อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
สัทธรรมลำดับที่ : 156
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
เนื้อความทั้งหมด :-
--หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
--ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา,
พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
พึงรู้จักผลของสัญญา,
พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
ดังนี้ นั้น,
เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ
สัญญาในรูป
สัญญาในเสียง
สัญญาในกลิ่น
สัญญาในรส
สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
สัญญาในธรรมารมณ์.
--ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ)
เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา.
--ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. !
สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ
สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง.
+--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา.

--ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา
ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล,
เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา
โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ”
ดังนี้.
+--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา.

--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
+--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา

--ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง
เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่
ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

--ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
“พึงรู้จักสัญญา,
พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
พึงรู้จักผลของสัญญา,
พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
ดังนี้นั้น,
เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334.
http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔.
http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา สัทธรรมลำดับที่ : 156 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้ นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และ สัญญาในธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
-หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และสัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูปก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียงก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่นก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรสก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะก็เป็นอย่างหนึ่ง, และสัญญาในธรรมารมณ์ก็เป็นอย่างหนึ่ง. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เรากล่าวสัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูด ไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว