อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์
สัทธรรมลำดับที่ : 150
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
--ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น,
สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ;
เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ;
การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ ,
อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.-

อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59.
http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙.
http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150

สัทธรรมลำดับที่ : 151
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
เนื้อความทั้งหมด :-
--เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
--ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา,
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู,
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก,
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น,
เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ ,
+--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ;
ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ;
ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ;
อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114.
http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔.
http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151

สัทธรรมลำดับที่ : 152
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
เนื้อความทั้งหมด :-
--ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา
พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :-
“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ?
ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ?
อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ?
อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ?
อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?”
--อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ;
--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา.
+-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ.
+-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ.
+-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ;
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ;
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ;
สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา.
+-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา.
+-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.-

#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399.
http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙.
http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนาว่าเป็นสภาวแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 150 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/27/59. http://etipitaka.com/read/thai/17/27/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๕/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/35/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=150 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=150 สัทธรรมลำดับที่ : 151 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 ชื่อบทธรรม : -เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาขันธ์ โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้ คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา ; ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มีได้ เพราะความเกิดขึ้นแห่ง ผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114. http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=151 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=151 สัทธรรมลำดับที่ : 152 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 ชื่อบทธรรม : -ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับเวทนา พระอานนท์ได้กราบทูลถามว่า :- “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เวทนา เป็นอย่างไรหนอ ? ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา เป็นอย่างไร ? อะไรเป็นรสอร่อยของเวทนา ? อะไรเป็นโทษ เลวทรามของเวทนา ? อะไรเป็นอุบายเครื่องออกจากเวทนา ?” --อานนท์ ! เวทนา มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ; --อานนท์ ! นี้เราเรียกว่าเวทนา. +-ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ. +-ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ. +-มรรคอันประเสริฐประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง เป็นปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา, ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ; สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ; สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ; สุขโสมนัสอันใดเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนา นั้นคือรสอร่อยของเวทนา. +-เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นคือโทษเลวทรามของเวทนา. +-การกำจัด การละเสีย ซึ่งฉันทราคะใน เวทนา นั้นคืออุบายเป็นเครื่องออกจากเวทนา.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233/399. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๗๒/๓๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/272/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=152 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=152 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา
-ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยเวทนาแล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของเวทนา ; เวทนา ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของเวทนา ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา การละเสียได้ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในเวทนา ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากเวทนา.
0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว