• #นาฬิกาชีวิต จังหวะเวลาที่กำหนดสุขภาพ
    ทุกวัน..จะชอบเขียนเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ คือ ไม่กินเนื้อสัตว์ ละเว้นการเบียดเบียนตามหลักพุทธศาสนา คือ ถือศีลข้อที่๑(บริสุทธิ์) ทำให้เลือดในร่างกายไม่เป็นกรด ปัญหาเรื่องกระดูกพรุนไม่เกิด และมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง ไม่ต้องเป็นภาระทางราชการ หรือ ต้องสูญเสียเงินทองมากมายเมื่อเข้าสู่วัยชรา.
    วันนี้..ที่บ้านมีพะโล้ฟองเต้าหู้ กับ ผักกาดจอ หม้อใหญ่ๆ เป็นอาหารหลัก ทำเมื่อช่วงเย็นที่ผ่านมา คงกินได้หลายวัน
    วันนี้จึงไม่โม้เรื่องอาหาร เพราะเคยเขียนเผยแพร่แล้ว
    วันนี้พูดเรื่องสำคัญ..มากเท่ากับเรื่องอาหาร คือ
    วินัย ของ การทำงานในร่างกาย ปฏิบัติตัวอย่างไร ให้ ถูกที่ ถูกเวลา ตลอดเวลา ๒๔ชั่วโมง ก็ สำคัญมาก ซึ่งวันนี้ จะนำเสนอให้ทราบ ดังนี้
    เหตุผลตามธรรมชาติ
    #ทำไมต้องนอนสามทุ่มตื่นตีสาม?
    ต้องดื่มน้ำหลังตื่นนอน ขับถ่ายของเสีย กินอาหารให้ตรงเวลา
    #ทำไมเวลาเก้าโมงถึงสิบเอ็ดโมงเช้า(ห้ามนอน..เด็ดขาด)
    บ่ายโมงถึงบ่ายสามไม่ควรกินอาหาร
    #บ่ายสามถึงห้าโมงเย็นเป็นเวลาออกกำลังกาย
    --->สามทุ่ม(ต้อง)เข้านอน(ห่มผ้า)ให้อบอุ่น ไม่ควรอาบน้ำเย็น
    #สี่ทุ่มถึงตีสามคือเวลาของฮอร์โมนเมลาโทนิน(หลั่ง)
    --->ต้อง(ห่มผ้า)นอนหลับให้สนิท และ ปิดไฟให้มืด
    จึงจะมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง มีอายุขัยที่ยืนยาว 120 ปี
    #นาฬิกาชีวิต คือ การดูแลรักษาสุขภาพแบบธรรมชาติบำบัด ให้มีสุขภาพที่ดีอายุยืนนาน ตามศาสตร์การแพทย์จีน อายุรเวทของอินเดีย และอียิปต์โบราณได้ค้นพบ และบันทึกตรงกันว่า
    #อวัยวะในร่างกายมนุษย์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ #อวัยวะตัน --->หัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด ม้าม ตับ และไต #อวัยวะกลวง --->กระเพาะอาหาร ถุงน้ำดี ลำไส้ใหญ่ ลำไส้เล็ก กระเพาะปัสสาวะ และ ระบบความร้อนในร่างกาย
    ทั้งหมดรวมได้ 12 อวัยวะ ควบคุมการไหลเวียนด้วยพลังชีวิตที่เรียกว่า.. “ #ลมปราณ” หมุนเวียนเป็นวัฏจักรทุก 2 ชั่วโมง ตามลำดับ
    ดังนั้นใน 1วัน=12อวัยวะX2ชั่วโมง จึงเท่ากับ 24ชั่วโมง (พอดีเป๊ะ)
    นี่แหละ คือ วัฏจักรของการทำงาน(ตามปกติ)ของอวัยวะในร่างกายมนุษย์ ที่เรียกว่า #นาฬิกาชีวิต นั่นเอง ค่ะ
    #ตารางการเดินลมปราณในแต่ละวัน จึงเป็นการดูแลสุขภาพอย่างง่ายๆ เพียงแค่ปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตให้สอดคล้องกับ..”นาฬิกาชีวิต” ได้ดังนี้...
    เวลา 01.00-03.00น. ควรเป็นเวลาของ #ตับ มีหน้าที่เป็นโรงงานกำจัดสารพิษออกจากร่างกาย ดังนั้นในช่วงเวลานี้ร่างกาย #ควรนอนหลับให้สนิทเพื่อให้ตับได้ขจัดสารพิษออกจากร่างกายหากไม่หลับในช่วงนี้จะทำให้สะสมพิษทำให้เกิดอาการเพลีย เหนื่อยง่าย
    โรคต่างที่เกิดจากพิษสารเคมีสะสมจะทำให้ป่วยง่าย+เรื้อรัง-ตายอย่างเวทนาและทุกข์ทรมาน นะคะ(ขอ บอก)
    เวลา 03.00-05.00น. #ควรตื่นนอน ดื่มน้ำอุ่น ฝึกกำหนดลมหายใจเข้า-ออก..ลึกๆ ช้าๆ..สูดอากาศบริสุทธิ์ ออกกำลังกายยืดเส้น ยืดสาย ทำให้สุขภาพปอดและร่างกายโดยรวมจะดีไปด้วย
    #การดื่มน้ำอุ่นในช่วงนี้และการซิทอัป--->จะกระตุ้น(เร่ง)การทำงานของลำไส้ใหญ่ ซึ่งทำงานในช่วงต่อไป..
    เวลา 05.00-07.00น. เป็นช่วงเวลาของ #การทำงานลำไส้ใหญ่ บีบรัดตัวได้ดีที่สุด เป็นเวลาขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย การไม่ขับถ่ายในช่วงเวลานี้ทำให้ลำไส้ใหญ่ดูดซึมกลับไป สะสมสารพิษ สะสม ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพอย่างแน่นอน เวลา 05.45-06.00น.เป็นเวลาที่ดีที่สุด ของ #การฝึกสมาธิ เพราะในขณะที่ตื่นนอน ทำธุระส่วนตัว อาบน้ำ&แปรงฟัน..เสร็จ ปลอดโปร่ง..#โล่งทั้งกายและใจไม่มีเรื่องเครียด เรื่องงานมากวนใจ ฝึกนั่งสมาธิในช่วงนี้(ทุกวัน)สามารถเข้าถึงสมาธิได้สำเร็จ(ง่าย)มาก..ค่ะ
    เวลา 07.00-09.00น. คือช่วงเวลาของ #กระเพาะอาหาร ต้องกินอาหารเช้าเป็นมื้อหลักที่มีสารอาหารอย่างครบถ้วน หากไม่กินมื้อเช้า(มื้อสำคัญ)จะเป็นโรคกระเพาะอย่างรวดเร็ว และสะสมเป็นมะเร็งกระเพาะอาหารได้ในระยะยาว
    เวลา 09.00-011.00น. เป็นเวลาของ #ม้าม ควบคุมเม็ดเลือดขาว กำจัดเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ ดังนั้นผู้ที่นอนในช่วงนี้จะส่งผลให้ม้ามอ่อนแอ มี #ภูมิคุ้มกันโรคต่ำ ติดเชื้อเป็นโรคต่างๆได้ง่าย
    เวลา 11.00-13.00น. ช่วงพักเที่ยง เป็นช่วงเวลาของ #หัวใจ ควรพักผ่อน..สบายๆ งดน้ำชา กาแฟ หลีกเลี่ยงความเครียดซึ่งทำให้หัวใจเต้นแรง ทำงานหนักเกิน ส่งผลให้หัวใจวายได้อย่างง่ายๆ ในช่วงเวลาเที่ยง จ๊ะ
    เวลา 13.00-15.00น. เป็นช่วงเวลาของ #ลำไส้เล็ก ในช่วงนี้ร่างกายส่งพลังงานทั้งหมดไปยังลำไส้เล็กเพื่อการดูดซึม #การกินอาหารในช่วงนี้จะไปขัดขวางโอกาสทองของระบบดูดซีมที่ต้องแบ่งพลังงานไปใช้ในการย่อยในกระเพาะอาหาร ช่วงนี้สมองในส่วนความจำจะทำงานได้ดีที่สุดในรอบวัน
    เวลา 15.00-17.00น. เวลาของ #กระเพาะปัสสาวะ และการขับเหงื่อ #จึงควรออกกำลังกายอย่างหนัก หรือ เหมาะกับการอบซาวน่าเพื่อให้เหงื่อออก สำหรับหนุ่มสาวที่ทำงานในช่วงนี้ ก็สามารถใช้ท่าการออกกำลังกายในสำนักงาน หรือเดินไป-มา ขึ้น-ลงบันได เพื่อส่งเสริมการทำงานของกระเพาะปัสสาวะได้..เช่นกัน
    เวลา 17.00-19.00น. #ช่วงเวลาของไต มีหน้าที่รักษาสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย โดยกำจัดส่วนเกินออกทางปัสสาวะและเหงื่อ #เวลาช่วงนี้จึงควรทำให้ร่างกายตื่นตัว ไม่ง่วง ไม่หลับ เป็นช่วงCool Down หรือผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ต่อจากการออกกำลังกายอย่างหนัก..ในช่วงเวลาที่ผ่านมา
    เวลา 19.00-21.00น. ช่วงนี้เป็นเวลาที่ #เยื่อหุ้มหัวใจ..บางที่สุด จึงควรระวังอารมณ์ตื่นเต้น ดีใจ ตกใจ โกรธ เสียใจ การที่ทำให้ตื่นตัวมากๆส่งผลให้เยื่อหุ้มหัวใจฉีกขาดได้ง่าย ดังนั้นในช่วงเวลานี้จึงควรปิดโทรศัพท์ สวดมนต์ นั่งสมาธิ ทำจิตใจให้สงบ
    เวลา 21.00-23.00น. เป็นช่วงเวลาของ #ระบบความร้อนในร่างกาย ซึ่งตามธรรมชาติ..ในช่วงเวลานี้อากาศเริ่มเย็น ร่างกายคนเราต้องสร้างความร้อนขึ้น จึงไม่ควรอาบน้ำหรือดื่มน้ำเย็น และควรเข้านอนในช่วงเวลานี้ ควรดื่มน้ำอุ่น 1 แก้วก่อนนอนเพื่อส่งเสริมการทำงานของถุงน้ำดีในเวลาถัดไป.
    เวลา 23.00-01.00น. เวลาของ #ถุงน้ำดี ซึ่งช่วงเวลานี้เป็นช่วงที่หลับ ร่างกายจะอยู่ในสภาพที่ขาดน้ำ อวัยวะต่างๆจะดึงน้ำจากถุงน้ำดี..แล้วนำไปใช้ หากน้ำในถุงน้ำดีข้นเกินไปอาจส่งผลให้อวัยวะต่างๆทำงานผิดปกติได้ #หากไม่นอนในช่วงนี้จะเกิดถุงไขมันใต้ตา และไขมันพอกตับ
    .
    .
    เจริญธรรม สำนึกดี
    Pachäree Wõng
    November21, 2024
    Sausalito, California.
    #นาฬิกาชีวิต จังหวะเวลาที่กำหนดสุขภาพ ทุกวัน..จะชอบเขียนเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ คือ ไม่กินเนื้อสัตว์ ละเว้นการเบียดเบียนตามหลักพุทธศาสนา คือ ถือศีลข้อที่๑(บริสุทธิ์) ทำให้เลือดในร่างกายไม่เป็นกรด ปัญหาเรื่องกระดูกพรุนไม่เกิด และมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง ไม่ต้องเป็นภาระทางราชการ หรือ ต้องสูญเสียเงินทองมากมายเมื่อเข้าสู่วัยชรา. วันนี้..ที่บ้านมีพะโล้ฟองเต้าหู้ กับ ผักกาดจอ หม้อใหญ่ๆ เป็นอาหารหลัก ทำเมื่อช่วงเย็นที่ผ่านมา คงกินได้หลายวัน วันนี้จึงไม่โม้เรื่องอาหาร เพราะเคยเขียนเผยแพร่แล้ว วันนี้พูดเรื่องสำคัญ..มากเท่ากับเรื่องอาหาร คือ วินัย ของ การทำงานในร่างกาย ปฏิบัติตัวอย่างไร ให้ ถูกที่ ถูกเวลา ตลอดเวลา ๒๔ชั่วโมง ก็ สำคัญมาก ซึ่งวันนี้ จะนำเสนอให้ทราบ ดังนี้ เหตุผลตามธรรมชาติ #ทำไมต้องนอนสามทุ่มตื่นตีสาม? ต้องดื่มน้ำหลังตื่นนอน ขับถ่ายของเสีย กินอาหารให้ตรงเวลา #ทำไมเวลาเก้าโมงถึงสิบเอ็ดโมงเช้า(ห้ามนอน..เด็ดขาด) บ่ายโมงถึงบ่ายสามไม่ควรกินอาหาร #บ่ายสามถึงห้าโมงเย็นเป็นเวลาออกกำลังกาย --->สามทุ่ม(ต้อง)เข้านอน(ห่มผ้า)ให้อบอุ่น ไม่ควรอาบน้ำเย็น #สี่ทุ่มถึงตีสามคือเวลาของฮอร์โมนเมลาโทนิน(หลั่ง) --->ต้อง(ห่มผ้า)นอนหลับให้สนิท และ ปิดไฟให้มืด จึงจะมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง มีอายุขัยที่ยืนยาว 120 ปี #นาฬิกาชีวิต คือ การดูแลรักษาสุขภาพแบบธรรมชาติบำบัด ให้มีสุขภาพที่ดีอายุยืนนาน ตามศาสตร์การแพทย์จีน อายุรเวทของอินเดีย และอียิปต์โบราณได้ค้นพบ และบันทึกตรงกันว่า #อวัยวะในร่างกายมนุษย์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ #อวัยวะตัน --->หัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด ม้าม ตับ และไต #อวัยวะกลวง --->กระเพาะอาหาร ถุงน้ำดี ลำไส้ใหญ่ ลำไส้เล็ก กระเพาะปัสสาวะ และ ระบบความร้อนในร่างกาย ทั้งหมดรวมได้ 12 อวัยวะ ควบคุมการไหลเวียนด้วยพลังชีวิตที่เรียกว่า.. “ #ลมปราณ” หมุนเวียนเป็นวัฏจักรทุก 2 ชั่วโมง ตามลำดับ ดังนั้นใน 1วัน=12อวัยวะX2ชั่วโมง จึงเท่ากับ 24ชั่วโมง (พอดีเป๊ะ) นี่แหละ คือ วัฏจักรของการทำงาน(ตามปกติ)ของอวัยวะในร่างกายมนุษย์ ที่เรียกว่า #นาฬิกาชีวิต นั่นเอง ค่ะ #ตารางการเดินลมปราณในแต่ละวัน จึงเป็นการดูแลสุขภาพอย่างง่ายๆ เพียงแค่ปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตให้สอดคล้องกับ..”นาฬิกาชีวิต” ได้ดังนี้... เวลา 01.00-03.00น. ควรเป็นเวลาของ #ตับ มีหน้าที่เป็นโรงงานกำจัดสารพิษออกจากร่างกาย ดังนั้นในช่วงเวลานี้ร่างกาย #ควรนอนหลับให้สนิทเพื่อให้ตับได้ขจัดสารพิษออกจากร่างกายหากไม่หลับในช่วงนี้จะทำให้สะสมพิษทำให้เกิดอาการเพลีย เหนื่อยง่าย โรคต่างที่เกิดจากพิษสารเคมีสะสมจะทำให้ป่วยง่าย+เรื้อรัง-ตายอย่างเวทนาและทุกข์ทรมาน นะคะ(ขอ บอก) เวลา 03.00-05.00น. #ควรตื่นนอน ดื่มน้ำอุ่น ฝึกกำหนดลมหายใจเข้า-ออก..ลึกๆ ช้าๆ..สูดอากาศบริสุทธิ์ ออกกำลังกายยืดเส้น ยืดสาย ทำให้สุขภาพปอดและร่างกายโดยรวมจะดีไปด้วย #การดื่มน้ำอุ่นในช่วงนี้และการซิทอัป--->จะกระตุ้น(เร่ง)การทำงานของลำไส้ใหญ่ ซึ่งทำงานในช่วงต่อไป.. เวลา 05.00-07.00น. เป็นช่วงเวลาของ #การทำงานลำไส้ใหญ่ บีบรัดตัวได้ดีที่สุด เป็นเวลาขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย การไม่ขับถ่ายในช่วงเวลานี้ทำให้ลำไส้ใหญ่ดูดซึมกลับไป สะสมสารพิษ สะสม ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพอย่างแน่นอน เวลา 05.45-06.00น.เป็นเวลาที่ดีที่สุด ของ #การฝึกสมาธิ เพราะในขณะที่ตื่นนอน ทำธุระส่วนตัว อาบน้ำ&แปรงฟัน..เสร็จ ปลอดโปร่ง..#โล่งทั้งกายและใจไม่มีเรื่องเครียด เรื่องงานมากวนใจ ฝึกนั่งสมาธิในช่วงนี้(ทุกวัน)สามารถเข้าถึงสมาธิได้สำเร็จ(ง่าย)มาก..ค่ะ เวลา 07.00-09.00น. คือช่วงเวลาของ #กระเพาะอาหาร ต้องกินอาหารเช้าเป็นมื้อหลักที่มีสารอาหารอย่างครบถ้วน หากไม่กินมื้อเช้า(มื้อสำคัญ)จะเป็นโรคกระเพาะอย่างรวดเร็ว และสะสมเป็นมะเร็งกระเพาะอาหารได้ในระยะยาว เวลา 09.00-011.00น. เป็นเวลาของ #ม้าม ควบคุมเม็ดเลือดขาว กำจัดเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ ดังนั้นผู้ที่นอนในช่วงนี้จะส่งผลให้ม้ามอ่อนแอ มี #ภูมิคุ้มกันโรคต่ำ ติดเชื้อเป็นโรคต่างๆได้ง่าย เวลา 11.00-13.00น. ช่วงพักเที่ยง เป็นช่วงเวลาของ #หัวใจ ควรพักผ่อน..สบายๆ งดน้ำชา กาแฟ หลีกเลี่ยงความเครียดซึ่งทำให้หัวใจเต้นแรง ทำงานหนักเกิน ส่งผลให้หัวใจวายได้อย่างง่ายๆ ในช่วงเวลาเที่ยง จ๊ะ เวลา 13.00-15.00น. เป็นช่วงเวลาของ #ลำไส้เล็ก ในช่วงนี้ร่างกายส่งพลังงานทั้งหมดไปยังลำไส้เล็กเพื่อการดูดซึม #การกินอาหารในช่วงนี้จะไปขัดขวางโอกาสทองของระบบดูดซีมที่ต้องแบ่งพลังงานไปใช้ในการย่อยในกระเพาะอาหาร ช่วงนี้สมองในส่วนความจำจะทำงานได้ดีที่สุดในรอบวัน เวลา 15.00-17.00น. เวลาของ #กระเพาะปัสสาวะ และการขับเหงื่อ #จึงควรออกกำลังกายอย่างหนัก หรือ เหมาะกับการอบซาวน่าเพื่อให้เหงื่อออก สำหรับหนุ่มสาวที่ทำงานในช่วงนี้ ก็สามารถใช้ท่าการออกกำลังกายในสำนักงาน หรือเดินไป-มา ขึ้น-ลงบันได เพื่อส่งเสริมการทำงานของกระเพาะปัสสาวะได้..เช่นกัน เวลา 17.00-19.00น. #ช่วงเวลาของไต มีหน้าที่รักษาสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย โดยกำจัดส่วนเกินออกทางปัสสาวะและเหงื่อ #เวลาช่วงนี้จึงควรทำให้ร่างกายตื่นตัว ไม่ง่วง ไม่หลับ เป็นช่วงCool Down หรือผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ต่อจากการออกกำลังกายอย่างหนัก..ในช่วงเวลาที่ผ่านมา เวลา 19.00-21.00น. ช่วงนี้เป็นเวลาที่ #เยื่อหุ้มหัวใจ..บางที่สุด จึงควรระวังอารมณ์ตื่นเต้น ดีใจ ตกใจ โกรธ เสียใจ การที่ทำให้ตื่นตัวมากๆส่งผลให้เยื่อหุ้มหัวใจฉีกขาดได้ง่าย ดังนั้นในช่วงเวลานี้จึงควรปิดโทรศัพท์ สวดมนต์ นั่งสมาธิ ทำจิตใจให้สงบ เวลา 21.00-23.00น. เป็นช่วงเวลาของ #ระบบความร้อนในร่างกาย ซึ่งตามธรรมชาติ..ในช่วงเวลานี้อากาศเริ่มเย็น ร่างกายคนเราต้องสร้างความร้อนขึ้น จึงไม่ควรอาบน้ำหรือดื่มน้ำเย็น และควรเข้านอนในช่วงเวลานี้ ควรดื่มน้ำอุ่น 1 แก้วก่อนนอนเพื่อส่งเสริมการทำงานของถุงน้ำดีในเวลาถัดไป. เวลา 23.00-01.00น. เวลาของ #ถุงน้ำดี ซึ่งช่วงเวลานี้เป็นช่วงที่หลับ ร่างกายจะอยู่ในสภาพที่ขาดน้ำ อวัยวะต่างๆจะดึงน้ำจากถุงน้ำดี..แล้วนำไปใช้ หากน้ำในถุงน้ำดีข้นเกินไปอาจส่งผลให้อวัยวะต่างๆทำงานผิดปกติได้ #หากไม่นอนในช่วงนี้จะเกิดถุงไขมันใต้ตา และไขมันพอกตับ . . เจริญธรรม สำนึกดี Pachäree Wõng November21, 2024 Sausalito, California.
    0 Comments 0 Shares 770 Views 0 Reviews
  • 13/11/67

    เช้านี้เต้นรำ รำมวย พร้อมระบบออนไลน์ซูม ที่ระเบียงบ้าน ก็หันหลังรับแดดยามเช้าซึ่งรู้ว่ามีประโยชน์ เลยถามChatGPT ได้รับคำตอบตามนี้ “การรับแสงแดดอ่อน ๆ ยามเช้าด้วยการหันหลังรับแดดประมาณ 15 นาที มีประโยชน์หลายประการ ได้แก่

    1. ช่วยกระตุ้นการสร้างวิตามินดี
    แสงแดดช่วยให้ร่างกายสร้างวิตามินดี ซึ่งเป็นสารอาหารสำคัญที่ช่วยในการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัส ช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน โดยเฉพาะในผู้สูงอายุที่ต้องการวิตามินดีมากขึ้น

    2. ช่วยส่งเสริมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน
    วิตามินดีจากแสงแดดช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้ดีขึ้น ลดความเสี่ยงของการติดเชื้อบางชนิด เช่น การติดเชื้อทางเดินหายใจ

    3. ช่วยปรับสมดุลอารมณ์
    การรับแสงแดดยามเช้าช่วยกระตุ้นการผลิตสารเซโรโทนินในสมอง ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่มีผลต่ออารมณ์และความรู้สึก มีส่วนช่วยลดความเครียดและความวิตกกังวลได้

    4. ช่วยในการนอนหลับที่ดีขึ้น
    การได้รับแสงแดดในช่วงเช้าช่วยปรับระบบนาฬิกาชีวิต (circadian rhythm) ของร่างกาย ทำให้รู้สึกตื่นตัวในตอนกลางวันและง่วงในตอนกลางคืน ซึ่งช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น

    5. ช่วยลดการอักเสบในร่างกาย
    วิตามินดีมีส่วนช่วยลดการอักเสบ และอาจช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

    แสงแดดในช่วงเช้า (ก่อน 10 โมง) มีความเข้มของรังสี UV ต่ำกว่าช่วงสายและบ่าย ทำให้เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการรับแดดโดยที่ไม่เสี่ยงต่อการทำลายผิว”
    13/11/67 เช้านี้เต้นรำ รำมวย พร้อมระบบออนไลน์ซูม ที่ระเบียงบ้าน ก็หันหลังรับแดดยามเช้าซึ่งรู้ว่ามีประโยชน์ เลยถามChatGPT ได้รับคำตอบตามนี้ “การรับแสงแดดอ่อน ๆ ยามเช้าด้วยการหันหลังรับแดดประมาณ 15 นาที มีประโยชน์หลายประการ ได้แก่ 1. ช่วยกระตุ้นการสร้างวิตามินดี แสงแดดช่วยให้ร่างกายสร้างวิตามินดี ซึ่งเป็นสารอาหารสำคัญที่ช่วยในการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัส ช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน โดยเฉพาะในผู้สูงอายุที่ต้องการวิตามินดีมากขึ้น 2. ช่วยส่งเสริมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน วิตามินดีจากแสงแดดช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้ดีขึ้น ลดความเสี่ยงของการติดเชื้อบางชนิด เช่น การติดเชื้อทางเดินหายใจ 3. ช่วยปรับสมดุลอารมณ์ การรับแสงแดดยามเช้าช่วยกระตุ้นการผลิตสารเซโรโทนินในสมอง ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่มีผลต่ออารมณ์และความรู้สึก มีส่วนช่วยลดความเครียดและความวิตกกังวลได้ 4. ช่วยในการนอนหลับที่ดีขึ้น การได้รับแสงแดดในช่วงเช้าช่วยปรับระบบนาฬิกาชีวิต (circadian rhythm) ของร่างกาย ทำให้รู้สึกตื่นตัวในตอนกลางวันและง่วงในตอนกลางคืน ซึ่งช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น 5. ช่วยลดการอักเสบในร่างกาย วิตามินดีมีส่วนช่วยลดการอักเสบ และอาจช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน แสงแดดในช่วงเช้า (ก่อน 10 โมง) มีความเข้มของรังสี UV ต่ำกว่าช่วงสายและบ่าย ทำให้เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการรับแดดโดยที่ไม่เสี่ยงต่อการทำลายผิว”
    0 Comments 0 Shares 321 Views 0 Reviews
  • ภาพแรก
    ซ้าย ไม่มี ฟลูออไรด์
    ขวา มี ฟลูออไรด์
    โลกคือมายา #ลวงทั้งโลก
    ฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ⁉️
    ท่านสามารถดาวน์โหลดรายงานการวิจัยที่ว่าด้วยฟลูออไรด์ต่อการลดความสามารถทางปัญญาในเด็กได้ถึง 32 หน้าฟรี ๆ ที่นี่
    https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3491930/
    Source :
    https://youtu.be/KLsjwWo1F2I
    --------------------------------------------------
    โดยทั่วไป #ฟลูออไรด์ เป็นสารทำลายต่อมไร้ท่อเนื่องจากฟลูออไรด์เป็นฮาไลด์ (halide)เช่นกัน มันจึงแข่งขันกับฮาไลด์ตัวอื่นที่ตัวรับเดียวกันในต่อมไทรอยด์ และที่อื่นๆ เพื่อจับกับไอโอดีน สิ่งนี้จะยับยั้งการผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ ซึ่งส่งผลให้มีฮอร์โมนไทรอยด์ในระดับต่ำ
    มีการพิสูจน์แล้วว่าฟลูออไรด์มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนการทำงานของต่อมไร้ท่อ
    แต่ความจริงข้อนี้ถูกละเลยโดยหน่วยงาน และสมาคมที่ยังคงส่งเสริมการใช้ฟลูออไรด์ต่อไป
    จากรายงานของ National Research Council of the National Academies ในปี 2549
    ฟลูออไรด์ "เป็นตัวทำลายต่อมไร้ท่อในแง่กว้างโดยปรับเปลี่ยนการทำงานของต่อมไร้ท่อที่เป็นปกติ"
    ฟังก์ชั่นที่เปลี่ยนแปลงนี้สามารถเกี่ยวข้องกับต่อมไทรอยด์ พาราไทรอยด์ และต่อมไพเนียลรวมถึงต่อมหมวกไต ตับอ่อน และต่อมใต้สมอง
    ต่อมไทรอยด์ของคุณ และฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่ในการรักษาอัตราการเผาผลาญโดยรวมของร่างกาย ควบคุมการเจริญเติบโตและการพัฒนาตามปกติ เนื่องจากเซลล์ที่มีการเผาผลาญทั้งหมดต้องการฮอร์โมนไทรอยด์เพื่อการทำงานที่เหมาะสม
    การหยุดชะงักของระบบนี้ อาจมีผลกระทบที่หลากหลายต่อแทบทุกระบบในร่างกายของคุณ ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ ถือเป็นหนึ่งในโรคที่พบมากที่สุดของโรคต่อมไร้ท่อ
    การใช้ฟลูออไรด์ในอดีต เป็นการแทรกแซงทางการแพทย์สำหรับ Hyperthyroid
    จนถึงปี 1970 นักวิทยาศาสตร์ในยุโรปได้กำหนดให้ใช้ฟลูออไรด์ เพื่อลดอัตราการเผาผลาญพื้นฐานในผู้ป่วยที่มีต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป ผลการศึกษาทางคลินิกที่ตีพิมพ์งานหนึ่งรายงานว่า
    ปริมาณฟลูออไรด์เพียง 2 - 3 มิลลิกรัม ซึ่งเป็นปริมาณที่ไม่มากนัก ถ้าได้รับอย่างสม่ำเสมอก็เพียงพอที่จะลดกิจกรรมของต่อมไทรอยด์ในผู้ป่วยได้
    การใช้ฟลูออไรด์เพื่อการรักษาต่อมไทรอยด์ได้รับการกระตุ้นโดยการวิจัยที่เริ่มต้นในปี 1800 ซึ่งเชื่อมโยงการบริโภคฟลูออไรด์กับคอพอก การบวมของต่อมไทรอยด์ที่เกิดจากภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์
    ในรายงานเมื่อปี 2549 Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards, the National Research Council (NRC) รายงานว่า
    "ข้อมูลหลายบรรทัด แสดงถึงผลกระทบของฟลูออไรด์ต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์" โดยเฉพาะรายงานที่กล่าวถึงการวิจัยแสดงให้เห็นว่า
    "การได้รับฟลูออไรด์ในมนุษย์นั้นมีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของ TSH ที่เพิ่มขึ้น เพิ่มความแพร่หลายของคอพอก และเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ T4 และ T3" นอกจากนั้นยังมีผลที่คล้ายกันใน T4 และ T3 รายงานในสัตว์ทดลอง
    นอกจากนี้ NRC ยังกล่าวถึงงานวิจัยที่เชื่อมโยงฟลูออไรด์ กับผลกระทบต่อกิจกรรมของพาราไธรอยด์ การด้อยค่าของการทนต่อกลูโคส และระยะเวลาของการคงไว้ซึ่งสภาวะทางเพศ
    จากการค้นพบเหล่านี้ คณะกรรมการ NRC แนะนำว่า "ผลกระทบของฟลูออไรด์ในแง่มุมต่างๆ ต่อการทำงานของต่อมไร้ท่อ ควรได้รับการตรวจสอบต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับบทบาทที่เป็นไปได้ในการพัฒนาโรคต่างๆ
    อย่างไรก็ตามผู้เสนอให้ใช้ฟลูออไรด์ยังคงเพิกเฉยต่อวรรณกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบที่เป็นอันตราย
    ฟลูออไรด์จำนวนเล็กน้อย เปลี่ยนการทำงานของต่อมไทรอยด์ของคุณได้อย่างน่าประหลาดใจ
    การทำงานของต่อมไทรอยด์ที่เปลี่ยนแปลงนั้นเกี่ยวข้องกับการได้รับฟลูออไรด์ในระดับต่ำถึง 0.05 - 0.1 มก. ฟลูออไรด์ต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน (มก. / กก. / วัน) หรือ 0.03 มก. / กก. / วัน
    สำหรับผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนัก 70 กิโลกรัม (154 ปอนด์) หมายความว่าฟลูออไรด์ 3.5 มก. ต่อวัน (หรือฟลูออไรด์ 0.7 มก. ต่อวันที่มีการขาดไอโอดีน) อาจทำให้ไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
    การวิเคราะห์โดยหน่วยงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกา ประมาณการว่าผู้ใหญ่ชาวอเมริกันโดยทั่วไปบริโภคฟลูออไรด์เกือบ 3 มิลลิกรัมทุกวัน และบางคนบริโภคเป็นประจำวันละ 6 มก. ขึ้นไป
    สำหรับเด็กที่มีน้ำหนัก 14 กิโลกรัม (30 ปอนด์) ฟลูออไรด์ที่ได้รับมากกว่า 0.7 มก. ต่อวัน (หรือ 0.14 มก. ต่อวันหากขาดไอโอดีน) ทำให้เด็กเสี่ยงต่อความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
    และ EPA (2010) ได้ทำการประเมินว่าเด็กที่อยู่ในช่วงน้ำหนักนี้ (อายุ 1- 3 ปี) ได้บริโภคฟลูออไรด์มากกว่า 1.5 มก. ในแต่ละวัน หรือมากกว่า 2 เท่า ของจำนวนที่จำเป็นในการกระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ที่เปลี่ยนแปลง การได้รับอย่างต่อเนื่องเหล่านี้อาจมีผลกระทบอย่างลึกซึ้งและตลอดชีวิตต่อพัฒนาการทางสติปัญญา ทางสังคม ทางเพศ และทางกายภาพโดยรวมของเด็ก
    การศึกษาจำนวนมากพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับฟลูออไรด์ในระดับค่อนข้างต่ำถึงปานกลาง และการลด IQ ในเด็ก แม้แต่ระดับฟลูออไรด์ที่น้อยกว่า 1.0 มก. / ล. ก็มีความสัมพันธ์กับ IQ ที่ลดลง และความถี่ที่เพิ่มขึ้นของภาวะไทรอยด์ทำงานในเด็กที่มีอาการขาดสารไอโอดีน
    การพิจารณาอย่างจริงจัง ว่าต่อมไทรอยด์ของคุณอาจเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางที่สุดในร่างกายของคุณต่อฟลูออไรด์ ก็อาจเป็นประโยชน์ต่อคุณ
    ฟลูออไรด์สะสมในต่อมไทรอยด์ของคุณมากกว่าเนื้อเยื่ออ่อนอื่นๆ
    ฟลูออไรด์อาจขัดขวางการทำงานของต่อมไทรอยด์ของคุณโดยตรง หรือโดยอ้อมด้วยการกระทำที่เป็นไปได้ รวมถึงความสามารถของฟลูออไรด์ในการเลียนแบบฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (TSH)
    - ทำลาย G-proteins ที่ละเอียดอ่อนซึ่งทำหน้าที่เป็นหน่วยการสร้างของตัวรับฮอร์โมนในร่างกายของคุณ
    -ทำลายเซลล์ของต่อมไทรอยด์ของคุณ
    -ทำลาย DNA ของคุณ
    -รบกวนการแปลงจากไทรอยด์ฮอร์โมน (T4) ที่ไม่ได้ใช้งานไปเป็นแบบฟอร์มที่ต้องใช้งาน (T3)
    จากข้อมูลของ PubMed Health พบว่าผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปี มีความเสี่ยงสูงสุดต่อการเกิดภาวะพร่อง หรือภาวะไทรอยด์ต่ำ เกือบ 4% ของประชากรสหรัฐอเมริกา
    มากกว่า 11 ล้านคน มีภาวะไทรอยด์ทำงานหนักเกินจริง นอกจากนี้ 10% ของประชากรทั่วไป 21 ล้านคน มีภาวะพร่องที่ไม่แสดงอาการซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่แข็งแกร่งสำหรับการพัฒนาต่อมาของภาวะพร่องไทรอยด์
    แม้จะมีอุบัติการณ์สูงขึ้นในประชากรที่มีอายุมากกว่า แต่อัตราการเกิดภาวะพร่องของ hypothyroidism ทารกแรกเกิดเพิ่มขึ้นเกือบ 75% ในช่วง 2ทศวรรษที่ผ่านมาในสหรัฐอเมริกาตอนนี้ส่งผลกระทบต่อ 1 ในทุกๆ 2,370 ของการเกิดภาวะพร่องในทารกแรกเกิดที่ไม่ได้รับการรักษา สามารถนำไปสู่ภาวะปัญญาอ่อน การชะลอการเจริญเติบโต และปัญหาหัวใจ
    เด็กที่เป็นโรคไทรอยด์ทำงานผิดปกติมาแต่กำเนิด หรือเยาวชน ได้รับรายงานว่ามีการล่าช้าของการงอกของฟัน หรือข้อบกพร่องในการเคลือบฟัน แม้ว่าการเชื่อมต่อระหว่างการค้นพบเหล่านี้กับผลกระทบของฟลูออไรด์ต่อไทรอยด์ยังไม่ได้ทำการศึกษา
    สิ่งที่เกี่ยวข้องอย่างยิ่ง คือความสัมพันธ์แบบผกผันระหว่างความรุนแรงของอาการที่ไม่แสดงอาการในหญิงตั้งครรภ์และ IQ ที่ลดลงของบุตรหลาน
    การพร่องของมารดายังได้รับการเสนอให้เป็นสาเหตุ หรือผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาออทิสติก
    ศักยภาพของฟลูออไรด์ที่จะส่งผลต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์ยังเป็นสิ่งจำเป็นอีกหลายประการ
    ดังนั้นวิธีการใช้ฟลูออไรด์วิธีการแบบไม่เจาะจง / การเติมฟลูออไรด์ในน้ำดื่มสาธารณะโดยเจตนา / การผสมเข้าไปในยาสีฟัน / การเคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์ เป็นปัญหาอย่างยิ่ง
    เนื่องจากจะทำให้ร่างกายของคุณสัมผัสกับสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ โดยไม่คำนึงถึงความต้องการ หรือความอ่อนไหวส่วนตัว และเป็นการละเมิดหลักการสำคัญของเภสัชวิทยาสมัยใหม่
    -----------------------------------
    Andersson M, de Benoist B,Delange F, Zupan J. 2007.Prevention and control of iodine deficiency in pregnant and lactating women and in children less
    Bharaktiya S, et al., 2010.Hypothyroidism. Medscape Reference.
    Delange F. 2004. Optimal iodine nutrition during pregnancy, lactation and neonatal period. Int J Endocrinol Metab 89:3851.
    Drugs.com. Undated. Top-selling drugs of 2009.
    IOM (Institute of Medicine). 2001. Dietary Reference Intakes for Vitamin A, Vitamin K, Arsenic, Boron, Chromium, Copper, Iodine, Iron, Manganese
    Larsen PR, Davies TF, Schlumberger MJ, Hay ID. 2002. Thyroid physiology and diagnostic evaluation of patients with thyroid disorders. Pp. 331-373
    PubMed Health. 2009. Neonatal hypothyroidism.
    PubMed Health. 2010. Hypothyroidism.
    Wang H, Yang Z, Zhou B, et al. 2009. Fluoride-induced thyroid dysfunction in rats: roles of dietary protein and calcium level. Toxicol Ind Health
    Zimmermann MB. 2009. Iodine deficiency in pregnancy and the effects of maternal iodine supplementation on the offspring: a review. Am J Clin Nutr
    1 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 507 pp.
    2 Maumené E. 1854. Compt Rend Acad Sci 39:538. May W. 1935. Antagonismus Zwischen Jod und Fluor im Organismus. Klinische Wochenschrift 14:790-92.
    3 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC.
    4 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC.
    5 EPA (U.S. Environmental Protection Agency). 2010. Fluoride: Exposure and Relative Source Contribution Analysis.
    6 Connett P, Beck J, Micklem HS. 2010. The Case Against Fluoride. How Hazardous Waste Ended Up in Our Drinking Water and the Bad Science
    7 Lin FF, Aihaiti HX, Zhao J, et al. 1991. The relationship of a low-iodine and high-fluoride environment to subclinical cretinism in Xinjiang.
    8 ICCIDD (International Council for the Control of Iodine Deficiency Disorders). 2011. Iodine Deficiency.
    9 Hollowell JG, Staehling NW, Hannon WH, et al. 1998. Iodine nutrition in the United States. Trends and public health implications: iodine excretion
    10 Lee SL, et al. 2009. Iodine Deficiency. Medscape Reference.
    11 Caldwell KL, Miller GA, Wang RY, et al. 2008. Iodine status of the U.S. population, National Health and Nutrition Examination Survey 2003-2004.
    12 Shashi A. 1988. Biochemical effects of Fluoride on thyroid gland duringexperimental fluorosis. Fluoride 21:127–130.
    13 Monsour PA, Kruger BJ. 1985. Effect of fluoride on soft tissue in vertebrates. Fluoride 18:53-61. / Call RA, Greenwood DA, LeCheminant H, et al. 1965.
    14 Ge Y, Ning H, Wang S, Wang J. 2005. DNA damage in thyroid gland cells of rats exposed to long-term intake of high fluoride and low iodine. Fluoride
    15 Gas'kov A, Savchenkov MF, Lushkov NN. 2005. [The specific features of the development of iodine deficiencies in children living under pollution]
    16 Aoki Y, Belin RM, Clickner R, et al. 2007. Serum TSH and total T4 in the United States population
    17 Olney RS, Grosse SD, Vogt RF. 2010. Prevalence of Congenital Hypothyroidism—Current Trends and Future Directions: Workshop Summary. Pediatrics 125
    18 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC.
    19 Klein RZ, Sargent JD, Larsen PR, et al. 2001. Relation of severity of maternal hypothyroidism to cognitive development in offspring. J Med Screen
    20 Román GC. 2007. Autism: Transient in utero hypothyroxinemia related to maternal flavonoid ingestion during pregnancy.
    Biological Trace Element Research :
    https://www.researchgate.net/.../345973053_In_Vitro...
    ✨✨✨✨✨✨✨
    ฟังคลิปคุณหมอ นาทีที่ 58
    https://youtu.be/AYAJJSOmdJo
    ✨✨✨✨✨✨✨
    ปฏิวัติสุขภาพกับอ.ปานเทพ เรื่อง ฟลูออไรด์ ภัยเงียบในน้ำดื่มน้ำใช้ยาสีฟัน
    https://youtu.be/741TFbVWJwQ
    https://youtu.be/s-ElDeuDl1I
    https://youtu.be/Y5Ad9L-B21c
    https://youtu.be/1KgS-_E05YE
    https://youtu.be/KLsjwWo1F2I
    ✨✨✨✨✨✨✨
    ฟลูออไรด์ในยาสีฟัน โดย อ.สันติ มานะดี
    https://www.facebook.com/10000435.../posts/1352913331530352/
    ✨✨✨✨✨✨✨
    สารฟลูโอไรด์ ( Fluoride )
    Little Girl Healthy SHOP - สินค้าส่งตรงจากอเมริกา
    กราฟแสดงระดับความรุนแรงของสารตะกั่ว สารหนูและฟลูโอไรด์
    ค่าระดับความเป็นพิษของฟลูโอไรด์ที่พุ่งแรงแซงสารตะกั่วไปอยู่ที่ระดับ 4 เกือบๆ 5 นั่นแปลว่า มันเป็นพิษมากจนถึงขั้นรุนแรง! ยิ่งถ้าบ้านใครมียาฆ่าหนูและแมลงสาบลองพลิกดูที่ส่วนผสมข้างกล่อง คุณอาจจะช็อกตาค้างมากกว่านี้ เพราะสิ่งเดียวที่เป็นส่วนผสมในยาเบื่อหนูคือฟลูโอไรด์
    ซึ่งความจริงแล้ว ฟลูออไรด์ได้นำมาใช้ครั้งแรกในเชิงอุตสาหกรรมเพื่อใช้เป็นยาเบื่อหนู ถามว่า.. แล้วทำไมมันถึงมาอยู่ในยาสีฟันล่ะ?
    จริงๆแล้วฟลูออไรด์ที่มีประโยชน์ต่อกระดูกและฟันอย่างแท้จริงมันคือ “แคลเซียมฟลูออไรด์ “ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่ที่ผสมอยู่ในยาสีฟันมันคือ "โซเดียมฟลูออไรด์"
    เป็นสารพิษที่ผลิตขึ้นในโรงงานซึ่งมีราคาถูกกว่า
    และถ้าใครที่คิดว่าฟลููโอไรด์ช่วยให้ฟันแข็งแรงป้องกันฟันผุ แบบที่เคยได้ยินกันจนคุ้นหูคุ้นตาในโฆษณาทีวีตั้งแต่เด็กๆคงต้องคิดใหม่ เพราะมันกลับเป็นตัวการทำให้เกิดฟันตกกระที่เรียกว่า Dental Fluorosis เกิดเป็นรอยกระดำกระด่างที่ผิวฟันจากการสะสมของสารพิษฟลูโอไรด์ในระยะยาว แถมยังมีผลต่อกระดูกทำให้กระดูกพรุนด้วย ข้อมูลจากวารสารการแพทย์ของรัฐนิวอิงแลนด์ สหรัฐอเมริกา รายงานว่า มีการใช้สารฟลูออไรด์เพื่อรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) แต่ผลกลับกลายเป็นว่า อัตราการเกิดกระดูกตะโพกร้าวสูงขึ้นกว่าปกติ
    และในปี 1993 นักวิทยาศาสตร์จากองค์การป้องกันสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกาได้ออกมาต่อต้านการเติมฟลูออไรด์ในน้ำดื่มและอาหาร นักวิทยาศาสตร์เหล่านั้นได้ยืนยันว่า ฟลูออไรด์ไม่ได้ป้องกันฟันผุ ผลตรงกันข้าม กลับมีเหตุการณ์แน่ชัดว่า มันเป็นตัวก่อมะเร็งได้ http://www.biowish.net/pages/med.htm
    เคยมีนักวิทยาศาสตร์ทำการทดลองผสมฟลูโอไรด์ในน้ำของค่ายกักกันที่รัซเซียในยุคคอมมิวนิสต์และอีกที่ในช่วงยุคนาซีที่เยอร์มัน มีจุดประสงค์ในการทดลองเพื่อจะดูว่าถ้านักโทษผู้โชคร้ายทั้งหลายกินน้ำผสมฟลูโอไรด์เข้าไปแล้วนักโทษจะเป็นยังไง
    ผลปรากฎว่า อารมณ์รุนแรงของนักโทษลดลงอย่างเห็นได้ชัด เปลี่ยนจากนักโทษโหดๆเป็นแมวหง่าวนั่งหงอย ไม่แยแสต่อสิ่งรอบข้างใดๆ ไม่ยกพวกตีกันเหมือนก่อน
    ฟังแล้วดูเหมือนจะดีใช่ไหมคะ.. แต่ความจริงแล้วมันน่ากลัวซะมากกว่า เพราะว่าฟลูโอไรด์มันมีผลโดยตรงต่อสมองน่ะสิ โดยมันเข้าไปทำลายต่อมไพนีล (Pineal gland) หรือเรียกว่าดวงตาที่ 3 ที่ทำหน้าที่ควบคุมร่างกาย โดยทำงานร่วมกับต่อมไฮโปทารามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นต่อมไร้ท่อทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน ทำหน้าที่เกี่ยวกับอารณ์ต่างๆ เช่นความหิว ความกระหาย ความต้องการทางเพศ ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นเหมือนนาฬิกาชีวิตซึ่งควบคุมอายุของมนุษย์
    ดังนั้นเมื่อต่อมนี้โดนทำลาย จึงทำให้เกิดความท้อแท้ หมดแรงจูงใจ ขาดความคิดริเริ่ม เป็นตัวลดไอคิว ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ และเนื่องจากการทดลองที่ประสบความสำเร็จของรัฐบาลครั้งนั้น ปัจจุบันนี้ฟลูโอไรด์เลยมาอยู่ในยาสีฟันให้เราใช้กันทุกวัน เปรียบได้กับอาวุธของรัฐบาลในการทำให้ประชาชนโง่และเป็นการควบคุมประชากรไปในตัว ในบางประเทศอย่างไอร์แลนด์ อเมริกา ถึงกับโดนมัดมือชกให้กินน้ำผสมยาพิษฟลูโอไรด์กันเลยทีเดียว
    โดยผสมมันลงในน้ำประปาสาธารณะ โดยอ้างว่าหวังดีอยากป้องกันโรคฟันผุให้ประชาชน แต่มีการพิสูจน์แล้วโดยเปรียบเทียบสุขภาพฟันของคนอังกฤษและอเมริกัน ปรากฎว่าสุขภาพฟันไม่ต่างกันเลยทั้งๆที่น้ำในประเทศอังกฤษไม่มีการฟลูโอไรด์ลงในน้ำ การกระทำที่มีนัยยะแอบแฝงแบบนี้เลยสร้างความไม่พอใจให้หลายๆคนในหลายประเทศที่ไม่เต็มใจจะโดนวางยาพิษในน้ำก๊อกที่ทำให้โง่และเป็นโรค แถมการเอาน้ำไปต้มให้เดือดก็ไม่ได้ช่วยอะไรยกเว้นเพิ่มความแรงของสารพิษให้สูงขึ้นอึก 7 เท่าตัว
    เคยสงสัยมั้ยว่าทำไมยาสีฟันที่มีผสมฟลูโอไรด์ต้องมีคำเตือนแปะอยู่ข้างหลอดว่าห้ามกลืน ถ้าใครเผลอกลืนต้องรีบพบแพทย์!! อะไรก็ตามที่ทำมาให้ใช้ได้ในปาก มันควรที่จะปลอดภัยมากกว่าเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคไม่ใช่หรือ? โดยเฉพาะยาสีฟันที่เราเอาใส่ปากเป็นสิ่งแรกและสิ่งสุดท้ายทุกๆวัน บางคนอาจคิดว่าอีคนเขียนนี่วิตกจริตฟุ้งซ่านมากไปป่ะ? ไม่มีใครเค้าโง่กลืนยาสีฟันหรอก แค่ใส่ปากแปรงๆแล้วก็บ้วนทิ้่ง โอเค ก็จริงอยู่ที่ไม่มีใครกลืนมันแบบตั้งใจ แต่มีใครแน่ใจร้อยเปอร์เซ็นต์บ้างล่ะ ว่ามันไม่ได้แอบตกค้างอยู่ตามซอกฟันซอกเหงือกให้คุณกลืนลงท้องทั้งคืน บวกกับอีกรอบตอนเช้า โดยเฉพาะเด็กๆ ที่อาจจะกลืนมันลงไปโดยไม่ตั้งใจถ้าไม่มีผู้ปกครองดูแล เชื่อหรือไม่ว่าฟลูโอไรด์เพียง 200 มิลลิกรัม หรือปริมาณยาสีฟันบีบออกมาเท่ากับความยาวของแปรงสีฟันนั้นสามารถฆ่าเด็กเล็กได้เลย และฆาตกรตัวจริงไม่ใช่ยาสีฟันแต่คือฟลูโอไรด์เพียวๆเลยหล่ะ จากรายงานของสมาคมศูนย์ควบคุมพิษอเมริกาบอกว่า ในปี 1994 มีคนตายจากฟลูออไรด์ที่ผสมในอาหารเสริมแล้วด้วย! Fluoride Alert .Org
    แคลเซียมฟลูออไรด์เป็นธาตุที่จำเป็น พบเป็นส่วนใหญ่ในกระดูก และเคลือบฟัน ช่วยทำให้กระดูกแข็งแรง และทำให้ฟันทนต่อการผุมากขึ้น แคลเซียมฟลูออไรด์อาจช่วยป้องกันโรคปริทันต์ด้วย และป้องกันโรคกระดูกพรุน แคลเซียมฟลูออไรด์พบในธรรมชาติ ในรูปของแคลเซียมคลอไรด์ มีอยู่ในพืชทุกชนิด สัตว์ น้ำ และ ดิน
    โซเดียมฟลูออไรด์ (Sodium Fluoride) เป็นสารอนินทรีย์ที่เกิดจากธาตุฟลูออรีน (Fluorine) ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางได้นำเอาโซเดียมฟลูออไรด์ไปผสมกับผลิตภัณฑ์ ยาสีฟัน น้ำยาบ้วนปากด้วยโซเดียมฟลูออไรด์
    การได้รับฟลูออรีน จะเกิดการสะสมของฟลูออรีนไว้ในร่างกายทีละน้อย จะทำให้เกิดความเสียหายและข้อบกพร่องขึ้นกับระบบโครงกระดูกและฟันสำหรับความผิดปกติของฟัน
    เกิดขึ้นโดยฟันจะมีลักษณะเป็นจุดสีขาวขุ่นๆ ซึ่งเดิมมีลักษณะใส นอกจากนี้ยังทำให้ฟันไม่แข็งแรงเท่าที่ควร ฟันจึงมักชำรุดแตกบิ่นง่าย ส่วนในระบบโครงกระดูกอาการที่พบคือ กระดูกจะเจริญเร็วมาก ซึ่งอาจจะสังเกตได้จากกระดูกขา กราม กระดูกซี่โครง ขากระเผลก เดินลำบาก ซึ่งเป็นผลจากการเจริญมากเกินไปของกระดูกหรือเกิดจากที่หินปูนไปจับกับเอ็นและข้อต่อของขา จึงทำให้ขาแข็ง ซึ่งอาการเหล่านี้จะเป็นอาการแบบถาวร
    แหล่งอาหาร แคลเซียมฟลูออไรด์ ตามธรรมชาติ
    1. ข้าวต่างๆ
    2. ผลไม้ เช่น แอปเปิล องุ่น ลูกแพร์ กล้วย และเชอร์รี่
    3. ผักต่างๆ เช่น หัวแครอท กระเทียม หัวบีท ผักใบเขียว กระจับ ถั่ว ข้าวโพด หัวไชเท้า มะเขือ หัวหอม มันฝรั่ง
    4. เนย เนยแข็ง เนยเหลว ไข่
    5. เมล็ดทานตะวัน
    6. อื่นๆ เช่น อาหารทะเล ถั่วเหลือง ปลา น้ำทะเล น้ำกระด้าง น้ำผึ้ง ชาดำ แหล่งอาหารที่ดีที่สุดของฟลูออไรด์คือ อาหารทะเล
    #สารฟลูออไรด์ในยาสีฟันก่อให้เกิดมะเร็ง จริงหรือไม่?
    ☠️☠️
    ทำไมเด็กในอเมริกาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเป็นอันดับ 1 นักวิจัยหลายๆท่านที่อเมริกา รวมทั้ง Charlotte Gerson ได้ไปทดสอบและพิสูจน์แล้วว่า ยาสีฟันที่ขายกันอยู่ตามท้องตลาดทั่วไปรวมทั้งยี่ห้อที่เราใช้กันอยู่ทุกวันมีส่วนผสมของ ฟลูออไรด์ ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง
    Charlotte ให้ผู้ป่วยที่มารับการรักษามะเร็งที่คลีนิคของเธอทุกคนเลิกใช้ยาสีฟันที่ผสมสารฟลูออไรด์ เธอยังบอกอีกว่าไม่แปลกใจเลยว่าปัจจุบันนี้ทำไมเด็กในอเมริกาเป็นโรคมะเร็งเพิ่มขึ้น เพราะยาสีฟันที่ใช้กันอยู่ ผสม สารฟลูออไรด์ แล้วยังใส่รสชาติเหมือนขนมหวานให้เด็กๆติดใจและอยากจะใช้ยาสีฟันแบบนี้
    🚑🚑
    เธอบอกความจริงว่าถ้าผู้บริโภคไม่มีใครป่วยเป็นโรคอะไรเลยแล้วผู้ผลิตยาจะทำธุรกิจได้กำไรจากที่ไหน ลองไปดูสิคะผู้ผลิตสิ่งเหล่านี้บางทีก็เป็นบริษัทเดียวกันกับผู้ผลิตยานั่นเอง ผลิตภัณฑ์ที่หมอฟันใช้กับคนไข้ไม่ว่าจะเป็นน้ำยาบ้วนปาก หรือแม้แต่สิ่งที่ใช้อุดฟันล้วนแล้วเป็นสารก่อมะเร็งทั้งนั้น
    🎗🎗
    ใครที่เป็นมะเร็งอยู่ก็ดูยาสีฟันกันหน่อยนะคะ
    ⛑⛑
    (ปีนี้ 2018 Charlotte Gerson เธออายุ 96 ปียังแข็งแรงและเดินสายสัมมนาเรื่องมะเร็ง นับถือจริงๆ)
    ด้วยความปรารถนาดี
    ...โค้ชนาตาลี
    ❤️❤️
    อ่านต่อ...
    From the book: Never Fear Cancer again by Raymond Francis
    ..........
    Fluoride Fluoride both switches on and drives cancer. Federal health officials continue to call fluoridation one of the ten great public-health achievements of the twentieth century, while it has long been known as one of our greatest public-health blunders. The scientific evidence that fluoride causes cancer is overwhelming, and this has been known for decades, despite attempts to obscure it.
    💉💉
    For example, recorded in the Congressional Record of 21 July 1976, the chief chemist of the National Cancer Institute, Dr. Dean Burke, stated before Congress, “In point of fact, fluoride causes more cancer death, and causes it faster than any other chemical.”
    ☠️☠️
    Fluoride is a general cellular poison, doing catastrophic biological damage that is beyond the scope of this chapter to describe, yet many of us are now ingesting daily amounts that far exceed even the government’s inadequate safety standards. Hundreds of studies have found a connection between fluoride and cancer; cities that fluoridate their water have significantly more cancer deaths than cities that do not fluoridate.
    ☠️☠️
    ***Fluoride causes cancer by reacting with enzymes, changing their shape and disabling them.***
    ⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️

    ด้วยรักและยาสีฟัน
    เวชหนุ่ม
    ภาพแรก ซ้าย ไม่มี ฟลูออไรด์ ขวา มี ฟลูออไรด์ โลกคือมายา #ลวงทั้งโลก ฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ⁉️ ท่านสามารถดาวน์โหลดรายงานการวิจัยที่ว่าด้วยฟลูออไรด์ต่อการลดความสามารถทางปัญญาในเด็กได้ถึง 32 หน้าฟรี ๆ ที่นี่ https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3491930/ Source : https://youtu.be/KLsjwWo1F2I -------------------------------------------------- โดยทั่วไป #ฟลูออไรด์ เป็นสารทำลายต่อมไร้ท่อเนื่องจากฟลูออไรด์เป็นฮาไลด์ (halide)เช่นกัน มันจึงแข่งขันกับฮาไลด์ตัวอื่นที่ตัวรับเดียวกันในต่อมไทรอยด์ และที่อื่นๆ เพื่อจับกับไอโอดีน สิ่งนี้จะยับยั้งการผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ ซึ่งส่งผลให้มีฮอร์โมนไทรอยด์ในระดับต่ำ มีการพิสูจน์แล้วว่าฟลูออไรด์มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนการทำงานของต่อมไร้ท่อ แต่ความจริงข้อนี้ถูกละเลยโดยหน่วยงาน และสมาคมที่ยังคงส่งเสริมการใช้ฟลูออไรด์ต่อไป จากรายงานของ National Research Council of the National Academies ในปี 2549 ฟลูออไรด์ "เป็นตัวทำลายต่อมไร้ท่อในแง่กว้างโดยปรับเปลี่ยนการทำงานของต่อมไร้ท่อที่เป็นปกติ" ฟังก์ชั่นที่เปลี่ยนแปลงนี้สามารถเกี่ยวข้องกับต่อมไทรอยด์ พาราไทรอยด์ และต่อมไพเนียลรวมถึงต่อมหมวกไต ตับอ่อน และต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ของคุณ และฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่ในการรักษาอัตราการเผาผลาญโดยรวมของร่างกาย ควบคุมการเจริญเติบโตและการพัฒนาตามปกติ เนื่องจากเซลล์ที่มีการเผาผลาญทั้งหมดต้องการฮอร์โมนไทรอยด์เพื่อการทำงานที่เหมาะสม การหยุดชะงักของระบบนี้ อาจมีผลกระทบที่หลากหลายต่อแทบทุกระบบในร่างกายของคุณ ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ ถือเป็นหนึ่งในโรคที่พบมากที่สุดของโรคต่อมไร้ท่อ การใช้ฟลูออไรด์ในอดีต เป็นการแทรกแซงทางการแพทย์สำหรับ Hyperthyroid จนถึงปี 1970 นักวิทยาศาสตร์ในยุโรปได้กำหนดให้ใช้ฟลูออไรด์ เพื่อลดอัตราการเผาผลาญพื้นฐานในผู้ป่วยที่มีต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป ผลการศึกษาทางคลินิกที่ตีพิมพ์งานหนึ่งรายงานว่า ปริมาณฟลูออไรด์เพียง 2 - 3 มิลลิกรัม ซึ่งเป็นปริมาณที่ไม่มากนัก ถ้าได้รับอย่างสม่ำเสมอก็เพียงพอที่จะลดกิจกรรมของต่อมไทรอยด์ในผู้ป่วยได้ การใช้ฟลูออไรด์เพื่อการรักษาต่อมไทรอยด์ได้รับการกระตุ้นโดยการวิจัยที่เริ่มต้นในปี 1800 ซึ่งเชื่อมโยงการบริโภคฟลูออไรด์กับคอพอก การบวมของต่อมไทรอยด์ที่เกิดจากภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ ในรายงานเมื่อปี 2549 Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards, the National Research Council (NRC) รายงานว่า "ข้อมูลหลายบรรทัด แสดงถึงผลกระทบของฟลูออไรด์ต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์" โดยเฉพาะรายงานที่กล่าวถึงการวิจัยแสดงให้เห็นว่า "การได้รับฟลูออไรด์ในมนุษย์นั้นมีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของ TSH ที่เพิ่มขึ้น เพิ่มความแพร่หลายของคอพอก และเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ T4 และ T3" นอกจากนั้นยังมีผลที่คล้ายกันใน T4 และ T3 รายงานในสัตว์ทดลอง นอกจากนี้ NRC ยังกล่าวถึงงานวิจัยที่เชื่อมโยงฟลูออไรด์ กับผลกระทบต่อกิจกรรมของพาราไธรอยด์ การด้อยค่าของการทนต่อกลูโคส และระยะเวลาของการคงไว้ซึ่งสภาวะทางเพศ จากการค้นพบเหล่านี้ คณะกรรมการ NRC แนะนำว่า "ผลกระทบของฟลูออไรด์ในแง่มุมต่างๆ ต่อการทำงานของต่อมไร้ท่อ ควรได้รับการตรวจสอบต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับบทบาทที่เป็นไปได้ในการพัฒนาโรคต่างๆ อย่างไรก็ตามผู้เสนอให้ใช้ฟลูออไรด์ยังคงเพิกเฉยต่อวรรณกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบที่เป็นอันตราย ฟลูออไรด์จำนวนเล็กน้อย เปลี่ยนการทำงานของต่อมไทรอยด์ของคุณได้อย่างน่าประหลาดใจ การทำงานของต่อมไทรอยด์ที่เปลี่ยนแปลงนั้นเกี่ยวข้องกับการได้รับฟลูออไรด์ในระดับต่ำถึง 0.05 - 0.1 มก. ฟลูออไรด์ต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน (มก. / กก. / วัน) หรือ 0.03 มก. / กก. / วัน สำหรับผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนัก 70 กิโลกรัม (154 ปอนด์) หมายความว่าฟลูออไรด์ 3.5 มก. ต่อวัน (หรือฟลูออไรด์ 0.7 มก. ต่อวันที่มีการขาดไอโอดีน) อาจทำให้ไทรอยด์ทำงานผิดปกติ การวิเคราะห์โดยหน่วยงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกา ประมาณการว่าผู้ใหญ่ชาวอเมริกันโดยทั่วไปบริโภคฟลูออไรด์เกือบ 3 มิลลิกรัมทุกวัน และบางคนบริโภคเป็นประจำวันละ 6 มก. ขึ้นไป สำหรับเด็กที่มีน้ำหนัก 14 กิโลกรัม (30 ปอนด์) ฟลูออไรด์ที่ได้รับมากกว่า 0.7 มก. ต่อวัน (หรือ 0.14 มก. ต่อวันหากขาดไอโอดีน) ทำให้เด็กเสี่ยงต่อความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ และ EPA (2010) ได้ทำการประเมินว่าเด็กที่อยู่ในช่วงน้ำหนักนี้ (อายุ 1- 3 ปี) ได้บริโภคฟลูออไรด์มากกว่า 1.5 มก. ในแต่ละวัน หรือมากกว่า 2 เท่า ของจำนวนที่จำเป็นในการกระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ที่เปลี่ยนแปลง การได้รับอย่างต่อเนื่องเหล่านี้อาจมีผลกระทบอย่างลึกซึ้งและตลอดชีวิตต่อพัฒนาการทางสติปัญญา ทางสังคม ทางเพศ และทางกายภาพโดยรวมของเด็ก การศึกษาจำนวนมากพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับฟลูออไรด์ในระดับค่อนข้างต่ำถึงปานกลาง และการลด IQ ในเด็ก แม้แต่ระดับฟลูออไรด์ที่น้อยกว่า 1.0 มก. / ล. ก็มีความสัมพันธ์กับ IQ ที่ลดลง และความถี่ที่เพิ่มขึ้นของภาวะไทรอยด์ทำงานในเด็กที่มีอาการขาดสารไอโอดีน การพิจารณาอย่างจริงจัง ว่าต่อมไทรอยด์ของคุณอาจเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางที่สุดในร่างกายของคุณต่อฟลูออไรด์ ก็อาจเป็นประโยชน์ต่อคุณ ฟลูออไรด์สะสมในต่อมไทรอยด์ของคุณมากกว่าเนื้อเยื่ออ่อนอื่นๆ ฟลูออไรด์อาจขัดขวางการทำงานของต่อมไทรอยด์ของคุณโดยตรง หรือโดยอ้อมด้วยการกระทำที่เป็นไปได้ รวมถึงความสามารถของฟลูออไรด์ในการเลียนแบบฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (TSH) - ทำลาย G-proteins ที่ละเอียดอ่อนซึ่งทำหน้าที่เป็นหน่วยการสร้างของตัวรับฮอร์โมนในร่างกายของคุณ -ทำลายเซลล์ของต่อมไทรอยด์ของคุณ -ทำลาย DNA ของคุณ -รบกวนการแปลงจากไทรอยด์ฮอร์โมน (T4) ที่ไม่ได้ใช้งานไปเป็นแบบฟอร์มที่ต้องใช้งาน (T3) จากข้อมูลของ PubMed Health พบว่าผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปี มีความเสี่ยงสูงสุดต่อการเกิดภาวะพร่อง หรือภาวะไทรอยด์ต่ำ เกือบ 4% ของประชากรสหรัฐอเมริกา มากกว่า 11 ล้านคน มีภาวะไทรอยด์ทำงานหนักเกินจริง นอกจากนี้ 10% ของประชากรทั่วไป 21 ล้านคน มีภาวะพร่องที่ไม่แสดงอาการซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่แข็งแกร่งสำหรับการพัฒนาต่อมาของภาวะพร่องไทรอยด์ แม้จะมีอุบัติการณ์สูงขึ้นในประชากรที่มีอายุมากกว่า แต่อัตราการเกิดภาวะพร่องของ hypothyroidism ทารกแรกเกิดเพิ่มขึ้นเกือบ 75% ในช่วง 2ทศวรรษที่ผ่านมาในสหรัฐอเมริกาตอนนี้ส่งผลกระทบต่อ 1 ในทุกๆ 2,370 ของการเกิดภาวะพร่องในทารกแรกเกิดที่ไม่ได้รับการรักษา สามารถนำไปสู่ภาวะปัญญาอ่อน การชะลอการเจริญเติบโต และปัญหาหัวใจ เด็กที่เป็นโรคไทรอยด์ทำงานผิดปกติมาแต่กำเนิด หรือเยาวชน ได้รับรายงานว่ามีการล่าช้าของการงอกของฟัน หรือข้อบกพร่องในการเคลือบฟัน แม้ว่าการเชื่อมต่อระหว่างการค้นพบเหล่านี้กับผลกระทบของฟลูออไรด์ต่อไทรอยด์ยังไม่ได้ทำการศึกษา สิ่งที่เกี่ยวข้องอย่างยิ่ง คือความสัมพันธ์แบบผกผันระหว่างความรุนแรงของอาการที่ไม่แสดงอาการในหญิงตั้งครรภ์และ IQ ที่ลดลงของบุตรหลาน การพร่องของมารดายังได้รับการเสนอให้เป็นสาเหตุ หรือผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาออทิสติก ศักยภาพของฟลูออไรด์ที่จะส่งผลต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์ยังเป็นสิ่งจำเป็นอีกหลายประการ ดังนั้นวิธีการใช้ฟลูออไรด์วิธีการแบบไม่เจาะจง / การเติมฟลูออไรด์ในน้ำดื่มสาธารณะโดยเจตนา / การผสมเข้าไปในยาสีฟัน / การเคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์ เป็นปัญหาอย่างยิ่ง เนื่องจากจะทำให้ร่างกายของคุณสัมผัสกับสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ โดยไม่คำนึงถึงความต้องการ หรือความอ่อนไหวส่วนตัว และเป็นการละเมิดหลักการสำคัญของเภสัชวิทยาสมัยใหม่ ----------------------------------- Andersson M, de Benoist B,Delange F, Zupan J. 2007.Prevention and control of iodine deficiency in pregnant and lactating women and in children less Bharaktiya S, et al., 2010.Hypothyroidism. Medscape Reference. Delange F. 2004. Optimal iodine nutrition during pregnancy, lactation and neonatal period. Int J Endocrinol Metab 89:3851. Drugs.com. Undated. Top-selling drugs of 2009. IOM (Institute of Medicine). 2001. Dietary Reference Intakes for Vitamin A, Vitamin K, Arsenic, Boron, Chromium, Copper, Iodine, Iron, Manganese Larsen PR, Davies TF, Schlumberger MJ, Hay ID. 2002. Thyroid physiology and diagnostic evaluation of patients with thyroid disorders. Pp. 331-373 PubMed Health. 2009. Neonatal hypothyroidism. PubMed Health. 2010. Hypothyroidism. Wang H, Yang Z, Zhou B, et al. 2009. Fluoride-induced thyroid dysfunction in rats: roles of dietary protein and calcium level. Toxicol Ind Health Zimmermann MB. 2009. Iodine deficiency in pregnancy and the effects of maternal iodine supplementation on the offspring: a review. Am J Clin Nutr 1 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 507 pp. 2 Maumené E. 1854. Compt Rend Acad Sci 39:538. May W. 1935. Antagonismus Zwischen Jod und Fluor im Organismus. Klinische Wochenschrift 14:790-92. 3 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 4 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 5 EPA (U.S. Environmental Protection Agency). 2010. Fluoride: Exposure and Relative Source Contribution Analysis. 6 Connett P, Beck J, Micklem HS. 2010. The Case Against Fluoride. How Hazardous Waste Ended Up in Our Drinking Water and the Bad Science 7 Lin FF, Aihaiti HX, Zhao J, et al. 1991. The relationship of a low-iodine and high-fluoride environment to subclinical cretinism in Xinjiang. 8 ICCIDD (International Council for the Control of Iodine Deficiency Disorders). 2011. Iodine Deficiency. 9 Hollowell JG, Staehling NW, Hannon WH, et al. 1998. Iodine nutrition in the United States. Trends and public health implications: iodine excretion 10 Lee SL, et al. 2009. Iodine Deficiency. Medscape Reference. 11 Caldwell KL, Miller GA, Wang RY, et al. 2008. Iodine status of the U.S. population, National Health and Nutrition Examination Survey 2003-2004. 12 Shashi A. 1988. Biochemical effects of Fluoride on thyroid gland duringexperimental fluorosis. Fluoride 21:127–130. 13 Monsour PA, Kruger BJ. 1985. Effect of fluoride on soft tissue in vertebrates. Fluoride 18:53-61. / Call RA, Greenwood DA, LeCheminant H, et al. 1965. 14 Ge Y, Ning H, Wang S, Wang J. 2005. DNA damage in thyroid gland cells of rats exposed to long-term intake of high fluoride and low iodine. Fluoride 15 Gas'kov A, Savchenkov MF, Lushkov NN. 2005. [The specific features of the development of iodine deficiencies in children living under pollution] 16 Aoki Y, Belin RM, Clickner R, et al. 2007. Serum TSH and total T4 in the United States population 17 Olney RS, Grosse SD, Vogt RF. 2010. Prevalence of Congenital Hypothyroidism—Current Trends and Future Directions: Workshop Summary. Pediatrics 125 18 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 19 Klein RZ, Sargent JD, Larsen PR, et al. 2001. Relation of severity of maternal hypothyroidism to cognitive development in offspring. J Med Screen 20 Román GC. 2007. Autism: Transient in utero hypothyroxinemia related to maternal flavonoid ingestion during pregnancy. Biological Trace Element Research : https://www.researchgate.net/.../345973053_In_Vitro... ✨✨✨✨✨✨✨ ฟังคลิปคุณหมอ นาทีที่ 58 https://youtu.be/AYAJJSOmdJo ✨✨✨✨✨✨✨ ปฏิวัติสุขภาพกับอ.ปานเทพ เรื่อง ฟลูออไรด์ ภัยเงียบในน้ำดื่มน้ำใช้ยาสีฟัน https://youtu.be/741TFbVWJwQ https://youtu.be/s-ElDeuDl1I https://youtu.be/Y5Ad9L-B21c https://youtu.be/1KgS-_E05YE https://youtu.be/KLsjwWo1F2I ✨✨✨✨✨✨✨ ฟลูออไรด์ในยาสีฟัน โดย อ.สันติ มานะดี https://www.facebook.com/10000435.../posts/1352913331530352/ ✨✨✨✨✨✨✨ สารฟลูโอไรด์ ( Fluoride ) Little Girl Healthy SHOP - สินค้าส่งตรงจากอเมริกา กราฟแสดงระดับความรุนแรงของสารตะกั่ว สารหนูและฟลูโอไรด์ ค่าระดับความเป็นพิษของฟลูโอไรด์ที่พุ่งแรงแซงสารตะกั่วไปอยู่ที่ระดับ 4 เกือบๆ 5 นั่นแปลว่า มันเป็นพิษมากจนถึงขั้นรุนแรง! ยิ่งถ้าบ้านใครมียาฆ่าหนูและแมลงสาบลองพลิกดูที่ส่วนผสมข้างกล่อง คุณอาจจะช็อกตาค้างมากกว่านี้ เพราะสิ่งเดียวที่เป็นส่วนผสมในยาเบื่อหนูคือฟลูโอไรด์ ซึ่งความจริงแล้ว ฟลูออไรด์ได้นำมาใช้ครั้งแรกในเชิงอุตสาหกรรมเพื่อใช้เป็นยาเบื่อหนู ถามว่า.. แล้วทำไมมันถึงมาอยู่ในยาสีฟันล่ะ? จริงๆแล้วฟลูออไรด์ที่มีประโยชน์ต่อกระดูกและฟันอย่างแท้จริงมันคือ “แคลเซียมฟลูออไรด์ “ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่ที่ผสมอยู่ในยาสีฟันมันคือ "โซเดียมฟลูออไรด์" เป็นสารพิษที่ผลิตขึ้นในโรงงานซึ่งมีราคาถูกกว่า และถ้าใครที่คิดว่าฟลููโอไรด์ช่วยให้ฟันแข็งแรงป้องกันฟันผุ แบบที่เคยได้ยินกันจนคุ้นหูคุ้นตาในโฆษณาทีวีตั้งแต่เด็กๆคงต้องคิดใหม่ เพราะมันกลับเป็นตัวการทำให้เกิดฟันตกกระที่เรียกว่า Dental Fluorosis เกิดเป็นรอยกระดำกระด่างที่ผิวฟันจากการสะสมของสารพิษฟลูโอไรด์ในระยะยาว แถมยังมีผลต่อกระดูกทำให้กระดูกพรุนด้วย ข้อมูลจากวารสารการแพทย์ของรัฐนิวอิงแลนด์ สหรัฐอเมริกา รายงานว่า มีการใช้สารฟลูออไรด์เพื่อรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) แต่ผลกลับกลายเป็นว่า อัตราการเกิดกระดูกตะโพกร้าวสูงขึ้นกว่าปกติ และในปี 1993 นักวิทยาศาสตร์จากองค์การป้องกันสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกาได้ออกมาต่อต้านการเติมฟลูออไรด์ในน้ำดื่มและอาหาร นักวิทยาศาสตร์เหล่านั้นได้ยืนยันว่า ฟลูออไรด์ไม่ได้ป้องกันฟันผุ ผลตรงกันข้าม กลับมีเหตุการณ์แน่ชัดว่า มันเป็นตัวก่อมะเร็งได้ http://www.biowish.net/pages/med.htm เคยมีนักวิทยาศาสตร์ทำการทดลองผสมฟลูโอไรด์ในน้ำของค่ายกักกันที่รัซเซียในยุคคอมมิวนิสต์และอีกที่ในช่วงยุคนาซีที่เยอร์มัน มีจุดประสงค์ในการทดลองเพื่อจะดูว่าถ้านักโทษผู้โชคร้ายทั้งหลายกินน้ำผสมฟลูโอไรด์เข้าไปแล้วนักโทษจะเป็นยังไง ผลปรากฎว่า อารมณ์รุนแรงของนักโทษลดลงอย่างเห็นได้ชัด เปลี่ยนจากนักโทษโหดๆเป็นแมวหง่าวนั่งหงอย ไม่แยแสต่อสิ่งรอบข้างใดๆ ไม่ยกพวกตีกันเหมือนก่อน ฟังแล้วดูเหมือนจะดีใช่ไหมคะ.. แต่ความจริงแล้วมันน่ากลัวซะมากกว่า เพราะว่าฟลูโอไรด์มันมีผลโดยตรงต่อสมองน่ะสิ โดยมันเข้าไปทำลายต่อมไพนีล (Pineal gland) หรือเรียกว่าดวงตาที่ 3 ที่ทำหน้าที่ควบคุมร่างกาย โดยทำงานร่วมกับต่อมไฮโปทารามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นต่อมไร้ท่อทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน ทำหน้าที่เกี่ยวกับอารณ์ต่างๆ เช่นความหิว ความกระหาย ความต้องการทางเพศ ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นเหมือนนาฬิกาชีวิตซึ่งควบคุมอายุของมนุษย์ ดังนั้นเมื่อต่อมนี้โดนทำลาย จึงทำให้เกิดความท้อแท้ หมดแรงจูงใจ ขาดความคิดริเริ่ม เป็นตัวลดไอคิว ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ และเนื่องจากการทดลองที่ประสบความสำเร็จของรัฐบาลครั้งนั้น ปัจจุบันนี้ฟลูโอไรด์เลยมาอยู่ในยาสีฟันให้เราใช้กันทุกวัน เปรียบได้กับอาวุธของรัฐบาลในการทำให้ประชาชนโง่และเป็นการควบคุมประชากรไปในตัว ในบางประเทศอย่างไอร์แลนด์ อเมริกา ถึงกับโดนมัดมือชกให้กินน้ำผสมยาพิษฟลูโอไรด์กันเลยทีเดียว โดยผสมมันลงในน้ำประปาสาธารณะ โดยอ้างว่าหวังดีอยากป้องกันโรคฟันผุให้ประชาชน แต่มีการพิสูจน์แล้วโดยเปรียบเทียบสุขภาพฟันของคนอังกฤษและอเมริกัน ปรากฎว่าสุขภาพฟันไม่ต่างกันเลยทั้งๆที่น้ำในประเทศอังกฤษไม่มีการฟลูโอไรด์ลงในน้ำ การกระทำที่มีนัยยะแอบแฝงแบบนี้เลยสร้างความไม่พอใจให้หลายๆคนในหลายประเทศที่ไม่เต็มใจจะโดนวางยาพิษในน้ำก๊อกที่ทำให้โง่และเป็นโรค แถมการเอาน้ำไปต้มให้เดือดก็ไม่ได้ช่วยอะไรยกเว้นเพิ่มความแรงของสารพิษให้สูงขึ้นอึก 7 เท่าตัว เคยสงสัยมั้ยว่าทำไมยาสีฟันที่มีผสมฟลูโอไรด์ต้องมีคำเตือนแปะอยู่ข้างหลอดว่าห้ามกลืน ถ้าใครเผลอกลืนต้องรีบพบแพทย์!! อะไรก็ตามที่ทำมาให้ใช้ได้ในปาก มันควรที่จะปลอดภัยมากกว่าเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคไม่ใช่หรือ? โดยเฉพาะยาสีฟันที่เราเอาใส่ปากเป็นสิ่งแรกและสิ่งสุดท้ายทุกๆวัน บางคนอาจคิดว่าอีคนเขียนนี่วิตกจริตฟุ้งซ่านมากไปป่ะ? ไม่มีใครเค้าโง่กลืนยาสีฟันหรอก แค่ใส่ปากแปรงๆแล้วก็บ้วนทิ้่ง โอเค ก็จริงอยู่ที่ไม่มีใครกลืนมันแบบตั้งใจ แต่มีใครแน่ใจร้อยเปอร์เซ็นต์บ้างล่ะ ว่ามันไม่ได้แอบตกค้างอยู่ตามซอกฟันซอกเหงือกให้คุณกลืนลงท้องทั้งคืน บวกกับอีกรอบตอนเช้า โดยเฉพาะเด็กๆ ที่อาจจะกลืนมันลงไปโดยไม่ตั้งใจถ้าไม่มีผู้ปกครองดูแล เชื่อหรือไม่ว่าฟลูโอไรด์เพียง 200 มิลลิกรัม หรือปริมาณยาสีฟันบีบออกมาเท่ากับความยาวของแปรงสีฟันนั้นสามารถฆ่าเด็กเล็กได้เลย และฆาตกรตัวจริงไม่ใช่ยาสีฟันแต่คือฟลูโอไรด์เพียวๆเลยหล่ะ จากรายงานของสมาคมศูนย์ควบคุมพิษอเมริกาบอกว่า ในปี 1994 มีคนตายจากฟลูออไรด์ที่ผสมในอาหารเสริมแล้วด้วย! Fluoride Alert .Org แคลเซียมฟลูออไรด์เป็นธาตุที่จำเป็น พบเป็นส่วนใหญ่ในกระดูก และเคลือบฟัน ช่วยทำให้กระดูกแข็งแรง และทำให้ฟันทนต่อการผุมากขึ้น แคลเซียมฟลูออไรด์อาจช่วยป้องกันโรคปริทันต์ด้วย และป้องกันโรคกระดูกพรุน แคลเซียมฟลูออไรด์พบในธรรมชาติ ในรูปของแคลเซียมคลอไรด์ มีอยู่ในพืชทุกชนิด สัตว์ น้ำ และ ดิน โซเดียมฟลูออไรด์ (Sodium Fluoride) เป็นสารอนินทรีย์ที่เกิดจากธาตุฟลูออรีน (Fluorine) ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางได้นำเอาโซเดียมฟลูออไรด์ไปผสมกับผลิตภัณฑ์ ยาสีฟัน น้ำยาบ้วนปากด้วยโซเดียมฟลูออไรด์ การได้รับฟลูออรีน จะเกิดการสะสมของฟลูออรีนไว้ในร่างกายทีละน้อย จะทำให้เกิดความเสียหายและข้อบกพร่องขึ้นกับระบบโครงกระดูกและฟันสำหรับความผิดปกติของฟัน เกิดขึ้นโดยฟันจะมีลักษณะเป็นจุดสีขาวขุ่นๆ ซึ่งเดิมมีลักษณะใส นอกจากนี้ยังทำให้ฟันไม่แข็งแรงเท่าที่ควร ฟันจึงมักชำรุดแตกบิ่นง่าย ส่วนในระบบโครงกระดูกอาการที่พบคือ กระดูกจะเจริญเร็วมาก ซึ่งอาจจะสังเกตได้จากกระดูกขา กราม กระดูกซี่โครง ขากระเผลก เดินลำบาก ซึ่งเป็นผลจากการเจริญมากเกินไปของกระดูกหรือเกิดจากที่หินปูนไปจับกับเอ็นและข้อต่อของขา จึงทำให้ขาแข็ง ซึ่งอาการเหล่านี้จะเป็นอาการแบบถาวร แหล่งอาหาร แคลเซียมฟลูออไรด์ ตามธรรมชาติ 1. ข้าวต่างๆ 2. ผลไม้ เช่น แอปเปิล องุ่น ลูกแพร์ กล้วย และเชอร์รี่ 3. ผักต่างๆ เช่น หัวแครอท กระเทียม หัวบีท ผักใบเขียว กระจับ ถั่ว ข้าวโพด หัวไชเท้า มะเขือ หัวหอม มันฝรั่ง 4. เนย เนยแข็ง เนยเหลว ไข่ 5. เมล็ดทานตะวัน 6. อื่นๆ เช่น อาหารทะเล ถั่วเหลือง ปลา น้ำทะเล น้ำกระด้าง น้ำผึ้ง ชาดำ แหล่งอาหารที่ดีที่สุดของฟลูออไรด์คือ อาหารทะเล #สารฟลูออไรด์ในยาสีฟันก่อให้เกิดมะเร็ง จริงหรือไม่? ☠️☠️ ทำไมเด็กในอเมริกาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเป็นอันดับ 1 นักวิจัยหลายๆท่านที่อเมริกา รวมทั้ง Charlotte Gerson ได้ไปทดสอบและพิสูจน์แล้วว่า ยาสีฟันที่ขายกันอยู่ตามท้องตลาดทั่วไปรวมทั้งยี่ห้อที่เราใช้กันอยู่ทุกวันมีส่วนผสมของ ฟลูออไรด์ ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง Charlotte ให้ผู้ป่วยที่มารับการรักษามะเร็งที่คลีนิคของเธอทุกคนเลิกใช้ยาสีฟันที่ผสมสารฟลูออไรด์ เธอยังบอกอีกว่าไม่แปลกใจเลยว่าปัจจุบันนี้ทำไมเด็กในอเมริกาเป็นโรคมะเร็งเพิ่มขึ้น เพราะยาสีฟันที่ใช้กันอยู่ ผสม สารฟลูออไรด์ แล้วยังใส่รสชาติเหมือนขนมหวานให้เด็กๆติดใจและอยากจะใช้ยาสีฟันแบบนี้ 🚑🚑 เธอบอกความจริงว่าถ้าผู้บริโภคไม่มีใครป่วยเป็นโรคอะไรเลยแล้วผู้ผลิตยาจะทำธุรกิจได้กำไรจากที่ไหน ลองไปดูสิคะผู้ผลิตสิ่งเหล่านี้บางทีก็เป็นบริษัทเดียวกันกับผู้ผลิตยานั่นเอง ผลิตภัณฑ์ที่หมอฟันใช้กับคนไข้ไม่ว่าจะเป็นน้ำยาบ้วนปาก หรือแม้แต่สิ่งที่ใช้อุดฟันล้วนแล้วเป็นสารก่อมะเร็งทั้งนั้น 🎗🎗 ใครที่เป็นมะเร็งอยู่ก็ดูยาสีฟันกันหน่อยนะคะ ⛑⛑ (ปีนี้ 2018 Charlotte Gerson เธออายุ 96 ปียังแข็งแรงและเดินสายสัมมนาเรื่องมะเร็ง นับถือจริงๆ) ด้วยความปรารถนาดี ...โค้ชนาตาลี ❤️❤️ อ่านต่อ... From the book: Never Fear Cancer again by Raymond Francis .......... Fluoride Fluoride both switches on and drives cancer. Federal health officials continue to call fluoridation one of the ten great public-health achievements of the twentieth century, while it has long been known as one of our greatest public-health blunders. The scientific evidence that fluoride causes cancer is overwhelming, and this has been known for decades, despite attempts to obscure it. 💉💉 For example, recorded in the Congressional Record of 21 July 1976, the chief chemist of the National Cancer Institute, Dr. Dean Burke, stated before Congress, “In point of fact, fluoride causes more cancer death, and causes it faster than any other chemical.” ☠️☠️ Fluoride is a general cellular poison, doing catastrophic biological damage that is beyond the scope of this chapter to describe, yet many of us are now ingesting daily amounts that far exceed even the government’s inadequate safety standards. Hundreds of studies have found a connection between fluoride and cancer; cities that fluoridate their water have significantly more cancer deaths than cities that do not fluoridate. ☠️☠️ ***Fluoride causes cancer by reacting with enzymes, changing their shape and disabling them.*** ⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️ ด้วยรักและยาสีฟัน เวชหนุ่ม
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 812 Views 0 Reviews
  • …นาฬิกาชีวิต…
    คนเราเมื่ออายุย่างเข้า
    60 ปี ให้นับ “ปี”
    70 ปี ให้นับ “เดือน”
    80 ปี ให้นับ “วัน”
    90 ปี ให้นับ “ชั่วโมง”
    100 ปี ให้นับ “นาที”
    ฉะนั้น…พวกเราแต่ละคน เหลือเวลาอีกเท่าไร ที่จะทำเพื่อ… ตัวเอง ? ครอบครัว ?? สังคม ??? และประเทศชาติ ????
    …นาฬิกาชีวิต… คนเราเมื่ออายุย่างเข้า 60 ปี ให้นับ “ปี” 70 ปี ให้นับ “เดือน” 80 ปี ให้นับ “วัน” 90 ปี ให้นับ “ชั่วโมง” 100 ปี ให้นับ “นาที” ฉะนั้น…พวกเราแต่ละคน เหลือเวลาอีกเท่าไร ที่จะทำเพื่อ… ตัวเอง ? ครอบครัว ?? สังคม ??? และประเทศชาติ ????
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 105 Views 0 Reviews
  • กินตอนไหน ไม่กินเมื่อไหร่ และกินเป็นช่วงยาวได้แค่ไหน?

    1- กินแต่เช้าไป 6 ชม แล้วอดต่อ 18 ชม (early eater)ดีกว่าไป กิน สายหรือ บ่าย ถึงเย็น หรือถึงค่ำ (late eater) แม้จะเป็น 6 ชม เท่ากัน
    2-ถ้าทำงานเป็นกะ กะละ 24 ชม จะปล่อยให้กินได้ยาวนานเท่าใด?
    กิน 10 ชม ดีกว่ากิน 16 ชม แม้ปริมาณ รวมเท่ากัน

    3- อาหารที่กินยังคงเป็นประเภทผัก ผลไม้ กากไยมาก เนื้อน้อย แป้งน้อย ปลาเยอะ และถั่ว

    รายงานการศึกษาทั้งสองชิ้นในวารสาร Cell Metabolism (clinical and translational report) 4 ตุลาคม 2022 ตอกย้ำการให้ความสำคัญกับเรื่องของอาหาร

    ซึ่งขณะนี้เราทราบกันดีอยู่แล้วว่า

    1- อาหารเมดิเตอร์เรเนียนที่มากผัก ผลไม้ กากใย น้ำมันมะกอก ไวน์แดง แป้งไม่มาก จัดเป็นอาหารช่วยชีวิต
    ซึ่งในคนไทยเราก็มีผักผลไม้มากมายมหาศาลตามฤดูกาลอยู่แล้ว
    ปรับแต่งให้เข้ากับรสชาติไทยๆ เป็นส้มตำ เคียงผักนานาชนิด แต่อย่าให้เค็มมาก ลดข้าวเหนียวลงบ้าง เนื้อสัตว์ทั้งหลายพยายามหลีกเลี่ยง แต่ได้โปรตีนจากถั่ว จากพืช และปลา ปู กุ้ง หอย

    2- แต่คำถามหลักใหญ่อีกข้อคือ ถ้ากินเท่าเดิม เป็นชนิดของอาหารที่ดีตามข้างต้น จะกินตอนไหนดีตั้งแต่หลังตื่นนอน หรือชะลอไปเที่ยงหรือหลังเที่ยงไปจนกระทั่งถึงสอง สามทุ่ม แบบไหนจะดีกว่ากัน หรือจะเรียกกันง่ายๆว่า early eater กับ late eater (เหมือนที่มีการศึกษาก่อนหน้าและหมอได้เคยเรียนให้ทราบในบทความ งดข้าวเช้า ตายเร็ว ในคอลัมน์สุขภาพหรรษานี้)

    3-และไม่นานมานี้ เราก็ทราบว่าการกินเป็นช่วงสั้นและกินแต่น้ำในช่วงเวลาที่เหลือในแต่ละวัน หรือจะเป็นเพียงผลไม้ที่เรียกว่า ไอ-เอฟ หรือ intermittent fasting โดย กิน 6 อด 18 ชั่วโมง หรือกิน 8 อด 16 ชั่วโมง หรือในหนึ่งสัปดาห์ กินปกติหกวัน ที่เหลืออีกหนึ่งวัน กินแต่น้ำ
    โดยที่ทั้งหลายทั้งปวงเหล่านี้ พิสูจน์แล้วว่าทำให้สุขภาพแข็งแรง ปลอดจากโรคคาร์ดิโอเมตาบอลิก (cardio metabolic) รวมทั้งมีรายงานพิสูจน์แล้วว่าช่วยลดความรุนแรงต้องเข้าโรงพยาบาลหรือเสียชีวิตจากการติดโควิด

    แต่ช่วงเวลาที่กิน ไอ-เอฟ จะกินตั้งแต่ครึ่งเช้าหรือจะกินบ่ายหรือค่ำ โดยระยะเวลาที่กินนั้นเท่ากัน?

    4-คำถามต่อมา คือว่า จะปล่อยให้กินได้ยาวนานเท่าใดถ้าเข้างาน 24 ชม

    รายงานแรกจากคณะทำงาน Salk Institute for biological studies, La Jolla กับ University of California, San Diego ทำการศึกษาในอาสาสมัครที่เป็นนักผจญเพลิงที่ทำงานเป็นกะ กะละ 24 ชั่วโมง และให้กินอาหารได้เป็นระยะ (time restricted eating) ในช่วงเวลา 10 ชั่วโมง เทียบกับให้มีอิสระมากขึ้นในการกินอาหารให้ได้ระยะเวลาถึง 14 ชั่วโมง โดยอาหารการกินนั้นเป็นอาหารแบบเมดิเตอร์เรเนียนเหมือนกัน และแบ่งกลุ่มละ 75 คน ศึกษาการกินอาหารดังกล่าวเป็นเวลา 12 สัปดาห์

    ทั้งนี้ มีข้อมูลสุขภาพพื้นฐานก่อนทำการศึกษาอย่างครบถ้วน และมีการประเมินข้อมูลสุขภาพอย่างถี่ยิบ ซึ่งรวมถึงระดับไขมัน ชนิดของไขมัน ความดันโลหิต ความอ้วน ระดับน้ำตาลสะสม และอื่นๆอีกมาก

    ผลปรากฏว่ากลุ่มที่กำหนดช่วงเวลาที่ให้กิน (time window) 10 ชั่วโมงนั้น มีสุขภาพดีแข็งแรงขึ้นกว่าอีกกลุ่มและภาวะสุขภาพทางคาร์ดิโอเมตาบอลิกดีขึ้น และควรจะได้เป็นหลักปฏิบัติสำหรับผู้ที่ต้องปฏิบัติงานเป็นกะ กะละถึง 24 ชั่วโมง

    โดยคนในกลุ่มนี้มีการศึกษาก่อนหน้าว่า สุขภาพเสื่อม โทรมไปทั้งสิ้น

    สำหรับในรายงานที่สองนั้น มาจากภาควิชาอายุรศาสตร์และประสาทวิทยา ฮาร์วาร์ด บอสตัน ร่วมกับสถาบันในประเทศเยอรมนีและสเปน
    โดยตั้งสมมติฐานจากการที่มนุษย์จะมีนาฬิกาชีวิต หรือสมอง กำหนดระยะเวลาของการกิน การออกกำลัง การทำงาน และการนอนหลับ ซึ่งมีส่วนที่แปรเปลี่ยนและสัมพันธ์กับเวลากลางวันและกลางคืน

    ดังนั้น ถ้าตื่นขึ้นมาปุ๊บแล้วกินเลย โดยให้ระยะเวลาการกินอยู่ที่ 5 ชั่วโมง และเทียบกับเมื่อตื่นขึ้นมาแล้ว ไม่ได้กินอาหาร กินข้าวเช้า แต่ไปเริ่มกินเอาเที่ยงหรือบ่ายไปแล้ว จนกระทั่งถึงหัวค่ำ โดยที่ทั้งสองกลุ่มนี้ กลุ่มใดจะให้
    ผลกระทบในทางเลว ในแง่ของการปรับอุณหภูมิในร่างกาย การปรับเปลี่ยนการใช้พลังงานของร่างกายและศึกษาลึกลงไปจนถึงเนื้อเยื่อไขมันในการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึมของไขมัน

    การศึกษานี้คัดสรรซอยย่อยตั้งแต่อาสาสมัคร 2,150 ราย และมีคุณสมบัติที่จะสามารถเข้าร่วมในการวิจัยอย่างเข้มข้นได้หรือไม่ จนกระทั่งท้ายสุดเหลืออยู่เพียงจำนวน 16 คน และแบ่งออกเป็นกลุ่มกินแต่เช้าเจ็ดคน และกลุ่มที่กินล่าช้าไปจนกระทั่งถึงเย็นค่ำเก้าคน และให้มีรูปแบบแผนในการกินเร็วและกินช้าแบบนี้สลับสับเปลี่ยนกัน โดยมีช่วงเวลาพัก (wash out period) ระหว่างสามถึง 12 สัปดาห์

    ผลของการศึกษาพบว่า กลุ่มที่กินช้าจะมีความรู้สึกหิวมากกว่า คล้องจองไปกับการที่มีฮอร์โมนที่เพิ่มการหิวข้าว และมีระยะตื่น (wake time) มากกว่า

    อัตราสัดส่วนของฮอร์โมน ghrelin ต่อ leptin ที่ 24 ชั่วโมงนั้นสูงขึ้น มีระบบการเผาผลาญใช้พลังงานลดลง และอุณหภูมิในร่างกายตลอด 24 ชั่วโมงลดลง

    นอกจากนั้นการวิเคราะห์ยีน พบว่า ยีนที่ควบคุมความเสถียรของเซลล์ และการคุมการคงมีชีวิตและการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของเซลล์ ในระบบ autophagy เป็นในทิศทางที่แย่ลง รวมทั้งมีการเผาผลาญไขมันลดลงและมีการเพิ่มการสร้างเนื้อเยื่อไขมันมากขึ้น

    ซึ่งทั้ง หลายทั้งปวงนี้บ่งบอกถึงการมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคอ้วน และโรคที่ตามติดมาจากผลพวงดังกล่าว

    ทั้งนี้ คณะผู้วิจัยทั้งสองกลุ่มต่างก็ให้ข้อสรุปในทิศทางคล้ายกัน คือ

    เริ่มกินตั้งแต่เช้าหรืออย่า งดมื้อเช้า และจำกัดระยะเวลาของการกินอยู่ในช่วง 5 ถึง 10 ชั่วโมงแรก

    และประเพณี ประพฤติ ปฏิบัติของการกินมื้อเย็น ดินเนอร์ตอน 5 โมงเย็น หรือล่าช้าไปถึงทุ่มหรือสามทุ่ม จะเป็นสิ่งที่อาจไม่ให้ผลดีต่อสุขภาพ และการกินตอนสายจนไปถึงบ่าย เย็น กลับจะเพิ่มความตะกละ อยากกิน จนอาจจะต้องลุกขึ้นมาหาอะไรกินตอนกลางคืน หรือตอนดึกไปอีก

    อาหารมื้อเช้านั้น น่าจะเป็นมื้อที่ใหญ่ที่สุดหรือไม่ ?

    จึงมีการศึกษาอีกชิ้นหนึ่งจากสกอตแลนด์และอังกฤษ พบว่า มื้อเช้าอาจจะไม่จำเป็นที่ต้องเป็นมื้อใหญ่เสมอไป แต่อยู่ในระยะเวลาของการกินและปริมาณของอาหารและชนิดของอาหารเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย

    ที่เรียนให้ทราบถึงตรงนี้ เพื่อที่จะให้รู้สึกสบายใจและมั่นใจที่จะเริ่มประพฤติปฏิบัติในการกินอาหารสุขภาพ ทราบถึงเวลาและระยะเวลาของการกิน ซึ่งจะมีผลต่อเนื่องไปจนถึงสุขภาพของร่างกายโดยรวม คุณภาพของการนอน และแน่นอน ส่งผลไปถึงสมองทำให้เสื่อมช้าลง (resistance) หรือแม้แต่เสื่อมแล้วก็ยังไม่แสดงอาการออกมาได้ (resilience)
    ชีวิตของเราเองเลือกได้ ที่จะไม่เป็นภาระต่อครอบครัว สังคม และทำให้ประเทศไทยของเรามั่งคั่งครับ..

    ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
    ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก
    มหาวิทยาลัยรังสิต
    กินตอนไหน ไม่กินเมื่อไหร่ และกินเป็นช่วงยาวได้แค่ไหน? 1- กินแต่เช้าไป 6 ชม แล้วอดต่อ 18 ชม (early eater)ดีกว่าไป กิน สายหรือ บ่าย ถึงเย็น หรือถึงค่ำ (late eater) แม้จะเป็น 6 ชม เท่ากัน 2-ถ้าทำงานเป็นกะ กะละ 24 ชม จะปล่อยให้กินได้ยาวนานเท่าใด? กิน 10 ชม ดีกว่ากิน 16 ชม แม้ปริมาณ รวมเท่ากัน 3- อาหารที่กินยังคงเป็นประเภทผัก ผลไม้ กากไยมาก เนื้อน้อย แป้งน้อย ปลาเยอะ และถั่ว รายงานการศึกษาทั้งสองชิ้นในวารสาร Cell Metabolism (clinical and translational report) 4 ตุลาคม 2022 ตอกย้ำการให้ความสำคัญกับเรื่องของอาหาร ซึ่งขณะนี้เราทราบกันดีอยู่แล้วว่า 1- อาหารเมดิเตอร์เรเนียนที่มากผัก ผลไม้ กากใย น้ำมันมะกอก ไวน์แดง แป้งไม่มาก จัดเป็นอาหารช่วยชีวิต ซึ่งในคนไทยเราก็มีผักผลไม้มากมายมหาศาลตามฤดูกาลอยู่แล้ว ปรับแต่งให้เข้ากับรสชาติไทยๆ เป็นส้มตำ เคียงผักนานาชนิด แต่อย่าให้เค็มมาก ลดข้าวเหนียวลงบ้าง เนื้อสัตว์ทั้งหลายพยายามหลีกเลี่ยง แต่ได้โปรตีนจากถั่ว จากพืช และปลา ปู กุ้ง หอย 2- แต่คำถามหลักใหญ่อีกข้อคือ ถ้ากินเท่าเดิม เป็นชนิดของอาหารที่ดีตามข้างต้น จะกินตอนไหนดีตั้งแต่หลังตื่นนอน หรือชะลอไปเที่ยงหรือหลังเที่ยงไปจนกระทั่งถึงสอง สามทุ่ม แบบไหนจะดีกว่ากัน หรือจะเรียกกันง่ายๆว่า early eater กับ late eater (เหมือนที่มีการศึกษาก่อนหน้าและหมอได้เคยเรียนให้ทราบในบทความ งดข้าวเช้า ตายเร็ว ในคอลัมน์สุขภาพหรรษานี้)  3-และไม่นานมานี้ เราก็ทราบว่าการกินเป็นช่วงสั้นและกินแต่น้ำในช่วงเวลาที่เหลือในแต่ละวัน หรือจะเป็นเพียงผลไม้ที่เรียกว่า ไอ-เอฟ หรือ intermittent fasting โดย กิน 6 อด 18 ชั่วโมง หรือกิน 8 อด 16 ชั่วโมง หรือในหนึ่งสัปดาห์ กินปกติหกวัน ที่เหลืออีกหนึ่งวัน กินแต่น้ำ โดยที่ทั้งหลายทั้งปวงเหล่านี้ พิสูจน์แล้วว่าทำให้สุขภาพแข็งแรง ปลอดจากโรคคาร์ดิโอเมตาบอลิก (cardio metabolic) รวมทั้งมีรายงานพิสูจน์แล้วว่าช่วยลดความรุนแรงต้องเข้าโรงพยาบาลหรือเสียชีวิตจากการติดโควิด แต่ช่วงเวลาที่กิน ไอ-เอฟ จะกินตั้งแต่ครึ่งเช้าหรือจะกินบ่ายหรือค่ำ โดยระยะเวลาที่กินนั้นเท่ากัน? 4-คำถามต่อมา คือว่า จะปล่อยให้กินได้ยาวนานเท่าใดถ้าเข้างาน 24 ชม รายงานแรกจากคณะทำงาน Salk Institute for biological studies, La Jolla กับ University of California, San Diego ทำการศึกษาในอาสาสมัครที่เป็นนักผจญเพลิงที่ทำงานเป็นกะ กะละ 24 ชั่วโมง และให้กินอาหารได้เป็นระยะ (time restricted eating) ในช่วงเวลา 10 ชั่วโมง เทียบกับให้มีอิสระมากขึ้นในการกินอาหารให้ได้ระยะเวลาถึง 14 ชั่วโมง โดยอาหารการกินนั้นเป็นอาหารแบบเมดิเตอร์เรเนียนเหมือนกัน และแบ่งกลุ่มละ 75 คน ศึกษาการกินอาหารดังกล่าวเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ทั้งนี้ มีข้อมูลสุขภาพพื้นฐานก่อนทำการศึกษาอย่างครบถ้วน และมีการประเมินข้อมูลสุขภาพอย่างถี่ยิบ ซึ่งรวมถึงระดับไขมัน ชนิดของไขมัน ความดันโลหิต ความอ้วน ระดับน้ำตาลสะสม และอื่นๆอีกมาก ผลปรากฏว่ากลุ่มที่กำหนดช่วงเวลาที่ให้กิน (time window) 10 ชั่วโมงนั้น มีสุขภาพดีแข็งแรงขึ้นกว่าอีกกลุ่มและภาวะสุขภาพทางคาร์ดิโอเมตาบอลิกดีขึ้น และควรจะได้เป็นหลักปฏิบัติสำหรับผู้ที่ต้องปฏิบัติงานเป็นกะ กะละถึง 24 ชั่วโมง โดยคนในกลุ่มนี้มีการศึกษาก่อนหน้าว่า สุขภาพเสื่อม โทรมไปทั้งสิ้น สำหรับในรายงานที่สองนั้น มาจากภาควิชาอายุรศาสตร์และประสาทวิทยา ฮาร์วาร์ด บอสตัน ร่วมกับสถาบันในประเทศเยอรมนีและสเปน โดยตั้งสมมติฐานจากการที่มนุษย์จะมีนาฬิกาชีวิต หรือสมอง กำหนดระยะเวลาของการกิน การออกกำลัง การทำงาน และการนอนหลับ ซึ่งมีส่วนที่แปรเปลี่ยนและสัมพันธ์กับเวลากลางวันและกลางคืน ดังนั้น ถ้าตื่นขึ้นมาปุ๊บแล้วกินเลย โดยให้ระยะเวลาการกินอยู่ที่ 5 ชั่วโมง และเทียบกับเมื่อตื่นขึ้นมาแล้ว ไม่ได้กินอาหาร กินข้าวเช้า แต่ไปเริ่มกินเอาเที่ยงหรือบ่ายไปแล้ว จนกระทั่งถึงหัวค่ำ โดยที่ทั้งสองกลุ่มนี้ กลุ่มใดจะให้ ผลกระทบในทางเลว ในแง่ของการปรับอุณหภูมิในร่างกาย การปรับเปลี่ยนการใช้พลังงานของร่างกายและศึกษาลึกลงไปจนถึงเนื้อเยื่อไขมันในการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึมของไขมัน การศึกษานี้คัดสรรซอยย่อยตั้งแต่อาสาสมัคร 2,150 ราย และมีคุณสมบัติที่จะสามารถเข้าร่วมในการวิจัยอย่างเข้มข้นได้หรือไม่ จนกระทั่งท้ายสุดเหลืออยู่เพียงจำนวน 16 คน และแบ่งออกเป็นกลุ่มกินแต่เช้าเจ็ดคน และกลุ่มที่กินล่าช้าไปจนกระทั่งถึงเย็นค่ำเก้าคน และให้มีรูปแบบแผนในการกินเร็วและกินช้าแบบนี้สลับสับเปลี่ยนกัน โดยมีช่วงเวลาพัก (wash out period) ระหว่างสามถึง 12 สัปดาห์ ผลของการศึกษาพบว่า กลุ่มที่กินช้าจะมีความรู้สึกหิวมากกว่า คล้องจองไปกับการที่มีฮอร์โมนที่เพิ่มการหิวข้าว และมีระยะตื่น (wake time) มากกว่า อัตราสัดส่วนของฮอร์โมน ghrelin ต่อ leptin ที่ 24 ชั่วโมงนั้นสูงขึ้น มีระบบการเผาผลาญใช้พลังงานลดลง และอุณหภูมิในร่างกายตลอด 24 ชั่วโมงลดลง นอกจากนั้นการวิเคราะห์ยีน พบว่า ยีนที่ควบคุมความเสถียรของเซลล์ และการคุมการคงมีชีวิตและการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของเซลล์ ในระบบ autophagy เป็นในทิศทางที่แย่ลง รวมทั้งมีการเผาผลาญไขมันลดลงและมีการเพิ่มการสร้างเนื้อเยื่อไขมันมากขึ้น ซึ่งทั้ง หลายทั้งปวงนี้บ่งบอกถึงการมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคอ้วน และโรคที่ตามติดมาจากผลพวงดังกล่าว ทั้งนี้ คณะผู้วิจัยทั้งสองกลุ่มต่างก็ให้ข้อสรุปในทิศทางคล้ายกัน คือ เริ่มกินตั้งแต่เช้าหรืออย่า งดมื้อเช้า และจำกัดระยะเวลาของการกินอยู่ในช่วง 5 ถึง 10 ชั่วโมงแรก และประเพณี ประพฤติ ปฏิบัติของการกินมื้อเย็น ดินเนอร์ตอน 5 โมงเย็น หรือล่าช้าไปถึงทุ่มหรือสามทุ่ม จะเป็นสิ่งที่อาจไม่ให้ผลดีต่อสุขภาพ และการกินตอนสายจนไปถึงบ่าย เย็น กลับจะเพิ่มความตะกละ อยากกิน จนอาจจะต้องลุกขึ้นมาหาอะไรกินตอนกลางคืน หรือตอนดึกไปอีก อาหารมื้อเช้านั้น น่าจะเป็นมื้อที่ใหญ่ที่สุดหรือไม่ ? จึงมีการศึกษาอีกชิ้นหนึ่งจากสกอตแลนด์และอังกฤษ พบว่า มื้อเช้าอาจจะไม่จำเป็นที่ต้องเป็นมื้อใหญ่เสมอไป แต่อยู่ในระยะเวลาของการกินและปริมาณของอาหารและชนิดของอาหารเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ที่เรียนให้ทราบถึงตรงนี้ เพื่อที่จะให้รู้สึกสบายใจและมั่นใจที่จะเริ่มประพฤติปฏิบัติในการกินอาหารสุขภาพ ทราบถึงเวลาและระยะเวลาของการกิน ซึ่งจะมีผลต่อเนื่องไปจนถึงสุขภาพของร่างกายโดยรวม คุณภาพของการนอน และแน่นอน ส่งผลไปถึงสมองทำให้เสื่อมช้าลง (resistance) หรือแม้แต่เสื่อมแล้วก็ยังไม่แสดงอาการออกมาได้ (resilience) ชีวิตของเราเองเลือกได้ ที่จะไม่เป็นภาระต่อครอบครัว สังคม และทำให้ประเทศไทยของเรามั่งคั่งครับ.. ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    Like
    Love
    Yay
    19
    1 Comments 4 Shares 677 Views 0 Reviews
  • นาฬิกาชีวิต
    นาฬิกาชีวิต
    0 Comments 0 Shares 102 Views 0 Reviews