อริยสาวกพึงศึกษาอุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
สัทธรรมลำดับที่ : 236
ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236
เนื้อความทั้งหมด :-
--อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
ภิกษุ ท. ! #ตัณหา นี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด
เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ,
http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
ได้แก่
ตัณหาในกาม
ตัณหาในความมีความเป็น
ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ;
นี้เรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.-

#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1680.
http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๘๐.
http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=236
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
อริยสาวกพึงศึกษาอุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 236 ชื่อบทธรรม :- อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236 เนื้อความทั้งหมด :- --อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! #ตัณหา นี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ, http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาในความมีความเป็น ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ; นี้เรียกว่า #ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1680. http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๘๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%98%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=236 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=236 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- นิทเทศ ๓
-นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ จบ ภาค ๑ ว่าด้วยทุกขอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือทุกข์ จบ คำชี้ชวนวิงวอน ____________ ภิกษุ ท. ! โยคกรรม อันเธอพึงกระทำ เพื่อให้รู้ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับสนิทแห่งทุกข์ นี้ทางให้ถึงความดับสนิทแห่งทุกข์.” เทสิตํ โว มยา นิพฺพานํ เทสิโต นิพฺพานคามิมคฺโค นิพพาน เราได้แสดงแล้ว, ทางให้ถึงนิพพาน เราก็ได้แสดงแล้ว แก่เธอทั้งหลาย. กิจใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอ. นั่น โคนไม้ ; นั่น เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. อยํ โว อมฺหากํ อนุสาสนี นี่แหละ วาจาเครื่องพร่ำสอนของเรา แก่เธอทั้งหลาย. (มหาวาร.สํ. - สฬา.สํ.) ภาค ๒ ว่าด้วย สมุทยอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐ คือเหตุให้เกิดทุกข์ ภาค ๒ มีเรื่อง :- นิทเทศ ๔ ว่าด้วยลักษณะแห่งตัณหา ๔๑ เรื่อง นิทเทศ ๕ ว่าด้วยที่เกิดและการเกิดแห่งตัณหา ๕ เรื่อง นิทเทศ ๖ ว่าด้วยอาการที่ตัณหาทำให้เกิดทุกข์ ๓๑ เรื่อง นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฎฐิที่เกี่ยวกับตัณหา ๘ เรื่อง นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย ๑๕ เรื่อง อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาค ๒ ว่าด้วย สมุทยอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ (มี ๓ นิทเทศ) __________ อุทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ที่ทำให้มีการเกิดอีก อันประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน ซึ่งมีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ, ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาในความมีความเป็น ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น ; นี้เรียกว่า ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์.
0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 37 มุมมอง 0 รีวิว