อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ
สัทธรรมลำดับที่ : 1058
ชื่อบทธรรม :- ผู้รู้อริยสัจ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
เนื้อความทั้งหมด :-
--ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงม้าแกลบ(อสฺสุขลุงฺก*--๑) ๓ ชนิด
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อสฺสุขลุงฺ
และบุรุษพริก(ปุริสขลุงฺก*--๒) ๓ ชนิด.
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ปุริสขลุงฺ
--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบ ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า?
+--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบบางตัวในกรณีนี้ มีความเร็ว ไม่มีสีสวย ไม่มีรูปร่างขึงขัง ;
บางตัวมี ความเร็ว มีสีสวย แต่ไม่มีรูปร่างขึงขัง;
บางตัวมีความเร็ว มีสีสวย มีรูปร่าง ขึงขัง.
+--ภิกษุ ท. ! นี่แหละ ม้าแกลบ ๓ ชนิด.
*--๑. คำนี้บาลีว่า อสฺสุขลุงฺก เคยแปลกันมาว่า ม้ากระจอก
แต่เห็นว่าไม่สมกับเค้าเรื่อง เพราะม้ากระจอก ขาเขยกวิ่งไม่ได้เร็ว
และจะมีความสง่าผ่าเผยขึงขังไม่ได้ จึงไม่แปลว่าม้ากระจอก
แต่แปลว่า ม้าแกลบ คือม้าพันธุ์เล็กรองจากม้าพันธุ์สินธพ.
*--๒. คำนี้บาลีว่า ปุริสขลุงฺก ก็เคยแปลกันมาว่า บุรุษกระจอก
ซึ่งไม่เข้ากับเรื่องราวที่แสดง เพราะคนกระจอกงอกง่อยจะมีลักษณะอย่างนั้นไม่ได้
เชื่อว่าหมายถึงคนร่างเล็กพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีสมรรถนะสูง
ในที่นี้จึงแปลว่า คนพริกโดยโวหารในภาษาไทยว่า “ถึงเล็กก็เล็กพริก” ดังนี้.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก
บางคน มีความเร็ว (ชวสมฺปนฺน)
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ชวสมฺปนฺ
แต่ไม่มีผิวพรรณ (น วณฺณสมฺปนฺน)
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=วณฺณสมฺปนฺ
ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย (น อาโรหปริณาหสมฺปนฺน);
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺ
บางคนมีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย;
บางคนมีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริง ว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
: นี้เป็นความเร็วของเธอ;
แต่เมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็นิ่ง ตอบไม่ได้
: นี้เป็นความไม่มีผิวพรรณของเธอ;
และเป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
: นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผย ของเธอ.
+--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
ที่มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็น จริง ว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
: นี้เป็นความเร็วของเธอ;
และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
: นี้เป็นความีผิวพรรณของเธอ;
แต่เป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
: นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผยของเธอ.
+--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
ผู้มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทาง สง่าผ่าเผยด้วย
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัด ตามเป็นจริงว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
: นี้เป็นความเร็วของเธอ ;
และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย เธอก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
: นี้เป็นความมีผิวพรรณของเธอ ;
และเธอนั้นเป็นผู้รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
: นี้เป็นความสง่าผ่าเผยของเธอ.
+--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
ที่มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.
--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุรุษพริก ๓ ชนิด.-
(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ
แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรม อภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ.
ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า
การรู้อริยสัจ นั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้ อภิธรรม อภิวินัยและรวยลาภ
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/275/580.
http://etipitaka.com/read/thai/20/275/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๗๐/๕๘๐.
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1058
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 1058
ชื่อบทธรรม :- ผู้รู้อริยสัจ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
เนื้อความทั้งหมด :-
--ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงม้าแกลบ(อสฺสุขลุงฺก*--๑) ๓ ชนิด
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อสฺสุขลุงฺ
และบุรุษพริก(ปุริสขลุงฺก*--๒) ๓ ชนิด.
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ปุริสขลุงฺ
--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบ ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า?
+--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบบางตัวในกรณีนี้ มีความเร็ว ไม่มีสีสวย ไม่มีรูปร่างขึงขัง ;
บางตัวมี ความเร็ว มีสีสวย แต่ไม่มีรูปร่างขึงขัง;
บางตัวมีความเร็ว มีสีสวย มีรูปร่าง ขึงขัง.
+--ภิกษุ ท. ! นี่แหละ ม้าแกลบ ๓ ชนิด.
*--๑. คำนี้บาลีว่า อสฺสุขลุงฺก เคยแปลกันมาว่า ม้ากระจอก
แต่เห็นว่าไม่สมกับเค้าเรื่อง เพราะม้ากระจอก ขาเขยกวิ่งไม่ได้เร็ว
และจะมีความสง่าผ่าเผยขึงขังไม่ได้ จึงไม่แปลว่าม้ากระจอก
แต่แปลว่า ม้าแกลบ คือม้าพันธุ์เล็กรองจากม้าพันธุ์สินธพ.
*--๒. คำนี้บาลีว่า ปุริสขลุงฺก ก็เคยแปลกันมาว่า บุรุษกระจอก
ซึ่งไม่เข้ากับเรื่องราวที่แสดง เพราะคนกระจอกงอกง่อยจะมีลักษณะอย่างนั้นไม่ได้
เชื่อว่าหมายถึงคนร่างเล็กพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีสมรรถนะสูง
ในที่นี้จึงแปลว่า คนพริกโดยโวหารในภาษาไทยว่า “ถึงเล็กก็เล็กพริก” ดังนี้.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก
บางคน มีความเร็ว (ชวสมฺปนฺน)
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ชวสมฺปนฺ
แต่ไม่มีผิวพรรณ (น วณฺณสมฺปนฺน)
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=วณฺณสมฺปนฺ
ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย (น อาโรหปริณาหสมฺปนฺน);
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺ
บางคนมีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย;
บางคนมีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริง ว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
: นี้เป็นความเร็วของเธอ;
แต่เมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็นิ่ง ตอบไม่ได้
: นี้เป็นความไม่มีผิวพรรณของเธอ;
และเป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
: นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผย ของเธอ.
+--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
ที่มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็น จริง ว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
: นี้เป็นความเร็วของเธอ;
และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
: นี้เป็นความีผิวพรรณของเธอ;
แต่เป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
: นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผยของเธอ.
+--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
ผู้มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทาง สง่าผ่าเผยด้วย
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัด ตามเป็นจริงว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
: นี้เป็นความเร็วของเธอ ;
และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย เธอก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
: นี้เป็นความมีผิวพรรณของเธอ ;
และเธอนั้นเป็นผู้รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
: นี้เป็นความสง่าผ่าเผยของเธอ.
+--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
ที่มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.
--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุรุษพริก ๓ ชนิด.-
(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ
แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรม อภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ.
ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า
การรู้อริยสัจ นั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้ อภิธรรม อภิวินัยและรวยลาภ
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/275/580.
http://etipitaka.com/read/thai/20/275/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๗๐/๕๘๐.
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1058
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ
สัทธรรมลำดับที่ : 1058
ชื่อบทธรรม :- ผู้รู้อริยสัจ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
เนื้อความทั้งหมด :-
--ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงม้าแกลบ(อสฺสุขลุงฺก*--๑) ๓ ชนิด
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อสฺสุขลุงฺ
และบุรุษพริก(ปุริสขลุงฺก*--๒) ๓ ชนิด.
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ปุริสขลุงฺ
--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบ ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า?
+--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบบางตัวในกรณีนี้ มีความเร็ว ไม่มีสีสวย ไม่มีรูปร่างขึงขัง ;
บางตัวมี ความเร็ว มีสีสวย แต่ไม่มีรูปร่างขึงขัง;
บางตัวมีความเร็ว มีสีสวย มีรูปร่าง ขึงขัง.
+--ภิกษุ ท. ! นี่แหละ ม้าแกลบ ๓ ชนิด.
*--๑. คำนี้บาลีว่า อสฺสุขลุงฺก เคยแปลกันมาว่า ม้ากระจอก
แต่เห็นว่าไม่สมกับเค้าเรื่อง เพราะม้ากระจอก ขาเขยกวิ่งไม่ได้เร็ว
และจะมีความสง่าผ่าเผยขึงขังไม่ได้ จึงไม่แปลว่าม้ากระจอก
แต่แปลว่า ม้าแกลบ คือม้าพันธุ์เล็กรองจากม้าพันธุ์สินธพ.
*--๒. คำนี้บาลีว่า ปุริสขลุงฺก ก็เคยแปลกันมาว่า บุรุษกระจอก
ซึ่งไม่เข้ากับเรื่องราวที่แสดง เพราะคนกระจอกงอกง่อยจะมีลักษณะอย่างนั้นไม่ได้
เชื่อว่าหมายถึงคนร่างเล็กพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีสมรรถนะสูง
ในที่นี้จึงแปลว่า คนพริกโดยโวหารในภาษาไทยว่า “ถึงเล็กก็เล็กพริก” ดังนี้.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก
บางคน มีความเร็ว (ชวสมฺปนฺน)
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ชวสมฺปนฺ
แต่ไม่มีผิวพรรณ (น วณฺณสมฺปนฺน)
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=วณฺณสมฺปนฺ
ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย (น อาโรหปริณาหสมฺปนฺน);
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺ
บางคนมีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย;
บางคนมีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริง ว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
: นี้เป็นความเร็วของเธอ;
แต่เมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็นิ่ง ตอบไม่ได้
: นี้เป็นความไม่มีผิวพรรณของเธอ;
และเป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
: นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผย ของเธอ.
+--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
ที่มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็น จริง ว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
: นี้เป็นความเร็วของเธอ;
และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
: นี้เป็นความีผิวพรรณของเธอ;
แต่เป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
: นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผยของเธอ.
+--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
ผู้มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.
--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทาง สง่าผ่าเผยด้วย
นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัด ตามเป็นจริงว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
: นี้เป็นความเร็วของเธอ ;
และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย เธอก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
: นี้เป็นความมีผิวพรรณของเธอ ;
และเธอนั้นเป็นผู้รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
: นี้เป็นความสง่าผ่าเผยของเธอ.
+--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
ที่มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.
--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุรุษพริก ๓ ชนิด.-
(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ
แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรม อภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ.
ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า
การรู้อริยสัจ นั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้ อภิธรรม อภิวินัยและรวยลาภ
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/275/580.
http://etipitaka.com/read/thai/20/275/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๗๐/๕๘๐.
http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1058
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
75 มุมมอง
0 รีวิว