อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
สัทธรรมลำดับที่ : 1042
ชื่อบทธรรม :- การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042
เนื้อความทั้งหมด :-
--การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
--ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วย เมฆฝน ๔ จำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
สี่ อย่างไรเล่า? สี่ คือ &บุคคลเปรียบเหมือนเมฆฝน
http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=วลาหกา
๑.ที่คำรามแล้วไม่ตก
๒.ที่ตกแต่ไม่คำราม
๓.ทั้งไม่คำรามและไม่ตก
๔.ทั้งคำรามทั้งตก
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ
สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ
แต่เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ ”
ดังนี้
: ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก.
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ
สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ
แต่เขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ”
ดังนี้
: ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ตกแต่ไม่คำราม.
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ
สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ
และไม่รู้ชัดตามเป็นจริงว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ”
ดังนี้
: ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งไม่คำรามและไม่ตก.
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ
สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ ด้วย;
และเขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า
“ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ”
ดังนี้ด้วย
: ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งคำรามทั้งตก.-
(
ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓)
http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93
ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้
ด้วย &หม้อสี่ชนิด คือ
http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=กุมฺภา
หม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจแต่ มีสมณสารูป ;
หม้อเต็ม – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจแต่ ไม่มีสมณสารูป ;
หม้อเปล่า – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ;
หม้อเต็ม – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป.

--ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔)
http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
ตรัสเปรียบด้วย &ห้วงน้ำสี่ชนิด คือ
http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=อุทกรหทา
ห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ;
ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ;
ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป;
ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป.

--ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕)
http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95
ตรัสเปรียบด้วย &มะม่วงสี่ชนิด คือ
http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=อมฺพานิ
มะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ;
มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป;
มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ;
มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป.
--ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ
).

#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/103/102.
http://etipitaka.com/read/thai/21/103/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓๖/๑๐๒.
http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92
ศึกษา​เพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1042
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1042 ชื่อบทธรรม :- การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042 เนื้อความทั้งหมด :- --การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วย เมฆฝน ๔ จำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ อย่างไรเล่า? สี่ คือ &บุคคลเปรียบเหมือนเมฆฝน http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=วลาหกา ๑.ที่คำรามแล้วไม่ตก ๒.ที่ตกแต่ไม่คำราม ๓.ทั้งไม่คำรามและไม่ตก ๔.ทั้งคำรามทั้งตก --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก. --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ตกแต่ไม่คำราม. --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ และไม่รู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งไม่คำรามและไม่ตก. --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ ด้วย; และเขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ด้วย : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งคำรามทั้งตก.- ( ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓) http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93 ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้ ด้วย &หม้อสี่ชนิด คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=กุมฺภา หม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจแต่ มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจแต่ ไม่มีสมณสารูป ; หม้อเปล่า – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔) http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 ตรัสเปรียบด้วย &ห้วงน้ำสี่ชนิด คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=อุทกรหทา ห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป; ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕) http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 ตรัสเปรียบด้วย &มะม่วงสี่ชนิด คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=อมฺพานิ มะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป; มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. --ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/103/102. http://etipitaka.com/read/thai/21/103/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓๖/๑๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1042 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
-การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วย เมฆฝน ๔ จำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ อย่างไรเล่า? สี่ คือ บุคคลเปรียบเหมือนเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก ๑ ที่ตกแต่ไม่คำราม ๑ ทั้งไม่คำรามและไม่ตก ๑ ทั้งคำรามทั้งตก ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่ตกแต่ไม่คำราม. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ และไม่รู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งไม่คำรามและไม่ตก. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ ด้วย; และเขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ด้วย : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งคำรามทั้งตก.
0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว