• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    สัทธรรมลำดับที่ : 1025
    ชื่อบทธรรม : -วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    --นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย
    ๑.ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทเธอเวจจัปปสาเทนะ)
    ดังนี้ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=พุทฺเธ+อเวจฺจปฺปสาเทน
    “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
    เป็นผู้ไกลจากกิเลส
    ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
    เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
    เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
    เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง
    เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
    เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม
    เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์”
    ดังนี้.
    อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่
    เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว
    แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือ
    เพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=ปวิเวกาย+ปฏิสลฺลานาย
    +--เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้,
    ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น;
    เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ;
    ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข;
    จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ)
    เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ;
    เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ
    ได้ว่า
    เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.

    (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะ
    ที่สอง คือ
    ๒.ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี
    ที่สาม คือ
    ๓.ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี
    ที่สี่ คือ
    ๔.ความมีศีลอ้นเป็นอริย-ประเสริฐ (อริยกันตศีล--อริยกนฺเตหิ สีเลหิ)​
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=อริยกนฺเตหิ+สีเลหิ
    ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบน
    ที่กล่าวถึงความ
    ๑.เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า
    )
    --นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า #เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.-

    (ขอให้สังเกตเห็นใจความสำคัญที่ว่า
    แม้จะเป็นเตรียม พระโสดาบัน (คือธัมมานุสารี และสัทธานุสารีก็ตาม)
    หรือ เป็นพระโสดาบันแล้วก็ตาม
    ยังมีกิจคือความไม่ประมาทที่จะต้องกระทำสืบต่อยิ่งขึ้นไป
    ความข้อความในพระสูตรนี้ ให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอยู่เสมอ.
    ข้อปฏิบัติเหล่านั้นมีใจความสำคัญอยู่ที่ว่า
    กลางวันมีวิเวก คือสงัดจากความรบกวนภายนอก
    กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ คือจิตไม่ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ
    แต่มากำหนดอยู่ที่ธรรมอันควรกำหนดอยู่ตลอดเวลา
    จนเกิดผลตามลำดับ นับตั้งแต่ความปราโมทย์
    ไปจนถึงความปรากฏแห่งธรรมที่ยังไม่เคยปรากฏ.
    อริยสาวกชั้นที่สูงขึ้นไปก็มีหลักปฏิบัติทำนองนี้ คือ
    กลางวันมีวิเวิก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ
    เพื่อบรรลุธรรมชั้นที่สูงขึ้นไปกว่าที่บรรลุอยู่ จนกระทั่งถึงชั้นพระอรหันต์.
    แม้ชั้นพระอรหันต์ซึ่งเป็นชั้นที่ถึงที่สุดแห่งความไม่ประมาทแล้ว
    ก็ยังมีวิเวกในกลางวัน มีปฏิสัลลาณะในกลางคืน
    เพื่อความอยู่เป็นผาสุกของบุคคลผู้ถึงที่สุดแห่งพรหมจรรย์.
    ขอให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการอยู่อย่างมีวิเวกและมีปฏิสัลลาณะ
    ว่าเป็นฐานรากในการสืบต่อความไม่ประมาทให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปในตัวเอง
    โดยไม่ต้องลำบากมากมายนัก
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/359/1602
    http://etipitaka.com/read/thai/19/395/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๐๑/๑๖๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1025
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก สัทธรรมลำดับที่ : 1025 ชื่อบทธรรม : -วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025 เนื้อความทั้งหมด :- --วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก --นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? --นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย ๑.ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทเธอเวจจัปปสาเทนะ) ดังนี้ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=พุทฺเธ+อเวจฺจปฺปสาเทน “แม้เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์” ดังนี้. อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่ เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือ เพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน. http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=ปวิเวกาย+ปฏิสลฺลานาย +--เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้, ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ; ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข; จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ; เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ ได้ว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะ ที่สอง คือ ๒.ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สาม คือ ๓.ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สี่ คือ ๔.ความมีศีลอ้นเป็นอริย-ประเสริฐ (อริยกันตศีล--อริยกนฺเตหิ สีเลหิ)​ http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=อริยกนฺเตหิ+สีเลหิ ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบน ที่กล่าวถึงความ ๑.เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ) --นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า #เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.- (ขอให้สังเกตเห็นใจความสำคัญที่ว่า แม้จะเป็นเตรียม พระโสดาบัน (คือธัมมานุสารี และสัทธานุสารีก็ตาม) หรือ เป็นพระโสดาบันแล้วก็ตาม ยังมีกิจคือความไม่ประมาทที่จะต้องกระทำสืบต่อยิ่งขึ้นไป ความข้อความในพระสูตรนี้ ให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอยู่เสมอ. ข้อปฏิบัติเหล่านั้นมีใจความสำคัญอยู่ที่ว่า กลางวันมีวิเวก คือสงัดจากความรบกวนภายนอก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ คือจิตไม่ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ แต่มากำหนดอยู่ที่ธรรมอันควรกำหนดอยู่ตลอดเวลา จนเกิดผลตามลำดับ นับตั้งแต่ความปราโมทย์ ไปจนถึงความปรากฏแห่งธรรมที่ยังไม่เคยปรากฏ. อริยสาวกชั้นที่สูงขึ้นไปก็มีหลักปฏิบัติทำนองนี้ คือ กลางวันมีวิเวิก กลางคืนมีปฏิสัลลาณะ เพื่อบรรลุธรรมชั้นที่สูงขึ้นไปกว่าที่บรรลุอยู่ จนกระทั่งถึงชั้นพระอรหันต์. แม้ชั้นพระอรหันต์ซึ่งเป็นชั้นที่ถึงที่สุดแห่งความไม่ประมาทแล้ว ก็ยังมีวิเวกในกลางวัน มีปฏิสัลลาณะในกลางคืน เพื่อความอยู่เป็นผาสุกของบุคคลผู้ถึงที่สุดแห่งพรหมจรรย์. ขอให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการอยู่อย่างมีวิเวกและมีปฏิสัลลาณะ ว่าเป็นฐานรากในการสืบต่อความไม่ประมาทให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปในตัวเอง โดยไม่ต้องลำบากมากมายนัก ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/359/1602 http://etipitaka.com/read/thai/19/395/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๐๑/๑๖๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/19/501/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1025 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1025 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก
    -(ผู้ยึดการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคเป็นหลัก พึงมองให้เห็นความสำคัญที่สุดแห่งพระบาลีนี้ ที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าปฏิบัติในชั้นลึกคือการรู้เห็นอย่างถูกต้องเกี่ยวกับอายตนะอันเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาอุปทานแล้ว ย่อมเป็นเคล็ดลับในการปฏิบัติอริยอัฏฐังคิกมรรคอย่างครบถ้วน ขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ไม่เสียเวลามากเหมือนผู้ปฏิบัติชนิดแจกแจงเป็นองค์ๆ และองค์ละหลายๆ อย่าง ซึ่งโดยมากปฏิบัติจนตายหรือเกือบตายก็ไม่เคยประสบความสำเร็จ จึงขอเน้นความสำคัญอย่างยิ่งแห่งพระบาลีนี้ แก่ผู้ปฏิบัติทุกคน. ข้อความที่ยกมานี้ ยกมาแต่ข้อความที่แสดงด้วยเรื่องของจักษุ ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงเอาเองออกไปถึงเรื่องของ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมโน แต่ละอย่างๆ ออกเป็นห้าประเด็น เหมือนอย่างที่แสดงไว้ในกรณีแห่งจักษุข้างต้นนั้น, ก็จะได้อายตนะนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่าง; รวมเป็น ๓๐ อย่าง โดยบริบูรณ์). วิธีการสืบต่อความไม่ประมาทของอริยสาวก นันทิยะ ! อริยสาวก เป็นผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? นันทิยะ ! ในกรณีนี้คือ อริยสาวก เป็นผู้ประกอบด้วย ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว (พุทธอเวจจัปปสาทะ) ดังนี้ว่า “แม้เพราะ เหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์” ดังนี้. อริยสาวกนั้น ไม่มีความพอใจหยุดอยู่ เพียงแค่ความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าอย่างไม่หวั่นไหว แต่พยายามให้ยิ่งขึ้นไป คือเพื่อความวิเวกในกลางวัน เพื่อความหลีกเร้นในกลางคืน. เมื่ออริยสาวกนั้น เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่อย่างนี้, ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติ (ความอิ่มใจ) ย่อมเกิดขึ้น; เมื่อมีใจปีติ กายก็สงบระงับ; ผู้มีกายสงบระงับ ย่อมรู้สึกเป็นสุข; จิตของ ผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น (เป็นสมาธิ) เมื่อจิตตั้งมั่น ธรรม (ที่ยังไม่เคยปรากฏ) ย่อมปรากฏ; เพราะความปรากฏแห่งธรรม อริยสาวกนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับ ได้ว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่งโสตาปัตติยังคะที่สอง คือ ความเลื่อมใสในพระธรรมอย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สามคือ ความเลื่อมใสในพระสงฆ์อย่างไม่หวั่นไหว ก็ดี ที่สี่คือ ความมีศีลที่พระอริยเจ้าพอใจ (อริยกันตศีล) ก็ดี ก็ได้ทรงตรัสไว้มีข้อความอย่างเดียวกันกับข้อความข้างบนที่กล่าวถึงความ เลื่อมใสไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ) นันทิยะ ! อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 252 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    สัทธรรมลำดับที่ : 981
    ชื่อบทธรรม : -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    --ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว
    สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท.

    ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ
    http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=อรหนฺโต+ขีณาสวา
    อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว
    มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว
    มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น
    เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท.
    ข้อนี้เพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุว่า #กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาทเธอทำเสร็จแล้ว และ
    เธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป.

    ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ
    มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ
    ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่;
    +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้
    จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร
    จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร
    จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย
    ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า
    ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน
    ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนโดยชอบ
    ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาท
    ข้อนี้สำหรับภิกษุนี้อยู่ #จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/178/229.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/178/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๒๘/๒๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=981
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก สัทธรรมลำดับที่ : 981 ชื่อบทธรรม : -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981 เนื้อความทั้งหมด :- --ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก --ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=อรหนฺโต+ขีณาสวา อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า #กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาทเธอทำเสร็จแล้ว และ เธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป. ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่; +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้ จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนโดยชอบ ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาท ข้อนี้สำหรับภิกษุนี้อยู่ #จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/178/229. http://etipitaka.com/read/thai/13/178/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๒๘/๒๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=981 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท เธอทำเสร็จแล้ว และเธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป. ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์ ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่; ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้ จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือน โดยชอบ ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาทข้อนี้ สำหรับภิกษุนี้อยู่ จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 339 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 980
    ชื่อบทธรรม :-คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค
    --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘พรหมจรรย์ พรหมจรรย์’ ดังนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    พรหมจรรย์ เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?
    และที่สุดแห่งพหรมจรรย์ คืออะไรพระเจ้าข้า ?”
    --ภิกษุ ! #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แลคือพรหมจรรย์;
    กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ !
    ความสิ้นแห่งราคะ (ราคกฺขโย)
    ความสิ้นแห่งโทสะ (โทสกฺขโย)
    ความสิ้นแห่งโมหะ (โมหกฺขโย)
    : นี้คือ #ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/7/29 - 30.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/7/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๙/๒๙ - ๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=980
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 980 ชื่อบทธรรม :-คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘พรหมจรรย์ พรหมจรรย์’ ดังนี้ http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ พรหมจรรย์ เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ? และที่สุดแห่งพหรมจรรย์ คืออะไรพระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แลคือพรหมจรรย์; กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ! ความสิ้นแห่งราคะ (ราคกฺขโย) ความสิ้นแห่งโทสะ (โทสกฺขโย) ความสิ้นแห่งโมหะ (โมหกฺขโย) : นี้คือ #ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/7/29 - 30. http://etipitaka.com/read/thai/19/7/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๙/๒๙ - ๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=980 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    -(ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔). ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ, ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ; ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย. ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐) ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ. ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒) ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ). หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘พรหมจรรย์ พรหมจรรย์’ ดังนี้ พรหมจรรย์ เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ? และที่สุดแห่งพหรมจรรย์ คืออะไรพระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แล คือพรหมจรรย์; กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ! ความสิ้นแห่งราคะ (ราคกฺขโย) ความสิ้นแห่งโทสะ (โทสกฺขโย) ความสิ้นแห่งโมหะ (โมหกฺขโย) : นี้คือ ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 271 มุมมอง 0 รีวิว