตแดนตามสนธิสัญญาเดิมและแนวปฏิบัติเดิม (เช่น สนธิสัญญาสมัยฝรั่งเศส) 2. “แผนที่ทางอากาศ” มีความละเอียดสูง ใช้ในยุคปัจจุบันเพื่อการสำรวจภาพถ่ายดาวเทียม ระบบ GIS และแผนที่ 3D > แต่ยัง ไม่ถือว่าเป็นหลักฐานทางกฎหมายหลัก ในการเจรจา หาก TOR ยังคงยึด 1:200,000 --- ⚠️ การ “แก้ไข TOR เพื่อยึดแผนที่ทางอากาศ” มีความเสี่ยงหรือไม่? 🔺 ใช่ เสี่ยงมาก ถ้าไม่มีกรอบป้องกันทางกฎหมาย ปัจจัย ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น 1. แผนที่ทางอากาศมีความแม่นยำสูง อาจทำให้ “เส้นเขตแดนจริง” เลื่อนไป ตามภาพถ่าย โดยไม่สอดคล้องกับแนวเขตดั้งเดิมที่ปรากฏในแผนที่ 1:200,000 2. ประเทศเพื่อนบ้านอาจใช้โอกาสนี้ผลักดันเส้นเขตแดนใหม่ เช่น อ้างว่า “หมุดหลักเขตที่เห็นจากแผนที่อากาศ” อยู่ในจุดที่ไทยไม่เคยรับรองมาก่อน 3. ลดน้ำหนักทางกฎหมายของหลักฐานประวัติศาสตร์ เพราะแผนที่ 1:200,000 มักแนบมากับสนธิสัญญาเก่า เช่น ปี 1904, 1907 (ฝรั่งเศส-สยาม) 4. เสี่ยงต่อการเสีย “พื้นที่ที่ครอบครองโดยพฤตินัย” หากแผนที่ใหม่แสดงว่าไทยอยู่ “นอกเขต” ที่ควรจะเป็นตามแผนที่อากาศ – อาจถูกนำไปใช้ในศาลระหว่างประเทศ 🧭 เปรียบเทียบสถานการณ์: “กรณีเขาพระวิหาร” เป็นตัวอย่างคลาสสิก กัมพูชาอ้างแผนที่ 1:200,000 ซึ่งทำโดยฝรั่งเศส (แต่ไทยไม่เคยรับรองอย่างเป็นทางการ) ศาลโลกปี 1962 ตัดสินยึดตามแผนที่นั้น แม้ไทยจะอ้าง “เส้นแบ่งสันปันน้ำ” ตามภูมิประเทศจริง บทเรียนคือ: ใครควบคุมกรอบ TOR และแหล่งข้อมูลอ้างอิง = ควบคุมผลลัพธ์เขตแดน --- ✅ สรุปทางวิชาการและยุทธศาสตร์ > “การแก้ไข TOR เพื่อใช้แผนที่ทางอากาศ หากไม่มีข้อตกลงระหว่างประเทศหรือกฎหมายรองรับ อาจเป็นช่องทางทำให้ไทยเสียเปรียบดินแดนโดยไม่ตั้งใจ” ควรใช้ “แผนที่ทางอากาศ” เพื่อ ยืนยันความถูกต้องของแผนที่ 1:200,000 เดิม ไม่ใช่เพื่อ แทนที่หรือสร้างกรอบใหม่โดยลำพัง หากจะแก้ TOR จริง ต้องมี คณะกรรมการร่วมระหว่างประเทศ + ฝ่ายความมั่นคง + นักภูมิศาสตร์ + นักประวัติศาสตร์ + ฝ่ายกฎหมายระหว่างประเทศ เข้าร่วม กัมพูชาในการปักปันเขตแดนไทย–กัมพูชา ขั้นตอน รายละเอียด เป้าหมาย 1. ยืนยัน TOR 2003 - ย้ำว่าไทยลงนาม TOR 2003 เมื่อปี 2546 - ใช้เป็น “กรอบแม่บท” ที่ผูกพันสองฝ่ายโดยสมัครใจ ✅ ทำให้ไทยติดอยู่ในกลไก โดยไม่สามารถถอนตัวได้ง่าย 2. ผลักดันการฟื้น JTSC / JBC - เรียกร้องให้ไทยกลับมาประชุม - กำหนดให้ TOR 2003 เป็นกรอบหลักในการเดินหน้า ✅ ใช้ช่องทางรัฐต่อรัฐ เพื่อป้องกันไม่ให้ไทยตีความฝ่ายเดียว 3. ร่าง Technical Instructions (TI) - เสนอให้ใช้เทคโนโลยีใหม่ (LiDAR, GPS, Orthophoto) - แต่บังคับให้ “Overlay” กับแผนที่ 1:200,000 ตาม TOR 2003 ✅ บังคับให้พิกัดที่ไทยวัด ต้องสอดคล้องกับแผนที่อาณานิคม 4. เห็นพ้อง 45 จุดร่วมกัน (JTSC #4) - ตกลงตำแหน่งพิกัดหลักเขต 45 จุด - เตรียมเสนอ TI ให้ JBC รับรอง ✅ ปักหมุดระยะทาง “ได้เปรียบ” ก่อนเข้าสู่กระบวนการปักเสาจริง 5. รอให้ไทยร่วมลงนาม TI โดยไม่มีข้อสงวน - ผลักดันให้ไทยรับรอง TI เร็วที่สุด - หลีกเลี่ยงการเปิดเวทีอภิปรายสาธารณะในไทย ✅ ให้เส้นเขตที่จัดทำร่วมกัน “กลายเป็นแนวเขตถาวร” โดยไม่ต้องพิสูจน์ศาลโลกอีก 6. ใช้ TI และผล JBC เป็นหลักฐานระหว่างประเทศ - หากเกิดข้อพิพาท → ใช้ TI / JBC / TOR 2003 เป็นหลักฐาน - อ้างว่าไทยยินยอมแล้วตามกระบวนการรัฐต่อรัฐ ✅ สร้างความได้เปรียบเชิงกฎหมายต่อศาลโลก หรือ UN 🔍 แกนสำคัญของกลยุทธ์กัมพูชา: ใช้เอกสารที่ไทยลงนามเองเป็นเครื่องมือย้อนกลับมาเจรจา กดดันให้ไทย “นิ่ง” หรือ “ยอมรับโดยพฤติกรรม” ผูกข้อมูลปัจจุบัน (GPS, LiDAR) กับอดีต (แผนที่ 1:200,000) เพื่อสร้างกรอบใหม่แต่ได้ผลเก่าที่ฝรั่งเศสวางไว้ 🛡️ หากไทยไม่ตอบโต้ทันเวลา เส้นเขตจากแผนที่ 1:200,000 จะ “สวมทับ” พิกัด GPS ของเรา ความได้เปรียบในหลักฐาน effectivités จะหมดประโยชน์ แนวเขตเสี่ยง เช่น “ตาเมือนธม, ช่องสะงำ, ภูมะเขือ, เขาพระวิหาร” จะตกอยู่ในกระบวนการที่เรา ลงนามเอง เหลือขั้นตอนเดียวไทยก็จะเสียดินแดนอย่างไม่มีวันได้อะไรคืนมา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 261 มุมมอง 0 รีวิว
  • EP.2 ถอดรหัสไทยเสียดินแดนครั้งที่ 16 ปราสาทเขาพระวิหาร

    ประวัติศาสตร์ในสถานศึกษาจะสอนเราว่าไทยเสียดินแดน 14 ครั้ง ทำไมแอดถึงบอกว่าเราเสียดินแดนถึง 16 ครั้ง

    เสียดินแดน 1 - 14 ทุกคนคงหาได้ในอินเตอร์เน็ตอยู่แล้ว แอดจะไม่กล่าวถึง

    แต่ครั้งที่ 15 คือวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ศาลโลกตัดสินให้กัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหาร นั่นหมายถึง ตัวปราสาทพระวิหาร และดินแดนที่อยู่ใต้ตัวปราสาท

    ในวันที่ “เขาพระวิหาร” ตกเป็นของเขมร ทหารไทยเชิญ “เสาธงชาติไทย” จากเขาพระวิหาร โดย “ไม่มีการลดธง” แม้แต่นิดเดียว ]
    .
    พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ (องค์ต้นราชสกุล “ชุมพล”) ทรงค้นพบปราสาทแห่งนี้เมื่อปี ๒๔๔๒ แล้วทรงจารึกพระนาม และปีที่ค้นพบไว้ที่บริเวณชะง่อนผาเป้ยตาดีว่า “๑๑๘ สรรพสิทธิ” และ “ปราสาทพระวิหาร” เป็นปราสาทที่ได้ชื่อประทานจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ข้าหลวงต่างพระองค์สำเร็จราชการมณฑลลาวกาว พระองค์มีรับสั่งว่าปราสาทองค์นี้เหมือนปราสาทที่เทพสร้าง จึงเรียกว่า “ปราสาทเทพพระวิหาร” ซึ่งต่อมาเรียกกันทั่วไปว่า “ปราสาทพระวิหาร” คนกัมพูชาออกเสียงเป็น “เปรี๊ยะวิเฮียร์” เรียกตามคนไทยมาตลอด
    .
    เนื่องจากปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ตรงรอยต่อของไทยกับกัมพูชา ซึ่งผลัดกันยึดครองดินแดนแถบนี้จนหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไทยได้ส่งทหารเข้ายึดครองพื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหาร กษัตริย์สีหนุ จึงยื่นฟ้องต่อศาลโลกเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๐๒
    .
    การไต่สวนพิจารณาคดีเป็นไปอย่างต่อเนื่องยาวนานถึง ๓ ปี มีการนัดพิจารณาสืบพยานทั้งหมด ๗๓ ครั้ง จนในที่สุด ศาลโลกก็ตัดสินให้กัมพูชาเป็นฝ่ายชนะคดีด้วยคะแนน ๙ ต่อ ๓ เสียง ยังผลให้ประเทศไทยต้องยินยอมทำตามข้อเรียกร้องทั้ง ๒ ข้อของกัมพูชา นับเป็นการเสียดินแดนครั้งล่าสุดของประเทศไทยในยุครัตนโกสินทร์ เสียพื้นที่ไปทั้งหมดประมาณ ๑๕๐ ไร่
    .
    ค่ำคืนวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๐๕ หลังศาลโลกตัดสินให้ ปราสาทพระวิหาร ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกัมพูชา ได้ประมาณ ๒๐ วัน จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้กล่าวปราศรัยผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย แสดงความรู้สึกต่อการสูญเสียปราสาทพระวิหาร
    .
    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย คือ พลโทประภาส จารุเสถียร (ยศในขณะนั้น) บอกว่า “...ถ้าเราไปชักธงชาติลง และพับธงเดินกลับมา จะเป็นการเสียเกียรติยศประเทศไทยซึ่งเคยปกครองเขาพระวิหารมาเป็นเวลานาน...”
    .
    จึงได้ให้ทหารและตำรวจตระเวนชายแดน เชิญเสาธงชาติไทยจากเขาพระวิหาร บนยอดผาเป้ยตาดี ยกเสาธงทั้งต้นลงมา โดยไม่มีการลดธงแม้แต่นิดเดียว ซึ่งทำให้กัมพูชาไม่พอใจอย่างมาก เหมือนกับว่าไทยประชดคำตัดสินของศาลโลก ซึ่งทางเราก็ตอบโต้ว่า “...เป็นสิทธิของเรา...”

    ครั้งที่ 16 คือ 11 พ.ย. 2556 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือศาลโลก ได้พิพากษาให้กัมพูชาเป็นผู้มีอำนาจอธิปไตยเหนือพื้นที่รอบๆ ตัวปราสาทพระวิหาร อันตั้งอยู่ตรงชายแดนติดต่อกับประเทศไทย ในคำตัดสินครั้งสำคัญซึ่งมุ่งหมายยุติข้อพิพาทอันยืดเยื้อหลายสิบปี ทั้งนี้ ศาลสูงสุดของสหประชาชาติแห่งนี้ ยังได้สั่งให้รัฐบาลไทยถอนกำลังรักษาความมั่นคงของตนออกมาจากพื้นที่ดังกล่าวอีกด้วย

    คำตัดสินคราวนี้ไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนเกี่ยวกับเส้นพรมแดนของทั้งสองประเทศในบริเวณรอบๆ ปราสาทพระวิหารที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกแล้วแห่งนี้ จึงเป็นการปฏิเสธข้ออ้างของฝ่ายกัมพูชาที่ว่า ตนเองเป็นมีอำนาจอธิปไตยเหนือภูเขาพนมตรวบ หรือภูมะเขือที่อยู่ใกล้ๆ กับปราสาท

    แต่เพราะ นายนพดล ปัทมะ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศได้เคยลงนามคำแถลงการณ์ร่วมกับฝ่ายกัมพูชา โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีนายสมัคร ยินยอมให้เขมรนำปราสาทพระวิหารขึ้นเป็นมรดกพร้อมแนบแผนที่บริเวรบริหารจัดการให้เขมรไปด้วยเกือบพันไร่ นั่นคือที่เราสูญเสียในครั้งที่ 16

    บทความบางตอนจากเพจโบราณนานมา และ มเหนทรบรรพต
    EP.2 ถอดรหัสไทยเสียดินแดนครั้งที่ 16 ปราสาทเขาพระวิหาร ประวัติศาสตร์ในสถานศึกษาจะสอนเราว่าไทยเสียดินแดน 14 ครั้ง ทำไมแอดถึงบอกว่าเราเสียดินแดนถึง 16 ครั้ง เสียดินแดน 1 - 14 ทุกคนคงหาได้ในอินเตอร์เน็ตอยู่แล้ว แอดจะไม่กล่าวถึง แต่ครั้งที่ 15 คือวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ศาลโลกตัดสินให้กัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหาร นั่นหมายถึง ตัวปราสาทพระวิหาร และดินแดนที่อยู่ใต้ตัวปราสาท ในวันที่ “เขาพระวิหาร” ตกเป็นของเขมร ทหารไทยเชิญ “เสาธงชาติไทย” จากเขาพระวิหาร โดย “ไม่มีการลดธง” แม้แต่นิดเดียว ] . พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ (องค์ต้นราชสกุล “ชุมพล”) ทรงค้นพบปราสาทแห่งนี้เมื่อปี ๒๔๔๒ แล้วทรงจารึกพระนาม และปีที่ค้นพบไว้ที่บริเวณชะง่อนผาเป้ยตาดีว่า “๑๑๘ สรรพสิทธิ” และ “ปราสาทพระวิหาร” เป็นปราสาทที่ได้ชื่อประทานจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ข้าหลวงต่างพระองค์สำเร็จราชการมณฑลลาวกาว พระองค์มีรับสั่งว่าปราสาทองค์นี้เหมือนปราสาทที่เทพสร้าง จึงเรียกว่า “ปราสาทเทพพระวิหาร” ซึ่งต่อมาเรียกกันทั่วไปว่า “ปราสาทพระวิหาร” คนกัมพูชาออกเสียงเป็น “เปรี๊ยะวิเฮียร์” เรียกตามคนไทยมาตลอด . เนื่องจากปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ตรงรอยต่อของไทยกับกัมพูชา ซึ่งผลัดกันยึดครองดินแดนแถบนี้จนหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไทยได้ส่งทหารเข้ายึดครองพื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหาร กษัตริย์สีหนุ จึงยื่นฟ้องต่อศาลโลกเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๐๒ . การไต่สวนพิจารณาคดีเป็นไปอย่างต่อเนื่องยาวนานถึง ๓ ปี มีการนัดพิจารณาสืบพยานทั้งหมด ๗๓ ครั้ง จนในที่สุด ศาลโลกก็ตัดสินให้กัมพูชาเป็นฝ่ายชนะคดีด้วยคะแนน ๙ ต่อ ๓ เสียง ยังผลให้ประเทศไทยต้องยินยอมทำตามข้อเรียกร้องทั้ง ๒ ข้อของกัมพูชา นับเป็นการเสียดินแดนครั้งล่าสุดของประเทศไทยในยุครัตนโกสินทร์ เสียพื้นที่ไปทั้งหมดประมาณ ๑๕๐ ไร่ . ค่ำคืนวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๐๕ หลังศาลโลกตัดสินให้ ปราสาทพระวิหาร ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกัมพูชา ได้ประมาณ ๒๐ วัน จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้กล่าวปราศรัยผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย แสดงความรู้สึกต่อการสูญเสียปราสาทพระวิหาร . รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย คือ พลโทประภาส จารุเสถียร (ยศในขณะนั้น) บอกว่า “...ถ้าเราไปชักธงชาติลง และพับธงเดินกลับมา จะเป็นการเสียเกียรติยศประเทศไทยซึ่งเคยปกครองเขาพระวิหารมาเป็นเวลานาน...” . จึงได้ให้ทหารและตำรวจตระเวนชายแดน เชิญเสาธงชาติไทยจากเขาพระวิหาร บนยอดผาเป้ยตาดี ยกเสาธงทั้งต้นลงมา โดยไม่มีการลดธงแม้แต่นิดเดียว ซึ่งทำให้กัมพูชาไม่พอใจอย่างมาก เหมือนกับว่าไทยประชดคำตัดสินของศาลโลก ซึ่งทางเราก็ตอบโต้ว่า “...เป็นสิทธิของเรา...” ครั้งที่ 16 คือ 11 พ.ย. 2556 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือศาลโลก ได้พิพากษาให้กัมพูชาเป็นผู้มีอำนาจอธิปไตยเหนือพื้นที่รอบๆ ตัวปราสาทพระวิหาร อันตั้งอยู่ตรงชายแดนติดต่อกับประเทศไทย ในคำตัดสินครั้งสำคัญซึ่งมุ่งหมายยุติข้อพิพาทอันยืดเยื้อหลายสิบปี ทั้งนี้ ศาลสูงสุดของสหประชาชาติแห่งนี้ ยังได้สั่งให้รัฐบาลไทยถอนกำลังรักษาความมั่นคงของตนออกมาจากพื้นที่ดังกล่าวอีกด้วย คำตัดสินคราวนี้ไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนเกี่ยวกับเส้นพรมแดนของทั้งสองประเทศในบริเวณรอบๆ ปราสาทพระวิหารที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกแล้วแห่งนี้ จึงเป็นการปฏิเสธข้ออ้างของฝ่ายกัมพูชาที่ว่า ตนเองเป็นมีอำนาจอธิปไตยเหนือภูเขาพนมตรวบ หรือภูมะเขือที่อยู่ใกล้ๆ กับปราสาท แต่เพราะ นายนพดล ปัทมะ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศได้เคยลงนามคำแถลงการณ์ร่วมกับฝ่ายกัมพูชา โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีนายสมัคร ยินยอมให้เขมรนำปราสาทพระวิหารขึ้นเป็นมรดกพร้อมแนบแผนที่บริเวรบริหารจัดการให้เขมรไปด้วยเกือบพันไร่ นั่นคือที่เราสูญเสียในครั้งที่ 16 บทความบางตอนจากเพจโบราณนานมา และ มเหนทรบรรพต
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 359 มุมมอง 27 0 รีวิว
  • ไม่ปลดแม่ทัพภาค 2 "ภูมิธรรม" การันตี ย้ำต้องรักษาอธิปไตย
    .
    กำลังใจจากหลายฝ่ายได้ร่วมกันมอบให้กับการทำหน้าที่ของ พล.ท.บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการแก้ไขข้อพิพาทระหว่างไทยกับกัมพูชาบริเวณช่องบก จังหวัดอบลราชธานี โดยพล.ท.บุญสิน ได้เดินทางไป ยังฐานปฏิบัติการภูมะเขือ เพื่อให้กำลังใจ ทหารที่ปฏิบัติหน้าที่บน ฐานปฏิบัติการภูมะเขือ พร้อมกับอัญเชิญพระพุทธรูป“สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ” (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) ขึ้นไปประดิษฐานบนฐานปฏิบัติการภูมะเขือ เพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้กับทางผู้ปฏิบัติหน้าที่รักษาผืนแผ่นดินไทย
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000052124

    #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    ไม่ปลดแม่ทัพภาค 2 "ภูมิธรรม" การันตี ย้ำต้องรักษาอธิปไตย . กำลังใจจากหลายฝ่ายได้ร่วมกันมอบให้กับการทำหน้าที่ของ พล.ท.บุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการแก้ไขข้อพิพาทระหว่างไทยกับกัมพูชาบริเวณช่องบก จังหวัดอบลราชธานี โดยพล.ท.บุญสิน ได้เดินทางไป ยังฐานปฏิบัติการภูมะเขือ เพื่อให้กำลังใจ ทหารที่ปฏิบัติหน้าที่บน ฐานปฏิบัติการภูมะเขือ พร้อมกับอัญเชิญพระพุทธรูป“สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ” (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) ขึ้นไปประดิษฐานบนฐานปฏิบัติการภูมะเขือ เพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้กับทางผู้ปฏิบัติหน้าที่รักษาผืนแผ่นดินไทย . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000052124 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    15
    4 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1159 มุมมอง 0 รีวิว
  • แม่ทัพภาคที่ 2 ตรวจฐานภูมะเขือ อัญเชิญหลวงพ่อใหญ่โชคดีประดิษฐานบนฐานเพื่อสร้างขวัญกำลังใจ พร้อมมอบเหรียญพระเกจิดัง-สิ่งของ-เงินสด ให้โอวาสย้ำปฏิบัติหน้าที่รักษาอธิปไตยไม่ให้ใครรุกราน ต้องเตรียมพร้อมตลอดเวลา ประชาชนส่งกำลังใจให้ตลอด

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000052032

    #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    แม่ทัพภาคที่ 2 ตรวจฐานภูมะเขือ อัญเชิญหลวงพ่อใหญ่โชคดีประดิษฐานบนฐานเพื่อสร้างขวัญกำลังใจ พร้อมมอบเหรียญพระเกจิดัง-สิ่งของ-เงินสด ให้โอวาสย้ำปฏิบัติหน้าที่รักษาอธิปไตยไม่ให้ใครรุกราน ต้องเตรียมพร้อมตลอดเวลา ประชาชนส่งกำลังใจให้ตลอด อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000052032 #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 533 มุมมอง 0 รีวิว
  • มทภ.2 ตรวจฐานภูมะเขือ ลั่นปกป้องอธิปไตย อย่าให้ใครรุกรานชี้ประชาชนส่งแรงใจ
    https://www.thai-tai.tv/news/19136/
    มทภ.2 ตรวจฐานภูมะเขือ ลั่นปกป้องอธิปไตย อย่าให้ใครรุกรานชี้ประชาชนส่งแรงใจ https://www.thai-tai.tv/news/19136/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 58 มุมมอง 0 รีวิว