• อดีตผู้ว่าฯสตง.แฉ จุดเริ่มต้นของหายนะ : คนเคาะข่าว 23-04-68
    ร่วมสนทนา
    พิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาส อดีตผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.)
    ดำเนินรายการโดย กรองทอง เศรษฐสุทธิ์

    #คนเคาะข่าว #พิศิษฐ์ลีลาวชิโรภาส #สตง #ตรวจเงินแผ่นดิน #จุดเริ่มต้นของหายนะ #เปิดโปงงบประมาณ #ความโปร่งใส #ข่าวการเมืองไทย #วิเคราะห์ภาครัฐ #งบประมาณแผ่นดิน #กรองทองเศรษฐสุทธิ์ #thaitimes #การตรวจสอบภาครัฐ #ความล้มเหลวภาครัฐ #ธรรมาภิบาล
    อดีตผู้ว่าฯสตง.แฉ จุดเริ่มต้นของหายนะ : คนเคาะข่าว 23-04-68 ร่วมสนทนา พิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาส อดีตผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ดำเนินรายการโดย กรองทอง เศรษฐสุทธิ์ #คนเคาะข่าว #พิศิษฐ์ลีลาวชิโรภาส #สตง #ตรวจเงินแผ่นดิน #จุดเริ่มต้นของหายนะ #เปิดโปงงบประมาณ #ความโปร่งใส #ข่าวการเมืองไทย #วิเคราะห์ภาครัฐ #งบประมาณแผ่นดิน #กรองทองเศรษฐสุทธิ์ #thaitimes #การตรวจสอบภาครัฐ #ความล้มเหลวภาครัฐ #ธรรมาภิบาล
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 277 มุมมอง 3 0 รีวิว
  • 48 ปี โศกนาฏกรรมกลางรันเวย์ “โบอิง 747” ชนกันที่เตเนริเฟ 🇪🇸✈️ สำเนียงสเปนพ่นพิษ นักบินสื่อสารผิดพลาด 583 ศพ บทเรียนราคาแพงจากท่าอากาศยาน ท่ามกลางหมอกหนา ความเครียด และสำเนียงที่ฟังยาก

    🌫️ โศกนาฏกรรมแห่งเตเนริเฟ 🔥 ย้อนไปเมื่อ 48 ปี ที่ผ่านมา ช่วงเย็นวันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 เป็นวันที่โลกต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การบิน เมื่อเครื่องบินโดยสารขนาดยักษ์ โบอิง 747 ของสายการบิน KLM และ Pan Am ชนกันกลางรันเวย์ที่สนามบินโลสโรเดโอส ปัจจุบันคือท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต เกาะเตเนริเฟ ประเทศสเปน

    ผลที่ตามมาคือ ผู้เสียชีวิต 583 ราย และบาดเจ็บ 61 คน เป็นอุบัติเหตุทางอากาศ ที่คร่าชีวิตผู้คนมากที่สุดในโลก เหตุการณ์ครั้งนั้น ไม่ได้เกิดจากเทคโนโลยีขัดข้อง หากแต่เป็นผลพวงจากปัจจัยมนุษย์ (Human Error) และการสื่อสารที่ผิดพลาด ท่ามกลางความกดดัน

    ✈️💥 บริบทก่อนเกิดเหตุ ในช่วงบ่ายของวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 "สนามบินกรันกานาเรีย" ซึ่งเป็นสนามบินหลักของหมู่เกาะคานารี ถูกขู่วางระเบิด ทำให้ต้องปิดการใช้งานชั่วคราว ✋🔴

    เครื่องบินหลายลำ รวมถึงเที่ยวบิน KLM 4805 และ Pan Am 1736 จำเป็นต้องลงจอดที่สนามบินสำรองอย่าง “โลสโรเดโอส” ซึ่งเป็นสนามบินขนาดเล็ก ที่ไม่มีความพร้อมรองรับ เครื่องบินลำใหญ่จำนวนมาก

    🕰️ จุดเริ่มต้นของหายนะ 🧨
    - KLM 4805 เดินทางจากอัมสเตอร์ดัม พร้อมผู้โดยสาร 234 คน และลูกเรือ 14 คน
    - Pan Am 1736:เดินทางจากลอสแอนเจลิส แวะนิวยอร์ก มุ่งหน้ากรุงมาดริด พร้อมผู้โดยสาร 380 คน และลูกเรือ 16 คน

    หลังจากเครื่องบินหลายลำลงจอด และจอดเรียงรายกันในพื้นที่จำกัด เจ้าหน้าที่ต้องบริหารพื้นที่ อย่างเร่งด่วน ก่อให้เกิดความเครียด ทั้งในหอบังคับการบินและลูกเรือ

    🚧 จุดเปลี่ยนสำคัญคือ กัปตันของ KLM ตัดสินใจเติมน้ำมันให้เต็มถัง เพื่อเลี่ยงเติมที่สนามบินปลายทางเ พราะราคาถูกกว่า ทำให้ต้องจอดนานกว่าเดิม และขัดขวางการเคลื่อนตัวของ Pan Am

    ☁️ หมอกและความสับสน ภัยเงียบแห่งรันเวย์ 🗣️ เมื่อสนามบินกรันกานาเรียเปิดใช้งานอีกครั้ง การจราจรทางอากาศในโลสโรเดโอส วุ่นวายทันที

    📻 หอบังคับการบิน ต้องจัดการเครื่องบินหลายลำ แต่ขาดเรดาร์ภาคพื้นดิน ทำให้พวกเขามองไม่เห็นตำแหน่งเครื่องบิน ต้องอาศัยการสื่อสารวิทยุแทน

    ✋ จุดวิกฤตเกิดขึ้นเมื่อ KLM เข้าใจผิดว่า สามารถนำเครื่องขึ้นได้ทันที ขณะที่ Pan Am ยังอยู่บนรันเวย์เดียวกัน!

    สำเนียงสเปน กับความคลุมเครือของคำว่า “Takeoff” 😓📡

    📌 ขณะที่ KLM กำลังเตรียมนำเครื่องขึ้น นักบินผู้ช่วยพูดว่า

    “We are now at takeoff.”

    ซึ่งไม่ใช่ประโยคขออนุญาตขึ้นบินโดยตรง แต่เป็นการสื่อสารที่ทำให้เข้าใจคลุมเครือ หอบังคับการบินตอบกลับว่า

    “OK, stand by for takeoff, I will call you.”

    แต่...❗เสียงตอบกลับนั้น ถูกกลืนหายไปกับคลื่นรบกวน ทำให้นักบิน KLM ไม่ได้ยินคำสั่งเต็ม ๆ

    🔥 การชนที่ไม่ควรเกิดขึ้น 💔 KLM เร่งนำเครื่องขึ้น โดยเข้าใจว่าได้รับอนุญาต ขณะที่ Pan Am กำลังเคลื่อนผ่านทางแยก วิ่งบนรันเวย์เดียวกัน หมอกหนาทำให้มองไม่เห็น

    ผลลัพธ์คือ ❌

    ✈️ เครื่องบิน KLM ชนเข้ากลางลำ Pan Am อย่างรุนแรง

    💥 ไฟลุกท่วมเครื่องบินทั้งสองลำในทันที

    - เสียชีวิตจาก KLM 248 ศพ (รอด = 0)
    - เสียชีวิตจาก Pan Am 335 ศพ (รอด = 61 คน)

    😢 บทวิเคราะห์: สาเหตุแห่งหายนะ 🔍
    ปัจจัยมนุษย์ (Human Error)
    - ความเครียดของกัปตัน KLM ที่ต้องรับแรงกดดัน จากบริษัทห้ามดีเลย์ 🕒
    - ขาดการสื่อสารชัดเจน ระหว่างนักบินกับหอบังคับการบิน 📻
    - สำเนียงสเปน ทำให้สื่อสารภาษาอังกฤษไม่ชัดเจน 🗣️

    ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
    - สนามบินโลสโรเดโอส ไม่มีเรดาร์พื้นดิน ❌
    - หมอกลงจัด มองไม่เห็นปลายรันเวย์ 🌫️
    - พื้นที่สนามบิน ไม่พร้อมรองรับเครื่องบินขนาดใหญ่หลายลำ 🚫

    📚🛫 หลังเหตุการณ์นี้ อุตสาหกรรมการบินทั่วโลก ได้ปรับปรุงมาตรการอย่างจริงจัง
    ✅ การสื่อสารต้องใช้ภาษามาตรฐาน และชัดเจนมากขึ้น (Standard Phraseology)
    ✅ ห้ามนักบินตีความเอง โดยไม่มีการอนุญาตชัดเจน
    ✅ มีการพัฒนา Cockpit Resource Management (CRM) เพื่อเน้นการทำงานเป็นทีมระหว่างลูกเรือ
    ✅ ระบบเรดาร์พื้นดิน (Ground Radar) ถูกติดตั้งในสนามบินใหญ่ ๆ ทั่วโลก

    😨 เหตุการณ์ที่เกือบซ้ำรอยในปี 2542 🛬
    เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2542 ที่สนามบินโอแฮร์ สหรัฐอเมริกา ✈️
    - Korean Air เที่ยวบิน 36 Boeing 747 พร้อมผู้โดยสาร 340 คน
    - China Airlines เที่ยวบิน 9018 Boeing 747 เช่นกัน

    เกือบชนกันกลางรันเวย์ เนื่องจากความเข้าใจผิด ในการจราจรทางอากาศ แต่โชคดีที่หลีกเลี่ยงได้ทันโดยเครื่องบินอยู่ห่างกันเพียง 75 ฟุตเท่านั้น 😱

    🕯️ 583 ชีวิต กับบทเรียนที่ไม่มีวันลืม ✈️ “โศกนาฏกรรมเตเนริเฟ” เป็นบทเรียนราคาแพงที่สุดครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ ที่สอนเราให้ระมัดระวังในการสื่อสาร การจัดการความเสี่ยง และให้ความสำคัญ กับมาตรฐานความปลอดภัยการบิน ✈️🧠

    แม้เวลาจะผ่านไป 48 ปี... แต่ความสูญเสีย และบทเรียนจากเหตุการณ์นี้ ยังคงส่องแสงเป็นคำเตือน ถึงทุกคนในวงการการบินเสมอ

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 271250 มี.ค. 2568

    📲 #TenerifeDisaster #Boeing747 #PlaneCrashHistory #AirlineSafety #KLM4805 #PanAm1736 #AirCrashInvestigation #อุบัติเหตุทางการบิน #โบอิง747ชนกัน #บทเรียนการบิน
    48 ปี โศกนาฏกรรมกลางรันเวย์ “โบอิง 747” ชนกันที่เตเนริเฟ 🇪🇸✈️ สำเนียงสเปนพ่นพิษ นักบินสื่อสารผิดพลาด 583 ศพ บทเรียนราคาแพงจากท่าอากาศยาน ท่ามกลางหมอกหนา ความเครียด และสำเนียงที่ฟังยาก 🌫️ โศกนาฏกรรมแห่งเตเนริเฟ 🔥 ย้อนไปเมื่อ 48 ปี ที่ผ่านมา ช่วงเย็นวันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 เป็นวันที่โลกต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การบิน เมื่อเครื่องบินโดยสารขนาดยักษ์ โบอิง 747 ของสายการบิน KLM และ Pan Am ชนกันกลางรันเวย์ที่สนามบินโลสโรเดโอส ปัจจุบันคือท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต เกาะเตเนริเฟ ประเทศสเปน ผลที่ตามมาคือ ผู้เสียชีวิต 583 ราย และบาดเจ็บ 61 คน เป็นอุบัติเหตุทางอากาศ ที่คร่าชีวิตผู้คนมากที่สุดในโลก เหตุการณ์ครั้งนั้น ไม่ได้เกิดจากเทคโนโลยีขัดข้อง หากแต่เป็นผลพวงจากปัจจัยมนุษย์ (Human Error) และการสื่อสารที่ผิดพลาด ท่ามกลางความกดดัน ✈️💥 บริบทก่อนเกิดเหตุ ในช่วงบ่ายของวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2520 "สนามบินกรันกานาเรีย" ซึ่งเป็นสนามบินหลักของหมู่เกาะคานารี ถูกขู่วางระเบิด ทำให้ต้องปิดการใช้งานชั่วคราว ✋🔴 เครื่องบินหลายลำ รวมถึงเที่ยวบิน KLM 4805 และ Pan Am 1736 จำเป็นต้องลงจอดที่สนามบินสำรองอย่าง “โลสโรเดโอส” ซึ่งเป็นสนามบินขนาดเล็ก ที่ไม่มีความพร้อมรองรับ เครื่องบินลำใหญ่จำนวนมาก 🕰️ จุดเริ่มต้นของหายนะ 🧨 - KLM 4805 เดินทางจากอัมสเตอร์ดัม พร้อมผู้โดยสาร 234 คน และลูกเรือ 14 คน - Pan Am 1736:เดินทางจากลอสแอนเจลิส แวะนิวยอร์ก มุ่งหน้ากรุงมาดริด พร้อมผู้โดยสาร 380 คน และลูกเรือ 16 คน หลังจากเครื่องบินหลายลำลงจอด และจอดเรียงรายกันในพื้นที่จำกัด เจ้าหน้าที่ต้องบริหารพื้นที่ อย่างเร่งด่วน ก่อให้เกิดความเครียด ทั้งในหอบังคับการบินและลูกเรือ 🚧 จุดเปลี่ยนสำคัญคือ กัปตันของ KLM ตัดสินใจเติมน้ำมันให้เต็มถัง เพื่อเลี่ยงเติมที่สนามบินปลายทางเ พราะราคาถูกกว่า ทำให้ต้องจอดนานกว่าเดิม และขัดขวางการเคลื่อนตัวของ Pan Am ☁️ หมอกและความสับสน ภัยเงียบแห่งรันเวย์ 🗣️ เมื่อสนามบินกรันกานาเรียเปิดใช้งานอีกครั้ง การจราจรทางอากาศในโลสโรเดโอส วุ่นวายทันที 📻 หอบังคับการบิน ต้องจัดการเครื่องบินหลายลำ แต่ขาดเรดาร์ภาคพื้นดิน ทำให้พวกเขามองไม่เห็นตำแหน่งเครื่องบิน ต้องอาศัยการสื่อสารวิทยุแทน ✋ จุดวิกฤตเกิดขึ้นเมื่อ KLM เข้าใจผิดว่า สามารถนำเครื่องขึ้นได้ทันที ขณะที่ Pan Am ยังอยู่บนรันเวย์เดียวกัน! สำเนียงสเปน กับความคลุมเครือของคำว่า “Takeoff” 😓📡 📌 ขณะที่ KLM กำลังเตรียมนำเครื่องขึ้น นักบินผู้ช่วยพูดว่า “We are now at takeoff.” ซึ่งไม่ใช่ประโยคขออนุญาตขึ้นบินโดยตรง แต่เป็นการสื่อสารที่ทำให้เข้าใจคลุมเครือ หอบังคับการบินตอบกลับว่า “OK, stand by for takeoff, I will call you.” แต่...❗เสียงตอบกลับนั้น ถูกกลืนหายไปกับคลื่นรบกวน ทำให้นักบิน KLM ไม่ได้ยินคำสั่งเต็ม ๆ 🔥 การชนที่ไม่ควรเกิดขึ้น 💔 KLM เร่งนำเครื่องขึ้น โดยเข้าใจว่าได้รับอนุญาต ขณะที่ Pan Am กำลังเคลื่อนผ่านทางแยก วิ่งบนรันเวย์เดียวกัน หมอกหนาทำให้มองไม่เห็น ผลลัพธ์คือ ❌ ✈️ เครื่องบิน KLM ชนเข้ากลางลำ Pan Am อย่างรุนแรง 💥 ไฟลุกท่วมเครื่องบินทั้งสองลำในทันที - เสียชีวิตจาก KLM 248 ศพ (รอด = 0) - เสียชีวิตจาก Pan Am 335 ศพ (รอด = 61 คน) 😢 บทวิเคราะห์: สาเหตุแห่งหายนะ 🔍 ปัจจัยมนุษย์ (Human Error) - ความเครียดของกัปตัน KLM ที่ต้องรับแรงกดดัน จากบริษัทห้ามดีเลย์ 🕒 - ขาดการสื่อสารชัดเจน ระหว่างนักบินกับหอบังคับการบิน 📻 - สำเนียงสเปน ทำให้สื่อสารภาษาอังกฤษไม่ชัดเจน 🗣️ ปัจจัยสิ่งแวดล้อม - สนามบินโลสโรเดโอส ไม่มีเรดาร์พื้นดิน ❌ - หมอกลงจัด มองไม่เห็นปลายรันเวย์ 🌫️ - พื้นที่สนามบิน ไม่พร้อมรองรับเครื่องบินขนาดใหญ่หลายลำ 🚫 📚🛫 หลังเหตุการณ์นี้ อุตสาหกรรมการบินทั่วโลก ได้ปรับปรุงมาตรการอย่างจริงจัง ✅ การสื่อสารต้องใช้ภาษามาตรฐาน และชัดเจนมากขึ้น (Standard Phraseology) ✅ ห้ามนักบินตีความเอง โดยไม่มีการอนุญาตชัดเจน ✅ มีการพัฒนา Cockpit Resource Management (CRM) เพื่อเน้นการทำงานเป็นทีมระหว่างลูกเรือ ✅ ระบบเรดาร์พื้นดิน (Ground Radar) ถูกติดตั้งในสนามบินใหญ่ ๆ ทั่วโลก 😨 เหตุการณ์ที่เกือบซ้ำรอยในปี 2542 🛬 เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2542 ที่สนามบินโอแฮร์ สหรัฐอเมริกา ✈️ - Korean Air เที่ยวบิน 36 Boeing 747 พร้อมผู้โดยสาร 340 คน - China Airlines เที่ยวบิน 9018 Boeing 747 เช่นกัน เกือบชนกันกลางรันเวย์ เนื่องจากความเข้าใจผิด ในการจราจรทางอากาศ แต่โชคดีที่หลีกเลี่ยงได้ทันโดยเครื่องบินอยู่ห่างกันเพียง 75 ฟุตเท่านั้น 😱 🕯️ 583 ชีวิต กับบทเรียนที่ไม่มีวันลืม ✈️ “โศกนาฏกรรมเตเนริเฟ” เป็นบทเรียนราคาแพงที่สุดครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ ที่สอนเราให้ระมัดระวังในการสื่อสาร การจัดการความเสี่ยง และให้ความสำคัญ กับมาตรฐานความปลอดภัยการบิน ✈️🧠 แม้เวลาจะผ่านไป 48 ปี... แต่ความสูญเสีย และบทเรียนจากเหตุการณ์นี้ ยังคงส่องแสงเป็นคำเตือน ถึงทุกคนในวงการการบินเสมอ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 271250 มี.ค. 2568 📲 #TenerifeDisaster #Boeing747 #PlaneCrashHistory #AirlineSafety #KLM4805 #PanAm1736 #AirCrashInvestigation #อุบัติเหตุทางการบิน #โบอิง747ชนกัน #บทเรียนการบิน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1011 มุมมอง 0 รีวิว
  • 25 ปี "โคบอลต์-60" รั่วไหล สมุทรปราการผวา รังสีที่คร่าชีวิต 3 ศพ เจ็บ 7 ราย หายนะร้านรับซื้อของเก่า

    📅 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 เป็นวันที่สร้างความตื่นตระหนก ให้กับประเทศไทย เมื่อเกิดอุบัติเหตุรังสีรั่วไหล จากสารโคบอลต์-60 ที่สมุทรปราการ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 3 ราย และบาดเจ็บอีก 7 ราย หลายคนได้รับผลกระทบ จากรังสีแกมมาที่ร้ายแรงที่สุด ครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของประเทศ

    แม้เหตุการณ์นี้จะผ่านมา 25 ปี แต่ยังเป็นบทเรียนสำคัญ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการจัดเก็บ และกำจัดสารกัมมันตรังสี 🛑

    🔥 จุดเริ่มต้นของหายนะ สารรังสีหลุดจากการควบคุม
    เหตุการณ์เริ่มต้นจากการที่ บริษัทกมลสุโกศล อิเล็คทริค จำกัด ได้รับซื้อเครื่องฉายรังสี "โคบอลต์-60" ที่หมดอายุ จากโรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อปี 2537 โดยเก็บไว้ที่โกดังของบริษัท

    ต่อมาในปี 2542 บริษัทได้เคลื่อนย้ายเครื่องฉายรังสี ไปยังลานจอดรถร้าง ย่านซอยอ่อนนุช กรุงเทพฯ โดยไม่มีมาตรการ รักษาความปลอดภัยอย่างเพียงพอ 😱

    นี่กลายเป็นช่องโหว่สำคัญ ที่ทำให้มีคนลักลอบ นำเครื่องฉายรังสีไปขายเป็นเศษเหล็ก โดยไม่รู้ว่าภายในนั้นมี "โคบอลต์-60" ซึ่งเป็นสารกัมมันตรังสี ที่สามารถปล่อยรังสีแกมมา ในระดับอันตราย 🚨

    🚨 เส้นทางของสารกัมมันตรังสี จากซาเล้งสู่ร้านรับซื้อของเก่า
    🛒 24 มกราคม 2543 นายจิตรเสน จันทร์สาขา ซึ่งมีอาชีพเก็บของเก่า ได้รับซื้อเศษเหล็กปริศนา มาจากกลุ่มที่ลักลอบนำไปขาย

    📍 1 กุมภาพันธ์ 2543 นายจิตรเสนนำชิ้นส่วนโลหะ ไปขายให้ ร้านรับซื้อของเก่า "สมจิตร" ในซอยวัดมหาวงษ์ ตำบลสำโรง อำเภอพระประแดง สมุทรปราการ

    🔧 ขณะที่พยายามตัดแยกชิ้นส่วน ลูกจ้าง 2 คนของร้านรับซื้อของเก่า ใช้เครื่องตัดเหล็กแบบแก๊ส ผ่าออก พบแท่งโลหะ 2 ชิ้น และมีควันสีเหลือง ที่มีกลิ่นเหม็นออกมา โดยไม่รู้เลยว่านั่นคือ สารกัมมันตรังสี ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต! ☢️

    ☢️ ผลกระทบจากรังสี โรครังสีเฉียบพลัน
    🔬 15-17 กุมภาพันธ์ 2543 ผู้ที่สัมผัสรังสีเริ่มมีอาการรุนแรง เช่น
    ✅ อ่อนเพลีย
    ✅ มือบวมพอง
    ✅ แผลไหม้พุพอง
    ✅ เม็ดเลือดขาวต่ำ
    ✅ ผมร่วง

    18 กุมภาพันธ์ 2543 เมื่อแพทย์พบว่า ผู้ป่วยทั้งหมดมีอาการคล้ายกัน จึงสันนิษฐานว่า น่าจะเกิดจากการได้รับรังสีรุนแรง และแจ้งไปยัง สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.)

    🏥 การเสียชีวิตจากรังสีแกมมา
    📅 9 มีนาคม 2543 นายนิพนธ์ พันธุ์ขันธ์ ลูกจ้างร้านรับซื้อของเก่า เสียชีวิตเป็นรายแรก จากการติดเชื้อในกระแสเลือด เนื่องจากเม็ดเลือดขาว ถูกทำลายจากรังสี

    📅 18 มีนาคม 2543 นายสุดใจ ใจเร็ว ลูกจ้างอีกคน เสียชีวิตจากภาวะเดียวกัน

    📅 24 มีนาคม 2543 สามีของนางสมจิตร เจ้าของร้านรับซื้อของเก่า เสียชีวิตเป็นรายที่ 3

    📌 แม้นายจิตรเสน จะรอดชีวิตมาได้ แต่ต้องเข้ารับการรักษาตัวในไอซียู และถูกตัดนิ้วมือ ที่ได้รับรังสีสูง

    นอกจากนี้ หญิงตั้งครรภ์รายหนึ่งที่ได้รับรังสี ต้องทำแท้ง เนื่องจากความเสี่ยงที่รังสี จะส่งผลกระทบต่อทารกในครรภ์

    ⚖️ คดีความ
    ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ได้รวมตัวกันฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย จากรัฐและเอกชน

    📌 คดีศาลปกครอง ศาลสูงสุดพิพากษา ให้สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) จ่ายค่าสินไหมทดแทน 5.2 ล้านบาท

    📌 คดีศาลแพ่ง ศาลฎีกาพิพากษาให้ บริษัทกมลสุโกศล อิเล็คทริค จำกัด จ่ายค่าเสียหาย 529,276 บาท

    แต่ท้ายที่สุด บริษัทไม่ได้รับผิดชอบต่อประชาชน ตามที่กล่าวอ้าง

    ❗ บทเรียนจากโศกนาฏกรรม
    🔹 การขาดมาตรการจัดเก็บที่ปลอดภัย ทำให้สารกัมมันตรังสี รั่วไหลออกจากการควบคุม

    🔹 การขาดความรู้ของประชาชน ทำให้มีคนสัมผัสสารรังสีโดยไม่รู้ตัว

    🔹 ความล่าช้าในการจัดการของรัฐ ทำให้เกิดผลกระทบรุนแรง

    แม้ว่าประเทศไทยจะมี สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ เป็นหน่วยงานกำกับดูแล แต่การขาดการบังคับใช้กฎหมาย อย่างเคร่งครัด ทำให้เกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น

    📌 เหตุการณ์ที่ไม่ควรเกิดขึ้นอีก
    25 ปีผ่านไป เหตุการณ์ โคบอลต์-60 รั่วไหล ยังคงเป็นบทเรียนสำคัญ ที่แสดงให้เห็นว่า ความประมาท และการละเลยมาตรฐานความปลอดภัย ด้านกัมมันตรังสี อาจนำไปสู่หายนะร้ายแรง

    📢 มาตรการป้องกันที่ควรมี
    ✅ การจัดเก็บสารกัมมันตรังสี ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
    ✅ การตรวจสอบของหน่วยงานรัฐ ที่เคร่งครัด
    ✅ การให้ความรู้เกี่ยวกับ อันตรายของสารรังสีแก่ประชาชน
    ✅ การจัดการกากกัมมันตรังสีที่ถูกต้อง

    หากไม่มีการปฏิบัติตามมาตรการเหล่านี้ อุบัติเหตุจากรังสี อาจเกิดขึ้นซ้ำได้ทุกเมื่อ ☢️

    📢 คำถามที่พบบ่อย (FAQs)
    1. โคบอลต์-60 คืออะไร?
    โคบอลต์-60 เป็นสารกัมมันตรังสี ที่ใช้ในทางการแพทย์ และอุตสาหกรรม แต่สามารถปล่อยรังสีแกมมา ที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์

    2. รังสีแกมมา ทำอันตรายต่อร่างกายอย่างไร?
    รังสีแกมมา สามารถทำลายเซลล์ในร่างกาย ส่งผลให้เกิดมะเร็ง ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ ผิวหนังไหม้ และอวัยวะล้มเหลว

    3. เหตุการณ์นี้ส่งผลกระทบ ต่อกฎหมายไทยอย่างไร?
    เหตุการณ์นี้ นำไปสู่การปรับปรุง มาตรการควบคุมสารกัมมันตรังสี ให้เข้มงวดมากขึ้น แต่ยังมีข้อบกพร่อง ในการบังคับใช้

    4. ประเทศไทยมีมาตรการป้องกัน อุบัติเหตุรังสีหรือไม่?
    มีสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) กำกับดูแล แต่การบังคับใช้กฎหมาย ยังขาดความเข้มงวด

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 181220 ก.พ. 2568

    #️⃣ #โคบอลต์60 #สมุทรปราการ #รังสีรั่วไหล #ภัยรังสี #ความปลอดภัย #พลังงานปรมาณู #อันตรายจากรังสี #รังสีแกมมา #ข่าวดัง #บทเรียนจากอดีต 🚨
    25 ปี "โคบอลต์-60" รั่วไหล สมุทรปราการผวา รังสีที่คร่าชีวิต 3 ศพ เจ็บ 7 ราย หายนะร้านรับซื้อของเก่า 📅 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 เป็นวันที่สร้างความตื่นตระหนก ให้กับประเทศไทย เมื่อเกิดอุบัติเหตุรังสีรั่วไหล จากสารโคบอลต์-60 ที่สมุทรปราการ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 3 ราย และบาดเจ็บอีก 7 ราย หลายคนได้รับผลกระทบ จากรังสีแกมมาที่ร้ายแรงที่สุด ครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของประเทศ แม้เหตุการณ์นี้จะผ่านมา 25 ปี แต่ยังเป็นบทเรียนสำคัญ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการจัดเก็บ และกำจัดสารกัมมันตรังสี 🛑 🔥 จุดเริ่มต้นของหายนะ สารรังสีหลุดจากการควบคุม เหตุการณ์เริ่มต้นจากการที่ บริษัทกมลสุโกศล อิเล็คทริค จำกัด ได้รับซื้อเครื่องฉายรังสี "โคบอลต์-60" ที่หมดอายุ จากโรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อปี 2537 โดยเก็บไว้ที่โกดังของบริษัท ต่อมาในปี 2542 บริษัทได้เคลื่อนย้ายเครื่องฉายรังสี ไปยังลานจอดรถร้าง ย่านซอยอ่อนนุช กรุงเทพฯ โดยไม่มีมาตรการ รักษาความปลอดภัยอย่างเพียงพอ 😱 นี่กลายเป็นช่องโหว่สำคัญ ที่ทำให้มีคนลักลอบ นำเครื่องฉายรังสีไปขายเป็นเศษเหล็ก โดยไม่รู้ว่าภายในนั้นมี "โคบอลต์-60" ซึ่งเป็นสารกัมมันตรังสี ที่สามารถปล่อยรังสีแกมมา ในระดับอันตราย 🚨 🚨 เส้นทางของสารกัมมันตรังสี จากซาเล้งสู่ร้านรับซื้อของเก่า 🛒 24 มกราคม 2543 นายจิตรเสน จันทร์สาขา ซึ่งมีอาชีพเก็บของเก่า ได้รับซื้อเศษเหล็กปริศนา มาจากกลุ่มที่ลักลอบนำไปขาย 📍 1 กุมภาพันธ์ 2543 นายจิตรเสนนำชิ้นส่วนโลหะ ไปขายให้ ร้านรับซื้อของเก่า "สมจิตร" ในซอยวัดมหาวงษ์ ตำบลสำโรง อำเภอพระประแดง สมุทรปราการ 🔧 ขณะที่พยายามตัดแยกชิ้นส่วน ลูกจ้าง 2 คนของร้านรับซื้อของเก่า ใช้เครื่องตัดเหล็กแบบแก๊ส ผ่าออก พบแท่งโลหะ 2 ชิ้น และมีควันสีเหลือง ที่มีกลิ่นเหม็นออกมา โดยไม่รู้เลยว่านั่นคือ สารกัมมันตรังสี ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต! ☢️ ☢️ ผลกระทบจากรังสี โรครังสีเฉียบพลัน 🔬 15-17 กุมภาพันธ์ 2543 ผู้ที่สัมผัสรังสีเริ่มมีอาการรุนแรง เช่น ✅ อ่อนเพลีย ✅ มือบวมพอง ✅ แผลไหม้พุพอง ✅ เม็ดเลือดขาวต่ำ ✅ ผมร่วง 18 กุมภาพันธ์ 2543 เมื่อแพทย์พบว่า ผู้ป่วยทั้งหมดมีอาการคล้ายกัน จึงสันนิษฐานว่า น่าจะเกิดจากการได้รับรังสีรุนแรง และแจ้งไปยัง สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) 🏥 การเสียชีวิตจากรังสีแกมมา 📅 9 มีนาคม 2543 นายนิพนธ์ พันธุ์ขันธ์ ลูกจ้างร้านรับซื้อของเก่า เสียชีวิตเป็นรายแรก จากการติดเชื้อในกระแสเลือด เนื่องจากเม็ดเลือดขาว ถูกทำลายจากรังสี 📅 18 มีนาคม 2543 นายสุดใจ ใจเร็ว ลูกจ้างอีกคน เสียชีวิตจากภาวะเดียวกัน 📅 24 มีนาคม 2543 สามีของนางสมจิตร เจ้าของร้านรับซื้อของเก่า เสียชีวิตเป็นรายที่ 3 📌 แม้นายจิตรเสน จะรอดชีวิตมาได้ แต่ต้องเข้ารับการรักษาตัวในไอซียู และถูกตัดนิ้วมือ ที่ได้รับรังสีสูง นอกจากนี้ หญิงตั้งครรภ์รายหนึ่งที่ได้รับรังสี ต้องทำแท้ง เนื่องจากความเสี่ยงที่รังสี จะส่งผลกระทบต่อทารกในครรภ์ ⚖️ คดีความ ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ได้รวมตัวกันฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย จากรัฐและเอกชน 📌 คดีศาลปกครอง ศาลสูงสุดพิพากษา ให้สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) จ่ายค่าสินไหมทดแทน 5.2 ล้านบาท 📌 คดีศาลแพ่ง ศาลฎีกาพิพากษาให้ บริษัทกมลสุโกศล อิเล็คทริค จำกัด จ่ายค่าเสียหาย 529,276 บาท แต่ท้ายที่สุด บริษัทไม่ได้รับผิดชอบต่อประชาชน ตามที่กล่าวอ้าง ❗ บทเรียนจากโศกนาฏกรรม 🔹 การขาดมาตรการจัดเก็บที่ปลอดภัย ทำให้สารกัมมันตรังสี รั่วไหลออกจากการควบคุม 🔹 การขาดความรู้ของประชาชน ทำให้มีคนสัมผัสสารรังสีโดยไม่รู้ตัว 🔹 ความล่าช้าในการจัดการของรัฐ ทำให้เกิดผลกระทบรุนแรง แม้ว่าประเทศไทยจะมี สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ เป็นหน่วยงานกำกับดูแล แต่การขาดการบังคับใช้กฎหมาย อย่างเคร่งครัด ทำให้เกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น 📌 เหตุการณ์ที่ไม่ควรเกิดขึ้นอีก 25 ปีผ่านไป เหตุการณ์ โคบอลต์-60 รั่วไหล ยังคงเป็นบทเรียนสำคัญ ที่แสดงให้เห็นว่า ความประมาท และการละเลยมาตรฐานความปลอดภัย ด้านกัมมันตรังสี อาจนำไปสู่หายนะร้ายแรง 📢 มาตรการป้องกันที่ควรมี ✅ การจัดเก็บสารกัมมันตรังสี ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ✅ การตรวจสอบของหน่วยงานรัฐ ที่เคร่งครัด ✅ การให้ความรู้เกี่ยวกับ อันตรายของสารรังสีแก่ประชาชน ✅ การจัดการกากกัมมันตรังสีที่ถูกต้อง หากไม่มีการปฏิบัติตามมาตรการเหล่านี้ อุบัติเหตุจากรังสี อาจเกิดขึ้นซ้ำได้ทุกเมื่อ ☢️ 📢 คำถามที่พบบ่อย (FAQs) 1. โคบอลต์-60 คืออะไร? โคบอลต์-60 เป็นสารกัมมันตรังสี ที่ใช้ในทางการแพทย์ และอุตสาหกรรม แต่สามารถปล่อยรังสีแกมมา ที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ 2. รังสีแกมมา ทำอันตรายต่อร่างกายอย่างไร? รังสีแกมมา สามารถทำลายเซลล์ในร่างกาย ส่งผลให้เกิดมะเร็ง ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ ผิวหนังไหม้ และอวัยวะล้มเหลว 3. เหตุการณ์นี้ส่งผลกระทบ ต่อกฎหมายไทยอย่างไร? เหตุการณ์นี้ นำไปสู่การปรับปรุง มาตรการควบคุมสารกัมมันตรังสี ให้เข้มงวดมากขึ้น แต่ยังมีข้อบกพร่อง ในการบังคับใช้ 4. ประเทศไทยมีมาตรการป้องกัน อุบัติเหตุรังสีหรือไม่? มีสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) กำกับดูแล แต่การบังคับใช้กฎหมาย ยังขาดความเข้มงวด ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 181220 ก.พ. 2568 #️⃣ #โคบอลต์60 #สมุทรปราการ #รังสีรั่วไหล #ภัยรังสี #ความปลอดภัย #พลังงานปรมาณู #อันตรายจากรังสี #รังสีแกมมา #ข่าวดัง #บทเรียนจากอดีต 🚨
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1095 มุมมอง 0 รีวิว