• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1051
    ชื่อบทธรรม :- อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1051
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์
    --ภิกษุ ท. ! ปัญญินทรีย์ เป็นอย่างไรเล่า?
    ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้มีปัญญา
    ประกอบพร้อมแล้วด้วยปัญญาเครื่องให้ถึงซึ่ง #สัจจะแห่งการเกิดดับอันเป็นอริยะ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=อริย+ปญฺญวา
    เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นไปแห่งทุกข์โดยชอบ.
    อริยสาวกนั้น รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่ง ทุกข์ เป็นอย่างนี้”
    ดังนี้.
    ภิกษุ ท. ! การรู้นี้ เรากล่าวว่า #ปัญญินทรีย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=ปญฺญินฺทฺริยํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/216/869.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/216/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%96%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๖๓/๘๖๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%96%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1051
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1051
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1051 ชื่อบทธรรม :- อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1051 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ --ภิกษุ ท. ! ปัญญินทรีย์ เป็นอย่างไรเล่า? ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้มีปัญญา ประกอบพร้อมแล้วด้วยปัญญาเครื่องให้ถึงซึ่ง #สัจจะแห่งการเกิดดับอันเป็นอริยะ http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=อริย+ปญฺญวา เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นไปแห่งทุกข์โดยชอบ. อริยสาวกนั้น รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่ง ทุกข์ เป็นอย่างนี้” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! การรู้นี้ เรากล่าวว่า #ปัญญินทรีย์. http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=ปญฺญินฺทฺริยํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/216/869. http://etipitaka.com/read/thai/19/216/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%96%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๖๓/๘๖๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/263/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%96%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1051 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1051 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์
    -อริยสัจสี่เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ ภิกษุ ท. ! ปัญญินทรีย์ เป็นอย่างไรเล่า? ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้มีปัญญา ประกอบพร้อมแล้วด้วยปัญญาเครื่องให้ถึงซึ่งสัจจะแห่งการเกิดดับอันเป็นอริยะ เป็นเครื่องชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นไปแห่งทุกข์โดยชอบ. อริยสาวกนั้น รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่ง ทุกข์ เป็นอย่างนี้” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! การรู้นี้ เรากล่าวว่าปัญญินทรีย์.๑-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจสี่เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1050
    ชื่อบทธรรม :- อริยสัจสี่เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1050
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อริยสัจสี่เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์
    --ภิกษุ ท. ! อินทรีย์ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ
    ๑.สัทธินทรีย์
    ๒.วิริยินทรีย์
    ๓.สตินทรีย์
    ๔.สมาธินทรีย์ และ
    ๕.ปัญญินทรีย์.
    --ภิกษุ ท. ! สัทธินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ?
    สัทธินทรีย์ เห็นได้ใน #โสตาปัตติยังคะสี่.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/259/?keywords=จตูสุ+โสตาปตฺติ
    --ภิกษุท ท. ! วิริยินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ?
    วิริยินทรีย์ เห็นได้ใน #สัมมัปปธานสี่.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/259/?keywords=จตูสุ+สมฺมปฺปธา
    --ภิกษุ ท. ! สตินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ?
    สตินทรีย์ เห็นได้ใน #สติปัฏฐานสี่.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/260/?keywords=จตูสุ+สติปฏฺฐา
    --ภิกษุ ท. ! สมาธินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ?
    สมาธินทรีย์ เห็นได้ใน #ฌานสี่.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/260/?keywords=จตูสุ+ฌาน
    --ภิกษุ ท. ! ปัญญินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ?
    ปัญญินทรีย์ เห็นได้ใน #อริยสัจสี่.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/260/?keywords=จตูสุ+อริยสจฺ
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อินทรีย์ ๕ อย่าง.
    . . . .
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/214/852-857.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/214/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๕๙/๘๕๒-๘๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/259/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1050
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1050
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจสี่เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1050 ชื่อบทธรรม :- อริยสัจสี่เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1050 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยสัจสี่เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์ --ภิกษุ ท. ! อินทรีย์ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ ๑.สัทธินทรีย์ ๒.วิริยินทรีย์ ๓.สตินทรีย์ ๔.สมาธินทรีย์ และ ๕.ปัญญินทรีย์. --ภิกษุ ท. ! สัทธินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? สัทธินทรีย์ เห็นได้ใน #โสตาปัตติยังคะสี่. http://etipitaka.com/read/pali/19/259/?keywords=จตูสุ+โสตาปตฺติ --ภิกษุท ท. ! วิริยินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? วิริยินทรีย์ เห็นได้ใน #สัมมัปปธานสี่. http://etipitaka.com/read/pali/19/259/?keywords=จตูสุ+สมฺมปฺปธา --ภิกษุ ท. ! สตินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? สตินทรีย์ เห็นได้ใน #สติปัฏฐานสี่. http://etipitaka.com/read/pali/19/260/?keywords=จตูสุ+สติปฏฺฐา --ภิกษุ ท. ! สมาธินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? สมาธินทรีย์ เห็นได้ใน #ฌานสี่. http://etipitaka.com/read/pali/19/260/?keywords=จตูสุ+ฌาน --ภิกษุ ท. ! ปัญญินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? ปัญญินทรีย์ เห็นได้ใน #อริยสัจสี่. http://etipitaka.com/read/pali/19/260/?keywords=จตูสุ+อริยสจฺ --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อินทรีย์ ๕ อย่าง. . . . . #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/214/852-857. http://etipitaka.com/read/thai/19/214/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๕๙/๘๕๒-๘๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/19/259/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1050 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1050 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยสัจสี่เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์
    -(ผู้ศึกษาจะสังเกตเห็นได้เองว่า หลักการศึกษาตามแบบของอริยสัจสี่ซึ่งแยกออกไป ได้ว่า คืออะไร? จากอะไร ? เพื่ออะไร ? โดยวิธีใด ? ดังนี้นั้น ใช้เป็นหลักศึกษาธรรมะ อะไรก็ได้ ดังในตัวอย่างเหล่านี้). อริยสัจสี่เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์ ภิกษุ ท. ! อินทรีย์ ๕ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ และปัญญินทรีย์. ภิกษุ ท. ! สัทธินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? สัทธินทรีย์ เห็นได้ใน โสตาปัตติยังคะสี่. ภิกษุท ท. ! วิริยินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? วิริยินทรีย์ เห็นได้ใน สัมมัปปธานสี่. ภิกษุ ท. ! สตินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? สตินทรีย์ เห็นได้ในสติปัฏฐานสี่. ภิกษุ ท. ! สมาธินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? สมาธินทรีย์ เห็นได้ใน ฌานสี่. ภิกษุ ท. ! ปัญญินทรีย์ จะเห็นได้ในที่ไหนเล่า ? ปัญญินทรีย์ เห็นได้ใน อริยสัจสี่. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อินทรีย์ ๕ อย่าง. . . . .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 127 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ ๔ แบบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1003
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ ๔ แบบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1003
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ ๔ แบบ
    --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๔ ประการเหล่านี้ มีอยู่; คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=จตสฺโส
    ปฏิบัติลำบาก รู้ได้ช้า ๑,
    ปฏิบัติลำบาก รู้ได้เร็ว ๑,
    ปฏิบัติสบาย รู้ได้ช้า ๑,
    ปฏิบัติสบาย รู้ได้เร็ว ๑.

    ก. แบบปฏิบัติลำบาก ประสพผลช้า
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ
    เป็นผู้มีปกติเห็นความไม่งามในกาย
    มีสัญญาว่าปฏิกูลในอาหาร
    มีสัญญาในโลกทั้งปวงโดยความเป็นของไม่น่ายินดี
    เป็นผู้มีปกติตามเห็นความไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง
    มรณสัญญาก็เป็นสิ่งที่เขาตั้งไว้ดีแล้วในภายใน.
    +--ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ
    สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่
    อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่าอ่อน คือ
    สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์.
    เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้ยังอ่อน
    +--ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ*--๑ เพื่อความสิ้น อาสวะได้ช้า
    http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=อนนฺตริยํ+หิรีพลํ+โอตฺตปฺปพลํ+วิริยพลํ+ปญฺญาพลํ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ปฏิบัติลำบากรู้ได้ช้า.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=ทุกฺขา+ปฏิปทา

    ข. แบบปฏิบัติลำบาก ประสพผลเร็ว
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้มีปกติเห็นความไม่งามในกาย
    มีสัญญาว่าปฏิกูลในอาหาร มีสัญญาในโลกทั้งปวงโดยความเป็นของไม่น่ายินดี
    เป็นผู้มีปกติตามเห็นความไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง
    มรณสัญญาก็เป็นสิ่งที่เขาตั้งไว้ดีแล้วในภายใน.
    +--ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ
    สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่
    อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่ามีประมาณยิ่ง (แก่กล้า) คือ
    สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์.
    เพราะเหตุที่ อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้มีประมาณยิ่ง
    +--ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ*--๑ เพื่อความสิ้นอาสวะ ได้เร็ว
    : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ปฏิบัติลำบากรู้ได้เร็ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=ทุกฺขา+ปฏิปทา

    --ค. แบบปฏิบัติสบาย ประสพผลช้า
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลาย
    จึงบรรลุปฐมฌาน . . . .
    ทุติยฌาน . . . .
    ตติยฌาน . . . .
    จตุตถฌาน...
    แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ
    สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่
    อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่าอ่อน คือ
    สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์.
    เพราะเหตุที่ อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้ยังอ่อน
    +--ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ*--๑ เพื่อความสิ้นอาสวะ ได้ช้า
    http://etipitaka.com/read/pali/21/203/?keywords=อนนฺตริยํ+หิรีพลํ+โอตฺตปฺปพลํ+วิริยพลํ+ปญฺญาพลํ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ปฏิบัติสบายรู้ได้ช้า.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/203/?keywords=สุขา+ปฏิปทา

    ง. แบบปฏิบัติสบาย ประสพผลเร็ว
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลาย
    จึงบรรลุปฐมฌาน . . . .
    ทุติยฌาน . . . .
    ตติยฌาน . . . .
    จตุตถฌาน . . . .
    แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ
    สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่
    อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่ามีประมาณยิ่ง คือ
    สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์.
    เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้มีประมาณยิ่ง
    +--ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ*--๑ เพื่อความสิ้นอาสวะ ได้เร็ว
    http://etipitaka.com/read/pali/21/204/?keywords=อนนฺตริยํ+หิรีพลํ+โอตฺตปฺปพลํ+วิริยพลํ+ปญฺญาพลํ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ปฏิบัติสบายรู้ได้เร็ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/204/?keywords=สุขา+ปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ปฏิปทา ๔ ประการ.-

    *--๑. อนันตริยกิจ คือสมถะและวิปัสสนา
    รวมกำลังกันทำหน้าที่ของอริยมรรค
    ตัดกิเลสบรรลุมรรคผลขึ้นไปตามลำดับจนถึงขั้นสูงสุด ไม่มีระยะว่างขั้น.

    ( บาลีนี้ แบ่งการปฏิบัติออกเป็น ๒ จำพวก
    1: พวกหนึ่ง ปฏิบัติลำบาก ยุ่งยาก อย่างที่เรียกว่าทุลักทุเล น่าหวาดเสียวปฏิกูล
    ไม่สะดวกสบาย ที่ระบุในสูตรนี้ว่าการตามเห็นความไม่งามในกาย เป็นต้น;
    2: ส่วนอีกจำพวกหนึ่ง นั้น เป็นการปฏิบัติที่เยือกเย็น เป็นสุขสบายไปแต่ต้นมือ
    ที่ระบุในสูตรนี้เรียกว่าเป็นการได้ฌานทั้งสี่; ต่างกันอยู่อย่างตรงกันข้าม.
    =: คนบางพวกเหมาะสำหรับระบบปฏิบัติลำบาก บางพวกเหมาะสำหรับระบบปฏิบัติสบาย
    แต่จะ ประสพผลเร็วหรือช้านั้น ขึ้นอยู่กับอินทรีย์ทั้งห้าของเขา
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/148/163.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/148/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๐๒/๑๖๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1003
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1003
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ ๔ แบบ สัทธรรมลำดับที่ : 1003 ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ ๔ แบบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1003 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ ๔ แบบ --ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๔ ประการเหล่านี้ มีอยู่; คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=จตสฺโส ปฏิบัติลำบาก รู้ได้ช้า ๑, ปฏิบัติลำบาก รู้ได้เร็ว ๑, ปฏิบัติสบาย รู้ได้ช้า ๑, ปฏิบัติสบาย รู้ได้เร็ว ๑. ก. แบบปฏิบัติลำบาก ประสพผลช้า --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้มีปกติเห็นความไม่งามในกาย มีสัญญาว่าปฏิกูลในอาหาร มีสัญญาในโลกทั้งปวงโดยความเป็นของไม่น่ายินดี เป็นผู้มีปกติตามเห็นความไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง มรณสัญญาก็เป็นสิ่งที่เขาตั้งไว้ดีแล้วในภายใน. +--ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่าอ่อน คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้ยังอ่อน +--ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ*--๑ เพื่อความสิ้น อาสวะได้ช้า http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=อนนฺตริยํ+หิรีพลํ+โอตฺตปฺปพลํ+วิริยพลํ+ปญฺญาพลํ : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ปฏิบัติลำบากรู้ได้ช้า. http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=ทุกฺขา+ปฏิปทา ข. แบบปฏิบัติลำบาก ประสพผลเร็ว --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้มีปกติเห็นความไม่งามในกาย มีสัญญาว่าปฏิกูลในอาหาร มีสัญญาในโลกทั้งปวงโดยความเป็นของไม่น่ายินดี เป็นผู้มีปกติตามเห็นความไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง มรณสัญญาก็เป็นสิ่งที่เขาตั้งไว้ดีแล้วในภายใน. +--ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่ามีประมาณยิ่ง (แก่กล้า) คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. เพราะเหตุที่ อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้มีประมาณยิ่ง +--ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ*--๑ เพื่อความสิ้นอาสวะ ได้เร็ว : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ปฏิบัติลำบากรู้ได้เร็ว. http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=ทุกฺขา+ปฏิปทา --ค. แบบปฏิบัติสบาย ประสพผลช้า --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุปฐมฌาน . . . . ทุติยฌาน . . . . ตติยฌาน . . . . จตุตถฌาน... แล้วแลอยู่. +--ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่าอ่อน คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. เพราะเหตุที่ อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้ยังอ่อน +--ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ*--๑ เพื่อความสิ้นอาสวะ ได้ช้า http://etipitaka.com/read/pali/21/203/?keywords=อนนฺตริยํ+หิรีพลํ+โอตฺตปฺปพลํ+วิริยพลํ+ปญฺญาพลํ : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ปฏิบัติสบายรู้ได้ช้า. http://etipitaka.com/read/pali/21/203/?keywords=สุขา+ปฏิปทา ง. แบบปฏิบัติสบาย ประสพผลเร็ว --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุปฐมฌาน . . . . ทุติยฌาน . . . . ตติยฌาน . . . . จตุตถฌาน . . . . แล้วแลอยู่. +--ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่ามีประมาณยิ่ง คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้มีประมาณยิ่ง +--ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ*--๑ เพื่อความสิ้นอาสวะ ได้เร็ว http://etipitaka.com/read/pali/21/204/?keywords=อนนฺตริยํ+หิรีพลํ+โอตฺตปฺปพลํ+วิริยพลํ+ปญฺญาพลํ : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ปฏิบัติสบายรู้ได้เร็ว. http://etipitaka.com/read/pali/21/204/?keywords=สุขา+ปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ปฏิปทา ๔ ประการ.- *--๑. อนันตริยกิจ คือสมถะและวิปัสสนา รวมกำลังกันทำหน้าที่ของอริยมรรค ตัดกิเลสบรรลุมรรคผลขึ้นไปตามลำดับจนถึงขั้นสูงสุด ไม่มีระยะว่างขั้น. ( บาลีนี้ แบ่งการปฏิบัติออกเป็น ๒ จำพวก 1: พวกหนึ่ง ปฏิบัติลำบาก ยุ่งยาก อย่างที่เรียกว่าทุลักทุเล น่าหวาดเสียวปฏิกูล ไม่สะดวกสบาย ที่ระบุในสูตรนี้ว่าการตามเห็นความไม่งามในกาย เป็นต้น; 2: ส่วนอีกจำพวกหนึ่ง นั้น เป็นการปฏิบัติที่เยือกเย็น เป็นสุขสบายไปแต่ต้นมือ ที่ระบุในสูตรนี้เรียกว่าเป็นการได้ฌานทั้งสี่; ต่างกันอยู่อย่างตรงกันข้าม. =: คนบางพวกเหมาะสำหรับระบบปฏิบัติลำบาก บางพวกเหมาะสำหรับระบบปฏิบัติสบาย แต่จะ ประสพผลเร็วหรือช้านั้น ขึ้นอยู่กับอินทรีย์ทั้งห้าของเขา ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/148/163. http://etipitaka.com/read/thai/21/148/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๐๒/๑๖๓. http://etipitaka.com/read/pali/21/202/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1003 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1003 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ ๔ แบบ
    -ปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ ๔ แบบ ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๔ ประการเหล่านี้ มีอยู่; คือ ปฏิบัติลำบาก รู้ได้ช้า ๑, ปฏิบัติลำบาก รู้ได้เร็ว ๑, ปฏิบัติสบาย รู้ได้ช้า ๑, ปฏิบัติสบาย รู้ได้เร็ว ๑. ก. แบบปฏิบัติลำบาก ประสพผลช้า ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้มีปกติเห็นความไม่งามในกาย มีสัญญาว่าปฏิกูลในอาหาร มีสัญญาในโลกทั้งปวงโดยความเป็นของไม่น่ายินดี เป็นผู้มีปกติตามเห็นความไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง มรณสัญญาก็เป็นสิ่งที่เขาตั้งไว้ดีแล้วใน ภายใน. ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่าอ่อน คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้ยังอ่อน ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ๑ เพื่อความสิ้น อาสวะได้ช้า : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ปฏิบัติลำบาก รู้ได้ช้า. ข. แบบปฏิบัติลำบาก ประสพผลเร็ว ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เป็นผู้มีปกติเห็นความไม่งามในกาย มีสัญญาว่าปฏิกูลในอาหาร มีสัญญาในโลกทั้งปวงโดยความเป็นของไม่น่ายินดี เป็นผู้มีปกติตามเห็นความไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง มรณสัญญาก็เป็นสิ่งที่เขาตั้งไว้ดีแล้วในภายใน. ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่ามีประมาณยิ่ง (แก่กล้า) คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. เพราะเหตุที่ อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้มีประมาณยิ่ง ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ เพื่อความสิ้นอาสวะ ได้เร็ว : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ปฏิบัติลำบาก รู้ได้เร็ว. ค. แบบปฏิบัติสบาย ประสพผลช้า ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุปฐมฌาน . . . . ทุติยฌาน . . . . ตติยฌาน . . . . จตุตถฌาน ๑. อนันตริยกิจ คือสมถะและวิปัสสนา รวมกำลังกันทำหน้าที่ของอริยมรรค ตัดกิเลสบรรลุมรรคผลขึ้นไปตามลำดับจนถึงขั้นสูงสุด ไม่มีระยะว่างขั้น. ( มีรายละเอียดดังที่แสดงแล้วในที่ทั่วไป ) แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือ สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่าอ่อน คือสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. เพราะเหตุที่ อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้ยังอ่อน ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ เพื่อความสิ้นอาสวะ ได้ช้า : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ปฏิบัติสบาย รู้ได้ช้า. ง. แบบปฏิบัติสบาย ประสพผลเร็ว ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุปฐมฌาน . . . . ทุติยฌาน . . . . ตติยฌาน . . . . จตุตถฌาน . . . . แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ ๕ ประการเหล่านี้อยู่ คือสัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ; แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่ามีประมาณยิ่ง คือสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้งห้าเหล่านี้มีประมาณยิ่ง ภิกษุนั้นจึง บรรลุอนันตริยกิจ เพื่อความสิ้นอาสวะ ได้เร็ว : ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ปฏิบัติสบาย รู้ได้เร็ว. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล ปฏิปทา ๔ ประการ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 356 มุมมอง 0 รีวิว