• อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 606
    ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :-
    (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ;
    (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ;
    (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ;
    (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ;
    (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ;
    (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ;
    (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว.
    อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย
    และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน
    เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ
    เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
    เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น
    ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก
    ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 606 ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 เนื้อความทั้งหมด :- --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :- (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15. http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    -(ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า เมื่อบุรุษนั้นกำลังปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์อยู่ วิราคะก็เกิดขึ้นได้ เมื่อเขาเพ่งดูเหตุแห่งความทุกข์ยิ่ง ๆ ขึ้นไป วิราคะก็ยิ่งเกิดขึ้น จนกระทั่งว่าเขาสามารถละราคะ ในหญิงคือทุกข์นั้นเสียได้. ผู้ที่ยังไม่มีความทุกข์ ก็อย่าไปปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์ขึ้นมาเลย มีความสุขโดยชอบธรรมอยู่แล้วเพียงใด ก็ไม่มัวเมาในความสุขนั้น ก็จะชื่อว่า ไม่เอาความทุกข์มาทับถมตนซึ่งไม่มีความทุกข์อยู่แล้ว และมีวิราคะในความทุกข์ได้ นี้ย่อมเป็นสิ่งที่กระทำได้). ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ : (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. แต่ว่าสัทธาเป็นต้นของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แลเรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย. และ สัทธาเป็นต้นของเขา ไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพ- พานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    0 Comments 0 Shares 99 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ
    สัทธรรมลำดับที่ : 601
    ชื่อบทธรรม :-ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=601
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ

    (หมวดของพระอริยบุคคล)
    (พระเถระชื่อสวิฏฐะ นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ สัทธาวิมุตต์
    พระมหาโกฏฐิตะ นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ กายสักขี
    พระสารีบุตร นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ ทิฏฐิปัตต์
    ซึ่งล้วนแต่ตนได้อาศัยปฏิบัติจนบรรลุของตน ๆ มาแล้ว
    จึงชวนกันไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค เพื่อขอทราบว่าในสามอย่างนั้น
    อย่างไหนจะสมควรกว่า งดงามกว่า ประณีตกว่า.
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสตอบว่า :-​ )​

    --สารีบุตร ! มันไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า
    ในบุคคล ๓ พวกนั้น พวกไหนจะงดงามกว่า ประณีตกว่า.
    --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้ก็มีอยู่ คือ
    พวก &​สัทธาวิมุตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล
    แต่พวก &​กายสักขี ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี
    แม้พวก &​ทิฏฐิปัตต์ ก็ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี
    http://etipitaka.com/read/pali/20/148/?keywords=สทฺธาวิมุตฺโต+กายสกฺขิ+ทิฏฺฐิปฺปตฺโต
    จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก
    นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.

    --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็มีอยู่อีกว่า
    พวก กายสักขี ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล
    ส่วนพวก สัทธาวิมุตต์และพวกทิฏฐิปัตต์ ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี
    จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก
    นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.

    --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็ยังมีอยู่อีกว่า
    พวก ทิฏฐิปัตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล
    ส่วนพวก สัทธาวิมุตต์และพวกกายสักขี เป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี ก็ยังมีอยู่ ;
    --สารีบุตร ! จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก
    นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/114/460.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/114/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๔๘/๔๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/148/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=601
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=601
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ สัทธรรมลำดับที่ : 601 ชื่อบทธรรม :-ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=601 เนื้อความทั้งหมด :- --ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ (หมวดของพระอริยบุคคล) (พระเถระชื่อสวิฏฐะ นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ สัทธาวิมุตต์ พระมหาโกฏฐิตะ นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ กายสักขี พระสารีบุตร นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ ทิฏฐิปัตต์ ซึ่งล้วนแต่ตนได้อาศัยปฏิบัติจนบรรลุของตน ๆ มาแล้ว จึงชวนกันไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค เพื่อขอทราบว่าในสามอย่างนั้น อย่างไหนจะสมควรกว่า งดงามกว่า ประณีตกว่า. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสตอบว่า :-​ )​ --สารีบุตร ! มันไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ พวกนั้น พวกไหนจะงดงามกว่า ประณีตกว่า. --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้ก็มีอยู่ คือ พวก &​สัทธาวิมุตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล แต่พวก &​กายสักขี ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี แม้พวก &​ทิฏฐิปัตต์ ก็ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี http://etipitaka.com/read/pali/20/148/?keywords=สทฺธาวิมุตฺโต+กายสกฺขิ+ทิฏฺฐิปฺปตฺโต จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า. --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็มีอยู่อีกว่า พวก กายสักขี ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล ส่วนพวก สัทธาวิมุตต์และพวกทิฏฐิปัตต์ ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า. --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็ยังมีอยู่อีกว่า พวก ทิฏฐิปัตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล ส่วนพวก สัทธาวิมุตต์และพวกกายสักขี เป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี ก็ยังมีอยู่ ; --สารีบุตร ! จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/114/460. http://etipitaka.com/read/thai/20/114/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๔๘/๔๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/20/148/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=601 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=601 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใคร--เพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ
    -(บาลีนี้แสดงว่า ไม่อาจจะถือเอาคำพูดเป็นหลัก เพราะคำๆเดียวกันมีความหมายต่างกันได้ และเป็นเหตุให้เถียงกันหรือดูหมิ่นกัน; เป็นสิ่งที่ต้องระวัง). ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใคร เพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ (หมวดของพระอริยบุคคล) (พระเถระชื่อสวิฏฐะนิยมชมชอบการปฏิบัติแบบสัทธาวิมุตต์ พระมหาโกฏฐิตะนิยมชมชอบการปฏิบัติแบบกายสักขี พระสารีบุตรนิยมชมชอบการปฏิบัติแบบทิฏฐิปัตต์ ซึ่งล้วนแต่ตนได้อาศัยปฏิบัติจนบรรลุของตน ๆ มาแล้ว จึงชวนกันไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค เพื่อขอทราบว่าในสามอย่างนั้น อย่างไหนจะสมควรกว่า งดงามกว่า ประณีตกว่า. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสตอบว่า :-) สารีบุตร ! มันไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ พวกนั้น พวกไหนจะงดงามกว่า ประณีตกว่า. สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้ก็มีอยู่ คือ พวก สัทธาวิมุตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่ออรหัตตผล แต่พวกกายสักขียังเป็นเพียงสกทาคามีหรืออนาคามี แม้พวกทิฏฐิปัตต์ก็ยังเป็นเพียงสกทาคามีหรืออนาคามี จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวกนั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า. สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็มีอยู่อีกว่า พวก กายสักขี ปฏิบัติแล้วเพื่ออรหัตตผล ส่วนพวกสัทธาวิมุตต์และพวกทิฏฐิปัตต์ ยังเป็นเพียงสกทาคามีหรืออนาคามี จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า. สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็ยังมีอยู่อีกว่า พวก ทิฏฐิปัตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่ออรหัตตผล ส่วนพวกสัทธาวิมุตต์และพวกกายสักขี เป็นเพียงสกทาคามีหรืออนาคามี ก็ยังมีอยู่ ; สารีบุตร ! จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวกนั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.
    0 Comments 0 Shares 112 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 596
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม
    และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง
    เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 596 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 193 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย
    สัทธรรมลำดับที่ : 595
    ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท
    --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่.
    ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น.
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด.

    --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง).
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี)
    ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​
    ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.-
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย สัทธรรมลำดับที่ : 595 ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่. ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น. --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด. --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง). http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​ ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.- http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241. http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    0 Comments 0 Shares 186 Views 0 Reviews
  • ละสังโยชน์ ให้หมดไปสู่พิพาน
    สังโยชน์ คือ กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์
    หรือกิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ มี 10 อย่าง คือ

    สังโยชน์ 10 (แบบย่อ)

    สังโยชน์เบื้องต่ำ
    1. สักกายทิฏฐิ - คิดว่ากายนี้เป็นของเรา
    2. วิจิกิจฉา - สงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    3. สีลัพพตปรามาส - งมงายในคำสอนของลัทธิอื่น
    4. กามราคะ- ติดใจในกามคุณทั้ง5
    5. ปฏิฆะ(พยาบาท) - มีความกระทบทางใจ โกรธ ผูกโกรธ

    สังโยชน์เบื้องสูง
    6. รูปราคะ - ติดในใน รูปฌาน
    7. อรูปราคะ - ติดในใน อรูปฌาน
    8. มานะ - ถือตัว ยึดมั่นในตัวตน
    9. อุทธัจจะ -ฟุ้งซ่าน
    10. อวิชชา - ความไม่รู้จริง

    .............................................................................................................................................
    ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ได้แก่

    1. สักกายทิฏฐิ -มีความเห็นว่าร่างกายนี้เป็นของเรา
    2. วิจิกิจฉา - มีความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    3. สีลัพพตปรามาส - ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้ เพียงด้วยศีลละวัตร หรือนำศีลและพรต ไปใช้เพื่อ เหตุผลอื่น ไม่ใช่เพื่อเป็นปัจจัยแก่การสิ้นกิเลส เช่นการถือศีล เพื่อเอาไว้ข่มไว้ด่า คนอื่น การถือศีลเพราะอยากได้ลาภสักการะเป็นต้น ซึ่งรวมถึงความเชื่อถือ ในพิธีกรรม ที่งมงายด้วย
    4. กามราคะ - มีความติดใจในกามคุณทั้ง ๕
    5. ปฏิฆะ (พยาบาท) - จิตพยาบาท อาฆาตแค้น หงุดหงิด โกรธ
    ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5 ได้แก่

    6. รูปราคะ - มีความติดใจในวัตถุ หรือรูปฌาน
    7. อรูปราคะ - มีความติดใจในอรูปฌานหรือความพอใจในนามธรรมทั้งหลาย
    8. มานะ - ถือตัว/ถ่อมตัว ยกตนเหนือกว่า/ด้อยกว่า
    9. อุทธัจจะ - มีความฟุ้งซ่าน
    10. อวิชชา - ปัญญามืดบอด มีความไม่รู้จริง

    พระโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ข้อ

    พระสกทาคามี ละสังโยชน์ 3 ข้อ และ 4-5 บางส่วน (กามราคะ-ปฏิฆะ เบาบาง)

    พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 ข้อแรกได้หมด

    พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทั้ง 10 ข้อ
    ละสังโยชน์ ให้หมดไปสู่พิพาน สังโยชน์ คือ กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ หรือกิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ มี 10 อย่าง คือ สังโยชน์ 10 (แบบย่อ) สังโยชน์เบื้องต่ำ 1. สักกายทิฏฐิ - คิดว่ากายนี้เป็นของเรา 2. วิจิกิจฉา - สงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 3. สีลัพพตปรามาส - งมงายในคำสอนของลัทธิอื่น 4. กามราคะ- ติดใจในกามคุณทั้ง5 5. ปฏิฆะ(พยาบาท) - มีความกระทบทางใจ โกรธ ผูกโกรธ สังโยชน์เบื้องสูง 6. รูปราคะ - ติดในใน รูปฌาน 7. อรูปราคะ - ติดในใน อรูปฌาน 8. มานะ - ถือตัว ยึดมั่นในตัวตน 9. อุทธัจจะ -ฟุ้งซ่าน 10. อวิชชา - ความไม่รู้จริง ............................................................................................................................................. ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ได้แก่ 1. สักกายทิฏฐิ -มีความเห็นว่าร่างกายนี้เป็นของเรา 2. วิจิกิจฉา - มีความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 3. สีลัพพตปรามาส - ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้ เพียงด้วยศีลละวัตร หรือนำศีลและพรต ไปใช้เพื่อ เหตุผลอื่น ไม่ใช่เพื่อเป็นปัจจัยแก่การสิ้นกิเลส เช่นการถือศีล เพื่อเอาไว้ข่มไว้ด่า คนอื่น การถือศีลเพราะอยากได้ลาภสักการะเป็นต้น ซึ่งรวมถึงความเชื่อถือ ในพิธีกรรม ที่งมงายด้วย 4. กามราคะ - มีความติดใจในกามคุณทั้ง ๕ 5. ปฏิฆะ (พยาบาท) - จิตพยาบาท อาฆาตแค้น หงุดหงิด โกรธ ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5 ได้แก่ 6. รูปราคะ - มีความติดใจในวัตถุ หรือรูปฌาน 7. อรูปราคะ - มีความติดใจในอรูปฌานหรือความพอใจในนามธรรมทั้งหลาย 8. มานะ - ถือตัว/ถ่อมตัว ยกตนเหนือกว่า/ด้อยกว่า 9. อุทธัจจะ - มีความฟุ้งซ่าน 10. อวิชชา - ปัญญามืดบอด มีความไม่รู้จริง พระโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ข้อ พระสกทาคามี ละสังโยชน์ 3 ข้อ และ 4-5 บางส่วน (กามราคะ-ปฏิฆะ เบาบาง) พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 ข้อแรกได้หมด พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทั้ง 10 ข้อ
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 174 Views 0 Reviews