อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
สัทธรรมลำดับที่ : 993
ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
เนื้อความทั้งหมด :-
--มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค

(๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ
๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92

(๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93

(๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
แต่เขา
หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน
อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง
ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง.
+-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94

(๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
+++ภิกษุในกรณีนี้
๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
และทั้ง
๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95

(๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
แต่เขา
๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่
และทั้งเขา
๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96

(๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
แต่เขา
๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ
ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
แต่เขา
๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97

(๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
+-+ภิกษุในกรณีนี้
ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ
ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
แต่เขา
๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย
แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่
และทั้งเขา
๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
+--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98

(๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
+--ภิกษุในกรณีนี้
ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
แต่ว่าเขา
๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
และทั้งเขา
๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑.
+-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.-
http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99

(องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้
ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด
).

#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159.
http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙.
http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
ศึกษา​เพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค สัทธรรมลำดับที่ : 993 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 เนื้อความทั้งหมด :- --มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93 (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. +-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +++ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่ และทั้งเขา ๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา ๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +-+ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา ๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขา ๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. +-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.- http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 (องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้ ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159. http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
-มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หา เป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้ สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่ง ชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขามีปกติใคร่ครวญ เนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขาสามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 116 มุมมอง 0 รีวิว